รองศาสตราจารย์ ดร. วรรณา แสงอร่ามเรือง

Associate Professor Dr. Wanna Saengaramruang

คุณวุฒิ

  • อักษรศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง, เหรียญทอง) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2520
  • อักษรศาสตรมหาบัณฑิต (ภาษาและวรรณคดีเยอรมัน) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2522
  • ดุษฎีบัณฑิต (Doktor der Philosophie (Dr. phil.)) สาขาภาษาเยอรมันในฐานะภาษาต่างประเทศ (Deutsch als Fremdsprache) มหาวิทยาลัยคัสเซิล (Universität Kassel) สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี พ.ศ. 2535
ประสบการณ์

  • เป็นอาจารย์สอนภาษาเยอรมันที่สำเร็จหลักสูตรดุษฎีบัณฑิตด้านภาษาเยอรมันในฐานะภาษาต่างประเทศ (Deutsch als Fremdsprache) เป็นคนแรกของประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2535 จากมหาวิทยาลัยคัสเซิ่ล (Universität Kassel) ประเทศเยอรมัน ด้วยทุน DAAD
  • เป็นผู้บุกเบิกการเขียนตำราเรียนหรือหนังสืออ้างอิงภาษาเยอรมันสำหรับผู้เรียนชาวไทย รวมทั้งบุกเบิกการวิจัยการแปลคู่ภาษาเยอรมัน-ไทย ทั้งนี้ เพื่อเป็นแหล่งอ้างอิงค้นคว้าสำหรับนักเรียนนักศึกษาที่เรียนภาษาเยอรมันและนักแปล
  • เป็นอาจารย์สอนภาษาเยอรมันชาวไทยคนเดียวในปัจจุบันที่ได้รับเชิญเป็นผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกในการสอบวิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิตของมหาวิทยาลัยในประเทศเยอรมัน (มหาวิทยาลัยคัสเซิ่ล ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546)
ผลงานด้านการวิจัย
  • Saengaramruang, Wanna: Curriculare Grundlegung eines thailandspezifischen Deutschlehrwerks für den Hochschulbereich. Heidelberg: Julius Groos Verlag, 1992. (Sammlung Groos 47).
  • วรรณา แสงอร่ามเรือง. การแปล Abtönungspartikel ในภาษาเยอรมันเป็นภาษาไทย. (Die Übertragung der deutschen Abtönungspartikel ins Thailändische). ทุนวิจัยคณะอักษรศาสตร์ พ.ศ. 2542.
  • วรรณา แสงอร่ามเรือง. อาหารการกินในศัพท์และสำนวนเยอรมันและไทย. (Essen und Trinken im Wortschatz und in Redewendungen im Deutschen und im Thai). กรุงเทพฯ: คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548. (ทุนวิจัยคณะอักษรศาสตร์ ปี 2546 ในชุดโครงการ “เรื่องกินเรื่องใหญ่ ในไทยและเทศ” เพื่อเฉลิมฉลองเนื่องในวโรกาสที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีทรงเจริญพระชนมายุ 48 พรรษา)
  • วรรณา แสงอร่ามเรือง. ภาษาเยอรมันทันใจ. โครงการวิจัยเชิงทดลองการสอนแบบเข้ม 6-8 สัปดาห์ ทักษะการฟัง-การพูดภาษาต่างประเทศ ในชุดโครงการฐานรากการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) 2550.
  • วรรณา แสงอร่ามเรือง. ประโยคกรรมภาษาเยอรมัน: การถ่ายความเป็นภาษาไทย. Passivformen im Deutschen: Ihre Übertragung ins Thailändische. กรุงเทพฯ: โครงการตำราคณะอักษรศาสตร์ 2551. (ทุนวิจัยคณะอักษรศาสตร์).
  • วรรณา แสงอร่ามเรือง. การถ่ายความคำบุพบทเยอรมันเป็นภาษาไทย. ทุนโครงการศูนย์ความเป็นเลิศทางวิชาการด้านภาษา ภาษาศาสตร์ และวรรณคดี (อยู่ในโครงการใหญ่เรื่อง การวิจัยการแปลคู่ภาษาเยอรมัน-ไทย. โครงการในแผนพัฒนาวิชาการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2554-55).
  • วรรณา แสงอร่ามเรือง. การถ่ายความ Konjunktiv I และ Konjunktiv II ในประโยคเปรียบเปรยภาษาเยอรมัน (Irreale Vergleichssätze) เป็นภาษาไทย. (อยู่ในโครงการใหญ่เรื่อง การวิจัยการแปลคู่ภาษาเยอรมัน-ไทย. โครงการในแผนพัฒนาวิชาการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2554-55).
