Course ID |
Name (Eng) |
Name (Thai) |
Course Short |
Description (Thai) |
Credits |
2200158 |
Applied Linguistics for Teaching Thai as a Foreign Language
|
ภาษาศาสตร์ประยุกต์เพื่อการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ |
APP LING TTFL |
ภาษาศาสตร์ประยุกต์สำหรับการเรียนการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การวิเคราะห์และแก้ปัญหาการเรียนภาษาไทยของผู้เรียนชาวต่างประเทศ
|
3 (3-0-6) |
2206216 |
Information Users and Services |
ผู้ใช้และบริการสารสนเทศ |
INFO USER SERV |
พฤติกรรมสารสนเทศและความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้
การศึกษาผู้ใช้และประสบการณ์ผู้ใช้ หลักและขั้นตอนในการจัดบริการสารสนเทศ |
3 (3-0-6) |
2206285 |
Digitization of Information Resources |
การแปลงทรัพยากรสารสนเทศให้อยู่ในรูปดิจิทัล |
DIGIT INFO RES |
หลักการพื้นฐานการแปลงทรัพยากรสารสนเทศให้อยู่ในรูปดิจิทัล
กระบวนการแปลงให้อยู่ในรูปดิจิทัล
ประเด็นทางกฎหมายและจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการแปลงให้อยู่ในรูปดิจิทัล |
3 (3-0-6) |
2206289 |
Data Communications and Networking in Information work |
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายในงานสารสนเทศ |
DATA COMM NETWORK |
ความหมาย ประเภท และวิวัฒนาการของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
ทฤษฎีการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์
ของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย การส่งผ่านข้อมูลในแบบต่าง ๆ
สถาปัตยกรรมการสื่อสาร การประยุกต์ใช้งานการสื่อสารข้อมูลในงานสารสนเทศ
และการรักษาความปลอดภัยเครือข่าย |
3 (3-0-6) |
2206290 |
Introduction to Digital Humanities |
พื้นฐานมนุษยศาสตร์ดิจิทัล |
INTRO DIGITAL HUMAN |
ภาพรวมของแนวคิด เครื่องมือ กิจกรรมและข้อถกเถียงทางมนุษยศาสตร์ดิจิทัล
ความแตกต่างระหว่างมนุษยศาสตร์แบบดั้งเดิมกับมนุษยศาสตร์ดิจิทัล
ผลของมนุษยศาสตร์ดิจิทัลต่อการวิจัยและศาสตร์ทางมนุษยศาสตร์ |
3 (3-0-6) |
2206333 |
System Design for Information Work |
การออกแบบระบบสำหรับงานสารสนเทศ |
SYS DES INFO |
ระบบการจัดการสารสนเทศ สถาปัตยกรรมสารสนเทศ
การออกแบบกระบวนการและผลลัพธ์ |
3 (3-0-6) |
2206356 |
Library Collection Management and Organization |
การจัดการและจัดระบบทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุด |
LIB COL MGT & ORG |
กระบวนการจัดการทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุดและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง
กฎหมายเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุด
