กำหนดการ

8.00-9.15 ลงทะเบียน (หน้าห้อง 304)
9.15-9.30 หัวหน้าภาควิชาภาษาศาสตร์กล่าวเปิดงาน (ห้อง 304)
9.30-10.15 บรรยายหลัก 1: รองศาสตราจารย์ ดร.วิโรจน์ อรุณมานะกุล

ภาษาศาสตร์คอมพิวเตอร์: ปฐมบทใหม่ (ห้อง 304)

10.15-10.30 พักรับประทานอาหารว่าง (โถงชั้น 1)
กลุ่มย่อย 1 

(ห้อง 304)

กลุ่มย่อย 2

(ห้อง 501/27)

กลุ่มย่อย 3

(ห้อง 303)

10.30-11.00

 

 

11.00-11.30

 

 

11.30-12.00

 

 

12.00-12.30

1.1 อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์

มโนทัศน์เรื่อง “ชาติ”  “ศาสนา”  “ภาษา” และ “ประชาธิปไตย” ในรัฐธรรมนูญประเทศกลุ่มอาเซียน

1.2 มนสิการ เฮงสุวรรณ

ผีและคำเรียกผี : ภาพสะท้อนวัฒนธรรมอาเซียนตามแนวทางอรรถศาสตร์ชาติพันธุ์ 

1.3 ภาวดี สายสุวรรณ

ความเป็นชายในพื้นที่สาธารณะของกรุงเทพมหานคร 

1.4 โกสินทร์ ปัญญาอธิสิน ญาณินท์ สวนะคุณานนท์ และนฤดล จันทร์จารุ

ภาษากับการคอร์รัปชัน: การประยุกต์ใช้ความรู้ทางภาษาศาสตร์เพื่อแก้ไขปัญหาสังคม

2.1 พิณรัตน์ อัครวัฒนากุล

การแปรและการเปลี่ยนแปลงของวรรณยุกต์ในภาษาตระกูลไทบางภาษา

2.2 สิรีมาศ มาศพงศ์

ลักษณะทางกลสัทศาสตร์และการรับรู้ความต่างที่มีนัยสำคัญด้านความสั้นยาวไม่เต็มขั้นในภาษาไทย

2.3 ชมนาด อินทจามรรักษ์

ลักษณะทางกลสัทศาสตร์ของวรรณยุกต์ภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผู้พูดที่ไม่ได้พูดภาษาไทยเป็นภาษาแม่

2.4 ผณินทรา ธีรานนท์

การรับรู้เสียงวรรณยุกต์ภาษาไทยของผู้เรียนชาวต่างชาติที่ใช้ Thai Tone App. และไม่ใช้ Thai Tone App.

3.1 พุทธชาติ โปธิบาล

การสำเหนียกรู้ระบบเสียงกับปัญหาการอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ของเด็กไทย

3.2 สรบุศย์ รุ่งโรจน์สุวรรณ

พัฒนาการโครงสร้างระดับมหภาคในเรื่องเล่าของเด็กไทย

3.3 นัทธ์ชนัน นาถประทาน

ความซับซ้อนทางวากยสัมพันธ์ในงานเขียนของเด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้

3.4 วัชริศ ฉันทจินดา และ ธีราภรณ์ รติธรรมกุล

ประเภทของกริยากับการใช้โครงสร้างกรรมวาจกในภาษาอังกฤษของผู้เรียนชาวไทย

 

12.30-13.30 พักรับประทานอาหารกลางวัน (โถงชั้น 1)

กลุ่มย่อย 4

(ห้อง 401/5)

 กลุ่มย่อย 5

(ห้อง 304)

กลุ่มย่อย 6

(ห้อง 501/27)

13.30-14.00

 

 

14.00-14.30

 

 

14.30-15.00

 

 

15.00-15.30

4.1 ตามใจ อวิรุทธิโยธิน

ความเป็นสากลและความเป็นไทย: กลไกดัดแปลงการเล่นทางภาษา

4.2 ธนานันท์ ตรงดี

ภาษาโคราช: จากลาวเป็นไทยบนหลักฐานใหม่

4.3 จรัลวิไล จรูญโรจน์

ทัศนคติต่อภาษาถิ่นไทยในกลุ่มนิสิตที่เคยเรียนและไม่เคยเรียนภาษาศาสตร์

4.4 กิตตินาถ เรขาลิลิต

ทัศนคติของผู้เรียนภาษาอังกฤษชาวไทยต่อสำเนียงภาษาอังกฤษในภูมิภาคอาเซียน

5.1 คเชนทร์ ตัญศิริ

การขยายหน้าที่ของคำว่า “แล้ว” ในภาษาไทย

5.2 รุจิรา บำรุงกาญจน์

รูปปฏิเสธ ma:j2 ในฐานะที่เป็นดัชนีวัจนปฏิบัติในบทสนทนาแบบกันเองในภาษาไทยนครศรีธรรมราช

5.3 นฤดล จันทร์จารุ

Carto-Conceptual Network Approach: โมเดลใหม่เพื่อการเปรียบเทียบความหมายข้ามภาษา

 5.4 ภีมพสิษฐ์ เตชะราชันต์

การผลิตภาวะเชิงหน่วยคำของตัวบ่งชี้นามวลีแปลง “การ” และ “ความ” และการจัดประเภทของคำกริยายืมในภาษาไทยด้วยตัวบ่งชี้นามวลีแปลง “การ” และ “ความ”

6.1 อรรถพล ธำรงรัตนฤทธิ์

ระบบโครงสร้างทางโมเดลปัญญาประดิษฐ์ deep neural network  เพื่อค้นหาคำเชื่อมล่องหน

6.2 ศุจิณัฐ จิตวิริยนนท์

การปรับค่าความถี่ฟอร์เมินท์เพื่อศึกษาการแปรของสระในภาษาไทย

6.3 จันทิมา อังคพณิชกิจ

ภาษากับความเจ็บป่วย: กรณีศึกษาภาษาโรคซึมเศร้า

 

 

15.30-15.45 พักรับประทานอาหารว่าง (โถงชั้น 1)
15.45-16.30 บรรยายหลัก 2: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทยาวัฒน์ พิทยาภรณ์

อิทธิพลเขมรในภาษาไทย: การยืมหรือการแทรกแซง (ห้อง 304)

16.30-16.45 หัวหน้าภาควิชาภาษาศาสตร์กล่าวปิดงาน (ห้อง 304)

ดาวน์โหลดกำหนดการ PDF