เจ้าขุนทอง |
|
วัดเอ๋ยวัดโบสถ์ คดข้าวใส่ห่อ นั่งรถยนต์เรไร เจ้าออกจากบ้าน ไปเพื่อสิทธิ์เสรี สะพายย่ามหาดเสี้ยว ขุนทองเจ้าร้องไห้ ลูกเอ๋ยหนอลูกเอ๋ย เจ้ามิใช่นักรบ แม่รู้ว่าลูกรัก แต่ใครเขาจะรู้ ลูกบอกว่าลูกรู้ ดอกโสนบานเช้า ไม่มีร่างเจ้าขุนทอง |
ตาลโตนดเจ็ดต้น ถ่อเรือไปตามหา นั่งรถไฟนกแก้ว เมื่อตอนตะวันเรืองรอง เพื่อศักดิ์ศรีบางระจัน ซึ่งใส่หนังสือแสงเดือน อยู่ในเรือนจนดึกดื่น เจ้าอย่าเฉยเชือนชา ที่เคยประสบริ้วรอย นั้นมีความภักดี เพราะเขามิใช่พระอินทร์ จึงสู้แบบอหิงสา ดอกคัดเค้าบานเย็น มีแต่รัฐธรรมนูญ |
(ไทยรัฐ.
16 ตุลาคม 2516)
|
มหาอาเศียรวาทราชสดุดี
เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 5 ธันวาคม 2516 |
|
วัดเอ๋ยวัดโบสถ์ รุกรับขับไล่ เจ้าขุนทองถูกปืน มันร้องเพลงสรรเสริญ โอ้ ดอกโสนบานเช้า ถวายพระพรพระทรงยศ
|
ตาลโตนดเจ็ดต้น ศัตรูในนัครา ยืนตายที่ต้นยาง พระบารมีอยู่ครื้นเครง ดอกคัดเค้าต้องลม ให้ปรากฏเกริกไกร
|
ประชาชาติรายสัปดาห์
ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 1-6 ธันวาคม 2516
( สุจิตต์ วงษ์เทศ. เจ้าขุนทองไปปล้น. กรุงเทพฯ: ศิลปวัฒนธรรม, 2524, หน้า 3.) |
กล่อมวีรชน
|
|||||||||||||||
(สุจิตต์ วงษ์เทศ. เจ้าขุนทองไปปล้น. กรุงเทพฯ: ศิลปวัฒนธรรม, 2524.) |
ปลงศพเจ้าขุนทอง
|
|
วัดเอ๋ยวัดโบสถ์ ข้าวสาลีตายหมด ลูกเอ๋ยหนอลูกเอย ข้าวเหลืองอ่อนรวงเหี่ยว น้องเจ้ายังเล็กเล็ก เจ้านายจากจังหวัด เขาบอกว่าเขาจะช่วย ลูกเอ๋ยนี่ไม่ได้หวัง ตายแล้วหนอลูกเอ๋ย นี่ลูกตายไปเป็นผี เอาเถิดหนอลูกเอ๋ย อย่าปล่อยให้ทรราช ให้ลูกเป็นกุมารทอง ศพเอ๋ยเจ้าขุนทอง "ขุนศรีจะถือฉัตร นักเรียนนักศึกษา เสียงคลื่นเจ้าพระยา ปี่พาดราดตะโพน ดอกไม้สีขาว แม่จะนับกาลเวลา |
ปลูกข้าวโพดสาลี ส่วนข้าวโพดก็เสียหาย เจ้าไม่เคยหน่ายแหนง ส่วนข้าวเหนียวก็อับเฉา ยังเป็นเด็กเล่นดิน เขาก็เคยมาเมียงมอง ให้พ่อกะแม่ไม่ต้องทน บอกให้ลูกฟังไว้จงดี พ่อกะแม่ไม่เคยตาย เขาบอกว่าเป็นวีรชน ไม่ว่าลูกชายหรือลูกหญิง ยังคงอำนาจเป็นเชื้อสาย ช่วยปกป้องใครต่อใคร จะเรืองรองพิสดาร ยกกระบัตรจะถือธง" ประชาราษฎร์จะเนืองนอง เป็นเสียงสังข์สากล เป็นเสียงตะโกนถึงชาวนา ที่แพรวพราวพริ้มพราย พ่อจะเชิญประชุมชน |
ประชาชาติรายวัน 14
ตุลาคม 2517
(สุจิตต์ วงษ์เทศ. เจ้าขุนทองไปปล้น. กรุงเทพฯ: ศิลปวัฒนธรรม, 2524,หน้า 48-50.) |
ปริเวทนาการ ครานั้น แม่น้ำเจ้าพระยา
จะกล่าวถึงหนุ่มเหน้าและสาวศรี
ครานั้นขวัญเอ๋ยขวัญมา
|