การด าเนินงาน เทคนิคและเครื่องมือเพื่อท ารายการและ
จัดหมวดหมู่ทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุด
ประเภทต่าง ๆ การผลิตระเบียนรายการห้องสมุดออนไลน์
การจัดการภาระงานด้านการจัดระบบทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด |
3 (3-0-6) |
2206366 |
Statistics for Humanities Research |
สถิติเพื่อการวิจัยด้านมนุษยศาสตร์ |
STAT HUMAN RES |
ข้อมูล ตัวแปร และการคำนวณเบื้องหลังสถิติ การสรุปข้อมูล การวัดความถี่
การเปรียบเทียบระหว่างกลุ่ม ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
การตีความ และการนำเสนอสถิติ |
3 (3-0-6) |
2206384 |
Office Information Management |
การจัดการสารสนเทศในสำนักงาน |
OFFICE INFO MGT |
หลักและวิธีการจัดการสารสนเทศในสำนักงาน
เทคโนโลยีสำหรับจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศและเอกสาร |
3 (3-0-6) |
2206385 |
Database Management for the Humanities |
การจัดการฐานข้อมูลสำหรับมนุษยศาสตร์ |
DATA MGT HUMAN |
ลักษณะฐานข้อมูลในสาขามนุษยศาสตร์
การออกแบบและพัฒนาฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ภาษาเอสคิวแอล
การออกแบบและพัฒนาฐานข้อมูลสำหรับข้อมูลแบบไม่มีโครงสร้าง |
3 (3-0-6) |
2206386 |
User Interface Design in Information Work |
การออกแบบส่วนต่อประสานกับผู้ใช้ในงานสารสนเทศ |
USE IN DE INF WRK |
แนวคิดสำคัญเกี่ยวกับการออกแบบส่วนต่อประสานที่มีผู้ใช้เป็นศูนย์กลาง
วิธีการออกแบบส่วนต่อประสานกับผู้ใช้ในงานสารสนเทศ
การประเมินส่วนต่อประสานกับผู้ใช้ |
3 (3-0-6) |
2206415 |
Marketing and Public Relations for Information Organizations |
การตลาดและการประชาสัมพันธ์สำหรับองค์กรสารสนเทศ |
MKT PR INFO ORG |
หลักการตลาดและการประชาสัมพันธ์สำหรับองค์กรสารสนเทศ
การตลาดสำหรับผลิตภัณฑ์สารสนเทศและบริการ
กลยุทธ์การตลาดและการประชาสัมพันธ์ การสร้างแบรนด์ การสร้างภาพลักษณ์
การสื่อสารการตลาดเชิงบูรณาการ |
3 (3-0-6) |
2206442 |
Tools for Digital Humanities |
เครื่องมือสำหรับมนุษยศาสตร์ดิจิทัล |
TOOLS DIGIT HUMAN |
ขอบเขตของมนุษยศาสตร์ดิจิทัล เครื่องมือในการจัดการ วิเคราะห์ และสร้างมโนทัศน์ข้อมูลในมนุษยศาสตร์ดิจิทัล |
3 (3-0-6) |
2206489 |
Independent Study |
การศึกษาอิสระ |
INDEP STUDY |
(เงื่อนไขรายวิชา: รายวิชาที่คณะอนุญาตให้เรียน)
การวิจัยเรื่องคัดเฉพาะทางสารสนเทศศึกษาตามความสนใจของผู้ศึกษา
การนำเสนอผลงานวิจัย |
3 (3-0-6) |
2206491 |
Project in Information Studies I |
โครงการสารสนเทศศึกษา 1 |
PROJ INFO STUD I |
โครงการวิจัยพื้นฐานหรือโครงการวิจัยและพัฒนาด้านสารสนเทศศึกษา |
3 (1-6-2) |
2206492 |
Project in Information Studies II |
โครงการสารสนเทศศึกษา 2 |
PROJ INFO STUD II |
