รองศาสตราจารย์ ดร.พรรณี  ชีวินศิริวัฒน์

    Assoc.Prof. Pannee Cheewinsiriwat, PhD.

    Email: pannee.ch@chula.ac.th

ประวัติการศึกษา

2548 – 2552

(2005 – 2009)

ปริญญาเอก (Geomatics) จาก University of Newcastle upon Tyne, UK.

Thesis: Development of a 3D Geospatial Data Representation and Spatial Analysis System

2537 – 2541

(1994 – 1998)

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Thesis: การออกแบบและพัฒนาตัวแปลและเครื่องมือแสดงข้อมูลไฮเปอร์ดอกคิวเมนต์
 A Design and Development of Hyperdocument Compiler and Viewer Tool

2529 – 2533

(1986 – 1990)

อักษรศาสตรบัณฑิต (ภูมิศาสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ประวัติการทำงาน
2546-ปัจจุบัน อาจารย์ประจำภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2560 – 2562 รองคณบดี (ฝ่ายส่งเสริมผลงานวิชาการ) คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2557 – 2560 หัวหน้าภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2533 – 2542 บริษัท อี เอส อาร์ ไอ (ประเทศไทย) จำกัด

ตำแหน่ง Application Section Manager (2539 – 2542)

ตำแหน่ง Senior Application Support (2537 – 2539)

ตำแหน่ง Application Support (2533 – 2537)

      

  งานวิจัย
 
  • นักวิจัย โครงการ “Thai Coast: Coastal Vulnerability, Resilience and Adaptation in Thailand” ทุน Netwon Fund (กันยายน 2561 – กันยายน 2564)
 
  • นักวิจัย เรื่อง การกระจายทางพื้นที่ของผู้สูงอายุในประเทศไทย (2557-2558) โดยทุนคลัสเตอร์ประชากรสูงวัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
 
  • นักวิจัยร่วม เรื่อง “Coastal Cities at Risk (CCaR): Building Adaptive Capacity for Managing Climate Change in Coastal Megacities” (2555–2559) โดยทุน International Development Research Centre (IDRC), Canadian Institutes of Health Research (CIHR), Natural Sciences and Engineering Research Council of Canada (NSERC), Social Sciences and Humanities Research Council of Canada (SSHRC) และ International Research Initiative on Adaptation to Climate Change (IRIACC)
 
  • นักวิจัย เรื่อง “NO2 Concentration Prediction using Land-Use Regression Model and GIS : an Inner Bangkok Case Study” (2554-2556) โดยทุน สกว ร่วมกับ สกอ และ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
 
  • หัวหน้าโครงการ “การจัดทำข้อมูลการเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเลสัมพัทธ์และแนวทางลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ บริเวณชายฝั่งทะเลจังหวัดสมุทรสาคร” กรมทรัพยากรธรณี (2554) ผ่านศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
 
  • นักวิจัย เรื่อง “A Study of Spatial Relationships of Wind and Nitrogen Dioxide Concentration: Inner Bangkok Case Study”  (2553-2554) โดยทุนพัฒนาอาจารย์ใหม่ ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
 
  • นักวิจัยร่วม เรื่อง “Linguistic Diversity in Nan province : a Foundation for Tourism Development” (2547 – 2550) โดยทุนวิจัย ของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
 
  • นักวิจัยร่วม เรื่อง “Unmanned Aerial Vehicle (UAV)” (2547 – 2550) ของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
  ผลงานตีพิมพ์/เผยแพร่

หนังสือ

 
  • พรรณี ชีวินศิริวัฒน์. ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์: หลักการและการประยุกต์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2561.
 
  • พรรณี ชีวินศิริวัฒน์. ใน กาญจนา นาคะภากร บรรณาธิการ. การประยุกต์เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศในการบริหารจัดการพื้นที่ชายฝั่งทะเล กรุงเทพฯ : คลาสสิคสแกน, 2557 จำนวนหน้าทั้งหมด 211 หน้า.
 