  • วรรณา แสงอร่ามเรือง. การถ่ายความ Partizip Präsens และ Partizip Perfekt ในวรรณกรรมที่แปลจากภาษาเยอรมันเป็นภาษาไทย. (อยู่ในโครงการใหญ่เรื่อง การวิจัยการแปลคู่ภาษาเยอรมัน-ไทย. โครงการในแผนพัฒนาวิชาการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2554-55).
งานแต่ง ตำรา หนังสืออ้างอิง
  • วรรณา แสงอร่ามเรือง. พจนานุกรมศัพท์ท่องเที่ยวไทย-เยอรมัน. (Thai-Deutsches Wörterbuch für Touristik). พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545.
  • วรรณา แสงอร่ามเรือง. Abtönungspartikeln ในภาษาเยอรมันและเจตนารมณ์ในการสื่อสาร. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2564. (พิมพ์ครั้งที่ 2) [CHULABOOK]
  • วรรณา แสงอร่ามเรือง. พจนานุกรมไทย-เยอรมัน เล่ม 1 ก-บ/เล่ม 2 ป-ฮ. (Thai-Deutsches Wörterbuch Band 1 ก-บ/Band 2 ป-ฮ). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548.
  • วรรณา แสงอร่ามเรือง. ไวยากรณ์เยอรมัน เล่ม 1. Deutsche Grammatik, Band 1. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562. (พิมพ์ครั้งที่ 17) [CHULABOOK]
  • วรรณา แสงอร่ามเรือง. ไวยากรณ์เยอรมัน เล่ม 2. Deutsche Grammatik, Band 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563. (พิมพ์ครั้งที่ 11) [CHULABOOK]
  • วรรณา แสงอร่ามเรือง. ไวยากรณ์เยอรมัน เล่ม 3. Deutsche Grammatik, Band 3. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563. (พิมพ์ครั้งที่ 6) [CHULABOOK]
  • วรรณา แสงอร่ามเรือง. ทฤษฎีและหลักการแปล. Theories of Translation. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563. (พิมพ์ครั้งที่ 4) (โครงการตำราคณะอักษรศาสตร์ อันดับที่ 47) [CHULABOOK]
  • วรรณา แสงอร่ามเรือง. ภาษาเยอรมันในชีวิตประจำวัน เล่ม 1. Deutsch für den Alltag. Band 1. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563. (พิมพ์ครั้งที่ 5) [CHULABOOK]
  • วรรณา แสงอร่ามเรือง. ภาษาเยอรมันในชีวิตประจำวัน เล่ม 2. Deutsch für den Alltag. Band 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558. (พิมพ์ครั้งที่ 3) [CHULABOOK]
  • วรรณา แสงอร่ามเรือง. สำนวนเยอรมันน่ารู้. Redewendungen im Deutschenใ กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555.
  • วรรณา แสงอร่ามเรือง. สำนวนเยอรมันและสำนวนไทยที่มีความหมายคล้ายคลึงกัน เล่ม 1-2 (อักษร A-Z). Deutsche und Thailändische Rewendungen. กรุงเทพฯ, สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562. [CHULABOOK]
บทความ/การนำเสนอบทความในที่ประชุม
  • วรรณา แสงอร่ามเรือง. “แฮร์มันน์ เฮสเส บนเส้นทางมุ่งสู่ปัจเจก.” Writer Magazine 19 (เมษายน 2537): 72-88.
  • Saengaramruang, Wanna: “Aktuelle Entwicklung des Germanistikstudiums in Thailand,” in: Reformdiskussion und curriculare Entwicklung. Internationale Germanistentagung, Kassel 1995: 275-290.
  • Saengaramruang, Wanna: “Aufgabenstellung in einem thailandspezifischen Deutschlehrwerk im Hochschulbereich,” in: Info DaF 1/1997: 51-57.
  • Saengaramruang, Wanna: “Übersetzung Deutsch – Thai/Thai – Deutsch, keine einfache Aufgabe. Was muß man berücksichtigen?” in: TDLV-Forum 2/1997: 7-14.
  • วรรณา แสงอร่ามเรือง. “การแปลคำ Abtönungspartikeln ในภาษาเยอรมันเป็นภาษาไทย”. วารสารอักษรศาสตร์ 23,1 (มกราคม – มิถุนายน 2543): 161-190
  • Saengaramruang, Wanna: “Der kommunikative Deutschunterricht in Thailand. Eine Bestandaufnahme”, in: Festschrift für Prof. Neuner zum 60. Geburtstag. München: iudicium, 2001.
  • วรรณา แสงอร่ามเรือง. “คำกล่าวรายงานของหัวหน้าสาขาวิชาภาษาเยอรมัน คณะอักษรศาสตร์” ใน Thailändisches Germanistentreffen. (TDLV-Forum 7/2002): 23-24.