(เงื่อนไขรายวิชา: รายวิชาที่ต้องสอบผ่าน 2206491 โครงการสารสนเทศศึกษา 1)
โครงการวิจัยพื้นฐานหรือโครงการวิจัยและพัฒนาด้านสารสนเทศศึกษา |
3 (1-6-2) |
2209304 |
Grammatical System |
ระบบไวยากรณ์ |
GRAM SYSTEM |
มโนทัศน์ของคำ วลี และประโยค โครงสร้างของคำ วลี และประโยค ชนิดของคำ
ประเภททางไวยากรณ์ ความสัมพันธ์ของคำในวลี วากยสัมพันธ์ของวลีในประโยค
วิเคราะห์ระบบไวยากรณ์ในข้อมูลที่มีความยากระดับกลางในภาษาต่าง ๆ |
3 (3-0-6) |
2209305 |
Meaning in Language |
ความหมายในภาษา |
MEANING LANG |
นิยามของความหมายในภาษา ความหมายประเภทต่าง ๆ ในระดับคำ
แนวทางการกำหนดความหมายของคำ วงความหมาย ความหมายเหมือน
ความหมายตรงกันข้าม และการพ้องรูปพ้องเสียง |
3 (3-0-6) |
2209308 |
Sound System |
ระบบเสียง |
SOUND SYSTEM |
มโนทัศน์สำคัญและพื้นฐานทฤษฎีทางสรีรสัทศาสตร์ กลสัทศาสตร์
โสตสัทศาสตร์และสัทวิทยา การฝึกวิเคราะห์ระบบเสียง
ปรากฎการณ์ทางสัทวิทยาที่น่าสนใจ |
3 (3-0-6) |
2209309 |
Variation and Change in Language |
การแปรและการเปลี่ยนแปลงในภาษา |
VAR CHG LANG |
การแปรของภาษาตามปัจจัยทางภาษาและสังคม
การเปลี่ยนแปลงของภาษาประเภทต่าง ๆ ปัจจัยที่ทำให้ภาษาเปลี่ยนแปลง
ความสัมพันธ์ระหว่างการแปรของภาษากับการเปลี่ยนแปลงของภาษา |
3 (3-0-6) |
2209344 |
Linguistics and Translation |
ภาษาศาสตร์กับการแปล |
LING TRANSL |
ความรู้เรื่องลักษณะและปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่มีอยู่ในภาษา
ซึ่งได้จากการศึกษาทางภาษาศาสตร์อันเป็นพื้นฐานสำหรับการแปล |
3 (3-0-6) |
2209368 |
Linguistic Analysis of Thai |
การวิเคราะห์ภาษาไทยตามแนวภาษาศาสตร์ |
LING ANALYS THAI |
ลักษณะสำคัญของระบบเสียงและระบบไวยากรณ์ภาษาไทย
ปรากฏการณ์ทางเสียง ไวยากรณ์ ความหมาย การเปลี่ยนแปลง
และการแปรในภาษาไทยที่คัดสรรและแนวทางการวิเคราะห์
การประยุกต์ใช้ในด้านเทคโนโลยีภาษาและแวดวงอื่นๆ |
3 (3-0-6) |
2209369 |
Kra-Dai Languages |
ภาษาตระกูลขร้า-ไท |
KRA DAI LANGUAGES |
พัฒนาการของภาษาตระกูลขร้า-ไท ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาตระกูลขร้า-ไท
ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาตระกูลขร้า-ไทกับภาษาตระกูลอื่น
วิธีการศึกษาภาษาตระกูลขร้า-ไท ภาษาไทยในฐานะภาษาตระกูลขร้า-ไท
ประเด็นคัดสรรเกี่ยวกับภาษาตระกูลขร้า-ไท |
3 (3-0-6) |
2209370 |
Language and Mind |
ภาษาและความคิด |
LANG MIND |
ความสามารถทางภาษาของมนุษย์และสัตว์ การรับภาษาของเด็ก
การรับรู้เสียงพูด การเข้าใจภาษา การผลิตภาษา การรับภาษาที่สอง
สมองกับภาษา ภาษา วัฒนธรรม และปริชาน |
3 (3-0-6) |
2209371 |
Introduction to Romance Linguistics |
ภาษาศาสตร์ภาษาโรมานซ์เบื้องต้น |
INTRO ROMANCE LING |