  • พรรณี ชีวินศิริวัฒน์. ใน ผ่องศรี จั่นห้าว บรรณาธิการ. ภูมิศาสตร์เทคนิค. กรุงเทพฯ : ด่านสุทธาการพิมพ์, 2559 จำนวนหน้าทั้งหมด 205 หน้า.
  วารสาร

พรรณี ชีวินศิริวัฒน์  ธนาอร ปุณเกษม และชนิตา ดวงยิหวา (2562).การรู้เชิงพื้นที่ต่อย่านกลางเมือง: กรณีศึกษา เทศบาลนครนครปฐม. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 22(1): 102-114.

 
  • พุทธพร อารีประชากุล และพรรณี ชีวินศิริวัฒน์ (2559). การศึกษาภูมินามในจังหวัดน่าน ประเทศไทย ด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 19(1): 170-185.
 
  • Cheewinsiriwat, P. (2016). Estimation of nitrogen dioxide concentrations in Inner Bangkok using Land Use Regression modeling and GIS. Applied Geomatics 8(2): 107-116.
 
  • Cheewinsiriwat, P. (2013). Relationships between Wind Fields and Nitrogen Dioxide Concentration: A Case Study of the Inner Bangkok. Geographical Journal 36(3): 1-12.
 
  • Cheewinsiriwat, P. (2013). “The use of GIS in exploring settlement patterns of the ethnic groups in Nan, Thailand.” Asian Ethnicity. 14(4): 490-504.
 
  • Cheewinsiriwat, P. (2012). “Settlement Patterns of Ethnic Groups: A GIS-based Method.” GIM International. 26.
 
  • Cheewinsiriwat, P. (2009) GIS Application for the Maps of Tourist Attractions and Ethnic Groups of Nan Province, Thailand, Manasya. Regular Issue, Vol. 12(2).
การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ
  • R.T. Cooper, P. Cheewinsiriwat, I. Trisirisatayawong, W.A. Marome, K. Nakhapakorn (2014). Flood Management in Bangkok: Advancing Knowledge and Addressing Challenges. 6th International Conference on Flood Management, September 2014, Sao Paulo, Brazil.
  • Trisirisatayawong, I. and P. Cheewinsiriwat,(2013). Assessment of Flooded Area from Sea Level Rise in Upper Coastal Area of Gulf of Thailand. 2013 South East Asian Survey congress (SEASC2013), 18-20 June 2013, Manila, Philippines.
  • Trisirisatayawong, I. and P. Cheewinsiriwat (2004) Automatic Flight Planning for Unmanned Aerial Vehicle Utilizing GIS Analysis on Digital Elevation Model, 25th Asian Conference on Remote Sensing, 22-26 Nov 2004. Chiang Mai, Thailand.
  ผลงานตีพิมพ์/เผยแพร่ร่วมกับนิสิต
  วารสาร
 
  • ขัตติยะ พรหมวาส, เอกกมล วรรณเมธี และพรรณี ชีวินศิริวัฒน์. (2561). การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์สำหรับสมาร์ตโฟนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์เพื่อรายงานพื้นที่เหมาะสมสำหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจ. วารสารสมาคมสำรวจข้อมูลระยะไกลและสารสนเทศภูมิศาสตร์แห่งประเทศไทย. 9(1)
 
  • ธนลักษณ์ ศิรธรรมธร, มัลลิกา สุกิจปาณีนิจ และพรรณี ชีวินศิริวัฒน์. (2560). การวิเคราะห์โครงข่ายด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการวางแผนการจัดเก็บขน ขยะมูลฝอย กรณีศึกษาเทศบาลเมืองบางกรวย จังหวัดนนทบุรี. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 20(1): 46-59.
 