  • Saengaramruang, Wanna: “Abtönungspartikeln als Illokustionsindikatoren: Von der Forchung in die Praxis des Deutsch- und Übersetzungsunterrichts in Thailand,” in: Thailändisches Germanistentreffen. (TDLV-Forum 7/2002): 331 – 356.
  • Saengaramruang, Wanna: “Die Übersetzung der deutschen Abtönungspartikeln in der Literatur ins Thailändische,” in: Akten des X. Internationalen Germanistenkongresses Wien 2000. “Zeitwende – Die Germanistik auf dem Weg vom 20. ins 21. Jahrhundert”, hrsg. von Peter Weisinger, Band 11: Übersetzung und Literaturwissenschaft. Peter Lang 2003: 179-185.
  • Saengaramruang, Wanna: “Sprachbewusstheit der thailändischen Deutschlernenden und Vorüberlegungen zu Deutsch als Tertiärsprache in Thailand,” in: Internationales Qualitätsnetz Deutsch als Fremdsprache – Tagungsdokumentation 2003: 165-190.
  • วรรณา แสงอร่ามเรือง. “พจนานุกรมไทย-เยอรมัน: ข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับลักษณะเฉพาะของภาษาเยอรมันสำหรับผู้เรียนชาวไทย.” ใน Thailändisches Germanistentreffen 2003: 169-191.
  • Saengaramruang, Wanna: “Deutschunterricht und Germanistikstudium in Thailand: früher, heute und morgen,” in: Info DaF, Heft 4/2007: 341-372.
  • Benjawatananun, Thanarat/Saengaramruang, Wanna: “Die es-Konstruktionen im Deutschen: ihre Funktion und ihre Übertragung ins Thailändische,” in: TDLV-Forum 11/2007: 15-40.
  • วรรณา แสงอร่ามเรือง. “การเรียนการสอนภาษาเยอรมันในประเทศไทย อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต.” วารสารอักษรศาสตร์ 36(2) (กรกฎาคม-ธันวาคม 2550): 14-63.
  • วรรณา แสงอร่ามเรือง. “การเรียนการสอนภาษาเยอรมันในประเทศไทย อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต. การค้นคว้าวิจัยและองค์กร หน่วยงาน หรือกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนาการสอนภาษาเยอรมันในประเทศไทย.” วารสารอักษรศาสตร์ ฉบับพิเศษ การเดินทางหลายมิติหลากพรมแดน 2551: 224-250.
  • วรรณา แสงอร่ามเรือง. “ภาษาเยอรมันทันใจ”กับ การเรียนภาษาเยอรมันให้เร็วและมีประสิทธิภาพ”. ” วารสารอักษรศาสตร์ 38(1) (มกราคม-มิถุนายน 2552)
  • วรรณา แสงอร่ามเรือง. German as Third Language after English for Thai Learners. (Deutsch nach Englisch für Thai-Lerner) การเรียนภาษาเยอรมันเป็นภาษาต่างประเทศต่อจากภาษาอังกฤษ. บทความเสนอในที่ประชุมนานาชาติ ณ มหาวิทยาลัยปักกิ่ง 7 เมษายน 2556.
  • วรรณา แสงอร่ามเรือง. “อาหารและเครื่องดื่มของเยอรมันทางตะวันตกเฉียงใต้: ภาพสะท้อนสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น.” วารสารอักษรศาสตร์ 43(1) (มกราคม-มิถุนายน 2557): 201-256.
  • วรรณา แสงอร่ามเรือง. “สํานวนเยอรมันและสํานวนไทยที่มีความหมายคล้ายคลึงกัน: การเปรียบเทียบเชิงวัฒนธรรม (Deutsche und thailändische Redewendungen: Ihre Bedeutungsähnlichkeiten. Ein Beitrag zum kulturellen Vergleich).” วารสารอักษรศาสตร์ 47(3) ฉบับ Supplementary (เดือนธันวาคม 2561): 481-511.
งานแปล
  • “นิทานสะท้อนสัจธรรมชีวิต.” ใน สาราภิรมย์ 2542: 149-156.
  • “นาฬิกาห้องครัว” แปลจาก Die Küchenuhr ของ Wolfgang Borchert. ใน บุษบาบรรณ 2544: 215-222.
  • “เรื่องเล่าของนายคอยเนอร์” แปลจาก Geschichten vom Herrn Keuner ของ Bertolt Brecht.” ใน บทแปลเรื่องสั้นเยอรมัน เฉลิมขวัญบรมราชกุมารี. 2547: 17-58.
  • งานแปลนิทานกริมม์ โครงการของสาขาวิชาภาษาเยอรมันเพื่อเฉลิมฉลองเนื่องในวโรกาส 60 พรรษาสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