นิยามกลุ่มภาษาโรมานซ์ ความหลากหลายของภาษาในกลุ่มโรมานซ์
ลักษณะสำคัญของภาษากลุ่มโรมานซ์ พัฒนาการของภาษากลุ่มโรมานซ์จากภาษาละติน
สถานการณ์ทางภาษาของภาษากลุ่มโรมานซ์ในโลกปัจจุบัน |
3 (3-0-6) |
2209372 |
Introduction to Computational Linguistics |
ภาษาศาสตร์คอมพิวเตอร์เบื้องต้น |
INTRO COMPU LING |
แนวคิดและทฤษฎีพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับการประมวลผลภาษาธรรมชาติ
ระบบการประมวลผลภาษาธรรมชาติแบบใช้กฎแบบอิงสถิติและแบบเครือข่ายนิวรอล
การประยุกต์ใช้งานการประมวลผลภาษาธรรมชาติในงานต่าง ๆ |
3 (3-0-6) |
2209373 |
Language and Culture |
ภาษากับวัฒนธรรม |
LANG CULTURE |
ลักษณะของภาษากับลักษณะของวัฒนธรรม ภาษากับโลกทัศน์
การจำแนกประเภททางไวยากรณ์และทางวัฒนธรรม
ทฤษฎีและงานวิจัยเกี่ยวกับคำเรียกสี คำเรียกญาติ และอุปลักษณ์
ภาษากับเพศ ระบบภาษาและวัฒนธรรมของชุมชนต่าง ๆ |
3 (3-0-6) |
2209376 |
Language Corpora |
คลังข้อมูลภาษา |
LANG CORPORA |
การออกแบบและการสร้างคลังข้อมูลภาษา
เครื่องมือและวิธีการสร้าง ค้นคืน และวิเคราะห์คลังข้อมูลภาษา
การใช้คลังข้อมูลในการวิจัยและการประยุกต์ใช้คลังข้อมูล |
3 (3-0-6) |
2209377 |
Field Linguistics |
ภาษาศาสตร์ภาคสนาม |
FLD LING |
(เงื่อนไขรายวิชา : รายวิชาที่คณะอนุญาตให้เรียน)
เทคนิคการเก็บข้อมูลภาษาเพื่อการวิเคราะห์ทางภาษาศาสตร์แง่มุมต่าง ๆ
การบันทึกและการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการเก็บข้อมูลภาคสนาม |
3 (3-0-6) |
2209378 |
Language and Marketing Communications |
ภาษากับการสื่อสารทางการตลาด |
LANG MKTG COM |
มโนทัศน์สำคัญทางภาษาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสารทางการตลาด
องค์ประกอบทางเสียงคำและความหมายของชื่อตราสินค้าที่สัมพันธ์กับการรับรู้คุณลักษณะสินค้า
บทบาทของโครงสร้างและการใช้ภาษาในกลยุทธ์การสื่อสารทางการตลาด |
3 (3-0-6) |
2209379 |
Language and Sex |
ภาษากับเพศ |
LANG SEX |
มโนทัศน์สำคัญทางภาษาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ของภาษากับเพศ
ทั้งเพศสรีร เพศสภาวะและเพศวิถี การแปรของภาษาตามเพศ
การใช้ภาษาเพื่อบ่งชี้เพศ การสร้างและแสดงตัวตนทางเพศผ่านภาษา
บทบาทของภาษาที่เกี่ยวข้องกับความหลากหลายทางเพศในสังคม |
3 (3-0-6) |
2209381 |
Speech Technology |
เทคโนโลยีวัจนะ |
SPEECH TECH |
ลักษณะทางกลสัทศาสตร์ของเสียงพูด
ระเบียบวิธีทางสถิติสำหรับการวิเคราะห์เสียงพูด
ระบบรู้จำเสียงพูดอัตโนมัติ การสังเคราะห์เสียงพูดจากข้อความ |
3 (3-0-6) |
2209382 |
Machine Translation |
การแปลภาษาด้วยคอมพิวเตอร์ |
MACHINE TRANSL |
มโนทัศน์พื้นฐานและวิธีการทางสถิติที่เกี่ยวข้องกับการแปลภาษาด้วยคอมพิวเตอร์