  • ชัยวัฒน์ แก้ววิจิตร์ และพรรณี ชีวินศิริวัฒน์. (2559). “การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ร่วมกับการวิเคราะห์เชิงลาดับชั้นเพื่อวิเคราะห์พื้นที่ศักยภาพในการสร้างท่าเรือบก (Dry Port) จังหวัดนครราชสีมา.” วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 19(1): 53-63.
  การประชุมวิชาการระดับชาติ
 
  • ฮาพีฟี สะมะแอ, เอกกมล วรรณเมธี และ พรรณี ชีวินศิริวัฒน์. (2560). การประเมินความเปราะบางของชุมชนชายฝั่งทะเลจากน้ำท่วมชายฝั่ง กรณีศึกษาชายฝั่งทะเล จังหวัดสมุทรปราการ. โครงการประชุมวิชาการบัณฑิตศึกษาระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 7  เรื่อง “ประเทศไทย 0 นวัตกรรมสร้างสรรค์สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน” The 7th National and International Graduate Study Conference “Thailand 4.0 Creative Innovation for Sustainable Development” วันที่ 20-21 กรกฎาคม 2560 ณ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) กรุงเทพฯ จัดโดย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. หน้าที่ H1-H15.
 
  • ณัฏฐ์ ทองคำ และพรรณี ชีวินศิริวัฒน์. (2560). การวิเคราะห์หาพื้นที่ศักยภาพสาหรับศูนย์ไปรษณีย์แห่งใหม่ ของบริษัทไปรษณีย์ไทย จากัด ในเขตพื้นที่ภาคเหนือตอนบน. ICMSIT 2017: 4th International Conference on Management Science, Innovation, and Technology 2017. Faculty of Management Science, Suan Sunandha Rajabhat University.
 
  • พัฒนพงษ์ พงษ์ธานี และพรรณี ชีวินศิริวัฒน์. (2560) การวิเคราะห์ที่ตั้งที่เหมาะสมสำหรับสถานีบรรจุและแยกสินค้ากล่อง (ICD) กรณีศึกษา ภาคใต้ของประเทศไทย. Smart conference ครั้งที่ 7 วันที่ 30 มิถุนายน 2560 คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จ.นครปฐม.
 
  • ณัฐวัลย์ ชัยโอภานนท์ และพรรณี ชีวินศิริวัฒน์ (2560). การวิเคราะห์ที่ตั้งที่เหมาะสมสำหรับโรงงานผลิตเชื้อเพลิงชีวมวลอัดเม็ดด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์: กรณีศึกษา ภาคใต้ของประเทศไทย. โครงการประชุมวิชาการบัณฑิตศึกษาระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 7 เรื่อง “ประเทศไทย 0 นวัตกรรมสร้างสรรค์สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน” The 7th National and International Graduate Study Conference “Thailand 4.0 Creative Innovation for Sustainable Development” วันที่ 20-21 กรกฎาคม 2560 ณ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) กรุงเทพฯ จัดโดย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร หน้าที่ H16-H30.
 
  • นาลิศ กาปา และพรรณี ชีวินศิริวัฒน์ (2559). แบบจำลองเชิงพื้นที่เพื่อกำหนดพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในเขตท้องที่สถานีตำรวจนครบาลพญาไท. การประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 6, คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา.
 
  • สุธาสินี ขาวเจริญ และพรรณี ชีวินศิริวัฒน์ (2559). การวิเคราะห์แบบหลายเกณฑ์ด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ สาหรับการเลือกที่ตั้งจุดบริการไปรษณีย์ ในพื้นที่บริการของไปรษณีย์ศูนย์กลางจ่ายบางขุนเทียน. การประชุมวิชาการบัณฑิตศึกษาระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 6, ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) กรุงเทพฯ, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
 
  • วลัญซ์อร เอื้อรัตนวงศ์ และพรรณี ชีวินศิริวัฒน์ (2559). การประยุกต์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อกำหนดพื้นที่เสี่ยงต่อโรคไข้หวัดใหญ่ในกรุงเทพมหานคร. การประชุมวิชาการบัณฑิตศึกษาระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 6, ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) กรุงเทพฯ, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.