การแปลโดยยึดคำเป็นหลัก การแปลโดยยึดวลีเป็นหลัก
การแปลโดยยึดวากยสัมพันธ์เป็นหลัก การฝึกพัฒนาระบบการแปลภาษา |
3 (3-0-6) |
2209384 |
Natural Language Understanding |
การเข้าใจภาษาธรรมชาติ |
NLU |
ระบบต่าง ๆ สำหรับสกัดสารสนเทศจากข้อมูลภาษา ได้แก่
การสกัดหัวเรื่อง การวิเคราะห์อารมณ์ การรู้จำชื่อเฉพาะ การแก้ปัญหาเอนทิตี
การแก้ปัญหา การอ้างอิงร่วมและการสกัดหาความสัมพันธ์
การประยุกต์ใช้การเข้าใจภาษาธรรมชาติในงานด้านเทคโนโลยีภาษาและสารสนเทศ |
3 (3-0-6) |
2209390 |
Selected Topics in Language Technology |
เรื่องคัดเฉพาะทางเทคโนโลยีภาษา |
SEL TOP LANG TECH |
เรื่องทางเทคโนโลยีภาษาที่น่าสนใจ |
3 (3-0-6) |
2209491 |
Project in Language Technology I |
โครงการเทคโนโลยีภาษา 1 |
PROJ LANG TECH I |
โครงการวิจัยพื้นฐานหรือวิจัยและพัฒนาด้านเทคโนโลยีภาษา |
3 (1-6-2) |
2209492 |
Project in Language Technology II |
โครงการเทคโนโลยีภาษา 2 |
PROJ LANG TECH II |
(เงื่อนไขรายวิชา: รายวิชาที่ต้องสอบผ่าน 2209491 โครงการเทคโนโลยีภาษา 1)
โครงการวิจัยพื้นฐานหรือวิจัยและพัฒนาด้านเทคโนโลยีภาษา |
3 (1-6-2) |
2209607 |
Clinical Linguistics |
ภาษาศาสตร์เชิงคลินิก |
CLINIC LING |
ขอบเขตของภาษาศาสตร์เชิงคลินิก ภาษากับสมอง
ความผิดปกติและความบกพร่อง ด้านภาษาระหว่างและหลังการพัฒนาภาษา
ประเภทของความผิดปกติทางภาษา จริยธรรมการวิจัยในคน
งานวิจัยด้านภาษาศาสตร์เชิงคลินิก |
3 (3-0-6) |
Course ID |
Name (Eng) |
Name (Thai) |
Course Short |
Description (Thai) |
Credits |
2209161 |
Introduction to Language |
ภาษาทัศนา |
INTRO LANG |
นิยามและขอบเขตของภาษาศาสตร์ ลักษณะของภาษามนุษย์
มโนทัศน์พื้นฐานเกี่ยวกับเสียงในภาษาระบบเสียง โครงสร้างคำ
ไวยากรณ์ ความหมาย ระบบการเขียน การเปลี่ยนแปลงของภาษา
ภาษากับสังคมและการเรียนรู้ภาษา การวิเคราะห์ภาษาตามแนวภาษาศาสตร์
การตีความข้อมูลทางภาษาเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ |
3 (3-0-6) |
2209261 |
Basic Programming for Natural Language Processing |
พื้นฐานการเขียนโปรแกรมเพื่อการประมวลผลภาษาธรรมชาติ |
BASIC PROG NLP |
มโนทัศน์พื้นฐานของการเขียนโปรแกรม ตัวแปร ตัวดำเนินการ
โครงสร้างข้อมูล การควบคุมลำดับการทำงาน โปรแกรมย่อย
การฝึกเขียนโปรแกรมเพื่อประมวลผลข้อความ |
3 (3-0-6) |
2209304 |
Grammatical System |
ระบบไวยากรณ์ |
GRAM SYSTEM |
มโนทัศน์ของคำ วลี และประโยค โครงสร้างของคำ วลี และประโยค
ชนิดของคำ ประเภททางไวยากรณ์ ความสัมพันธ์ของคำในวลี
วากยสัมพันธ์ของวลีในประโยค
วิเคราะห์ระบบไวยากรณ์ในข้อมูลที่มีความยากระดับกลางในภาษาต่าง ๆ |
3 (3-0-6) |
2209305 |
Meaning in Language |
ความหมายในภาษา |
MEANING LANG |
นิยามของความหมายในภาษา ความหมายประเภทต่างๆ ในระดับคำ
แนวทางการกำหนดความหมายของคำ วงความหมาย ความหมายเหมือน
ความหมายตรงกันข้าม และการพ้องรูปพ้องเสียง |
3 (3-0-6) |
2209308 |
Sound System |
ระบบเสียง |
SOUND SYSTEM |
มโนทัศน์สำคัญทางทฤษฎีสัทวิทยา การฝึกวิเคราะห์ระบบเสียง
ปรากฎการณ์ทางสัทวิทยาที่น่าสนใจ |
3 (3-0-6) |
2209309 |
Variation and Change in Language |
การแปรและการเปลี่ยนแปลงในภาษา |
VAR CHG LANG |
การแปรของภาษาตามปัจจัยทางภาษาและสังคม
การเปลี่ยนแปลงของภาษาประเภทต่าง ๆ ปัจจัยที่ทำให้ภาษาเปลี่ยนแปลง
ความสัมพันธ์ระหว่างการแปรของภาษากับการเปลี่ยนแปลงของภาษา |
3 (3-0-6) |
2209344 |
Linguistics and Translation |
ภาษาศาสตร์กับการแปล |
LING TRANSL |
ความรู้เรื่องลักษณะและปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่มีอยู่ในภาษา
ซึ่งได้จากการศึกษาทางภาษาศาสตร์อันเป็นพื้นฐานสำหรับการแปล |
3 (3-0-6) |
2209368 |
Linguistics Analysis of Thai |
การวิเคราะห์ภาษาไทยตามแนวภาษาศาสตร์ |
LING ANALYS THAI |
ลักษณะสำคัญของระบบเสียงและระบบไวยากรณ์ภาษาไทย
ปรากฏการณ์ทางเสียง ไวยากรณ์ ความหมาย การเปลี่ยนแปลง
และการแปรในภาษาไทยที่น่าสนใจและแนวทางการวิเคราะห์
การประยุกต์ใช้ในด้านเทคโนโลยีภาษาและแวดวงอื่น ๆ |
3 (3-0-6) |
2209369 |
Kra-Dai Languages |
ภาษาตระกูลขร้า-ไท |
KRA DAI LANGUAGES |
พัฒนาการของภาษาตระกูลขร้า-ไท ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาตระกูลขร้า-ไท
ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาตระกูลขร้า-ไทกับภาษาตระกูลอื่น
วิธีการศึกษาภาษาตระกูลขร้า-ไท ภาษาไทยในฐานะภาษาตระกูลขร้า-ไท
ประเด็นคัดสรรเกี่ยวกับภาษาตระกูลขร้า-ไท |
3 (3-0-6) |
2209370 |
Language and Mind |
ภาษาและความคิด |
LANG MIND |
ความสามารถทางภาษาของมนุษย์และสัตว์ การรับภาษาของเด็ก
การรับรู้เสียงพูด การเข้าใจภาษา การผลิตภาษา การรับภาษาที่สอง
สมองกับภาษา ภาษา วัฒนธรรม และปริชาน |
3 (3-0-6) |
2209371 |
Introduction to Romance Linguistics |
ภาษาศาสตร์ภาษาโรมานซ์เบื้องต้น |
INTRO ROMANCE LING |
นิยามกลุ่มภาษาโรมานซ์ ความหลากหลายของภาษาในกลุ่มโรมานซ์
ลักษณะสำคัญของภาษากลุ่มโรมานซ์ พัฒนาการของภาษากลุ่มโรมานซ์จากภาษาละติน
สถานการณ์ทางภาษาของภาษากลุ่มโรมานซ์ในโลกปัจจุบัน |
3 (3-0-6) |
2209372 |
Introduction to Computational Linguistics |
ภาษาศาสตร์คอมพิวเตอร์เบื้องต้น |
INTRO COMPU LING |
แนวคิดและทฤษฎีพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับการประมวลผลภาษาธรรมชาติ
ระบบการประมวลผลภาษาธรรมชาติแบบใช้กฎ แบบอิงสถิติ และแบบเครือข่ายนิวรอล
การประยุกต์ใช้งานการประมวลผลภาษาธรรมชาติในงานต่าง ๆ |
3 (3-0-6) |
2209373 |
Language and Culture |
ภาษากับวัฒนธรรม |
LANG CULTURE |
ลักษณะของภาษากับลักษณะของวัฒนธรรม ภาษากับโลกทัศน์
การจำแนกประเภททางไวยากรณ์และทางวัฒนธรรม
ทฤษฎีและงานวิจัยเกี่ยวกับคำเรียกสี
คำเรียกญาติ และ อุปลักษณ์ ภาษากับเพศ
ระบบภาษาและวัฒนธรรมของชุมชนต่าง ๆ |
3 (3-0-6) |
2209375 |
Languages in ASEAN Plus+3 |
ภาษาในกลุ่มประเทศอาเซียน+3 |
LANG ASEAN PLUS |
ความหลากหลายทางภาษาในกลุ่มประเทศอาเซียน+3
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษาในกลุ่มประเทศอาเซียน จีน เกาหลี และญี่ปุ่น |
3 (3-0-6) |
2209376 |
Language Corpora |
คลังข้อมูลภาษา |
LANG CORPORA |
การออกแบบและการสร้างคลังข้อมูลภาษา
เครื่องมือและวิธีการสร้าง ค้นคืน และวิเคราะห์คลังข้อมูลภาษา
การใช้คลังข้อมูลในการวิจัยและการประยุกต์ใช้คลังข้อมูล |
3 (3-0-6) |
2209377 |
Field Linguistics |
ภาษาศาสตร์ภาคสนาม |
FLD LING |
เทคนิคการเก็บข้อมูลภาษาเพื่อการวิเคราะห์ทางภาษาศาสตร์แง่มุมต่าง ๆ
การบันทึกและการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการเก็บข้อมูลภาคสนาม |
3 (3-0-6) |
2209378 |
Language and Marketing Communications |
ภาษากับการสื่อสารทางการตลาด |
LANG MKTG COM |
มโนทัศน์สำคัญทางภาษาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสารทางการตลาด
องค์ประกอบทางเสียง คำ และความหมายของชื่อตราสินค้าที่สัมพันธ์กับการรับรู้คุณลักษณะสินค้า
บทบาทของโครงสร้างและการใช้ภาษาในกลยุทธ์การสื่อสารทางการตลาด |
3 (3-0-6) |
2209379 |
Language and Sex |
ภาษากับเพศ |
LANG SEX |
มโนทัศน์สำคัญทางภาษาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ของภาษากับเพศ
ทั้งเพศสรีระ เพศสภาวะและเพศวิถี การแปรของภาษาตามเพศ
การใช้ภาษาเพื่อบ่งชี้เพศ การสร้างและแสดงตัวตนทางเพศผ่านภาษา
บทบาทของภาษาที่เกี่ยวข้องกับความหลากหลายทางเพศในสังคม |
3 (3-0-6) |
2209380 |
Selected Topics in Linguistics |
เรื่องคัดเฉพาะทางภาษาศาสตร์ |
SEL TOP LING |
เรื่องทางภาษาศาสตร์ที่น่าสนใจ |
3 (3-0-6) |
2209381 |
Speech Technology |
เทคโนโลยีวัจนะ |
SPEECH TECH |
ลักษณะทางกลสัทศาสตร์ของเสียงพูด
ระเบียบวิธีทางสถิติสำหรับการวิเคราะห์เสียงพูด
ระบบรู้จำเสียงพูดอัตโนมัติ การสังเคราะห์เสียงพูดจากข้อความ |
3 (3-0-6) |
2209382 |
Machine Translation |
การแปลภาษาด้วยคอมพิวเตอร์ |
MACHINE TRANSL |
มโนทัศน์พื้นฐานและวิธีการทางสถิติที่เกี่ยวข้องกับการแปลภาษาด้วยคอมพิวเตอร์
การแปลโดยยึดคำเป็นหลัก การแปลโดยยึดวลีเป็นหลัก
การแปลโดยยึดวากยสัมพันธ์เป็นหลัก การฝึกพัฒนาระบบการแปลภาษา |
3 (3-0-6) |
2209384 |
Natural Language Understanding |
การเข้าใจภาษาธรรมชาติ |
NLU |
ระบบต่าง ๆ สำหรับสกัดสารสนเทศจากข้อมูลภาษา ได้แก่ การสกัดหัวเรื่อง
การวิเคราะห์อารมณ์ การรู้จำชื่อเฉพาะ การแก้ปัญหาเอนทิตี
การแก้ปัญหา การอ้างอิงร่วม และการสกัดหาความสัมพันธ์
การประยุกต์ใช้การเข้าใจภาษาธรรมชาติในงานด้านเทคโนโลยีภาษาและสารสนเทศ |
3 (3-0-6) |
2209390 |
Selected Topics in Language Technology |
เรื่องคัดเฉพาะทางเทคโนโลยีภาษา |
SEL TOP LANG TECH |
เรื่องทางเทคโนโนโลยีภาษาที่น่าสนใจ |
3 (3-0-6) |
2209591 |
Independent Study I |
เอกัตศึกษา 1 |
INDEPT STUD I |
(เงื่อนไขรายวิชา : รายวิชาที่คณะอนุญาตให้เรียน)
การศึกษาอย่างลึกซึ้งในหัวข้อที่น่าสนใจทางภาษาศาสตร์หัวข้อใดหัวข้อหนึ่งหรือหลายหัวข้อ |
3 (0-9-0) |
2209592 |
Independent Study II |
เอกัตศึกษา 2 |
INDEPT STUD II |
(เงื่อนไขรายวิชา : รายวิชาที่ต้องสอบผ่าน 2209591 เอกัตศึกษา 1 หรือ
รายวิชาที่คณะอนุญาตให้เรียน)
การศึกษาอย่างลึกซึ้งในหัวข้อที่น่าสนใจทางภาษาศาสตร์หัวข้อใดหัวข้อหนึ่งหรือหลายหัวข้อ |
3 (0-9-0) |
2209593 |
Independent Study III |
เอกัตศึกษา 3 |
INDEPT STUD III |
(เงื่อนไขรายวิชา : รายวิชาที่ต้องสอบผ่าน 2209592 เอกัตศึกษา 2 หรือ
รายวิชาที่คณะอนุญาตให้เรียน)
การศึกษาอย่างลึกซึ้งในหัวข้อที่น่าสนใจทางภาษาศาสตร์หัวข้อใดหัวข้อหนึ่งหรือหลายหัวข้อ |
3 (0-9-0) |
2209594 |
Independent Study IV |
เอกัตศึกษา 4 |
INDEPT STUD IV |
(เงื่อนไขรายวิชา : รายวิชาที่ต้องสอบผ่าน 2209593 เอกัตศึกษา 3 หรือ
รายวิชาที่คณะอนุญาตให้เรียน)
การศึกษาอย่างลึกซึ้งในหัวข้อที่น่าสนใจทางภาษาศาสตร์หัวข้อใดหัวข้อหนึ่งหรือหลายหัวข้อ |
3 (0-9-0) |
2209597 |
Senior Project 1 |
ปริญญานิพนธ์ 1 |
SR PROJ I |
nan |
4 |
2209598 |
Senior Project 2 |
ปริญญานิพนธ์ 2 |
SR PROJ II |
nan |
4 |
Course ID |
Name (Eng) |
Name (Thai) |
Description (Thai) |
Credits |
2209501 |
Phonetics |
สัทศาสตร์ |
สัทศาสตร์ทุกสาขา ได้แก่ สรีรสัทศาสตร์ กลสัทศาสตร์ และโสตสัทศาสตร์ การรับรู้
เสียง ความสัมพันธ์ระหว่างการผลิตเสียง คลื่นเสียง และการรู้จําถ้อยคํา |
3 (3-0-9) |
2209511 |
Phonology |
สัทวิทยา |
มโนทัศน์พื้นฐานเกี่ยวกับทฤษฎีสัทวิทยา การฝึกวิเคราะห์ระบบเสียง
กรอบทฤษฎีสัทวิทยาที่สําคัญ ประเด็นคัดสรรทางสัทวิทยา |
3 (3-0-9) |
2209521 |
Syntax |
วากยสัมพันธ์ |
คําและหน่วยคํา ประเภททางไวยากรณ์ ความสัมพันธ์ทางวากยสัมพันธ์ หน่วยสร้าง
ทางวากยสัมพันธ์ การวิเคราะห์ข้อมูลภาษาตามหลักวิทยาหน่วยคําและวากยสัมพันธ์ |
3 (3-0-9) |
2209531 |
Semantics |
อรรถศาสตร์ |
สัญญะและการสื่อสัญญะ ประเภทและระดับของความหมายและความกํากวม
ความสัมพันธ์ระดับคําศัพท์และระดับประโยค เงื่อนไขความจริงและคําจํากัดความ
การจัดประเภทและลําดับชั้นของประเภท ความหมายเชิงไวยากรณ์ ความหมาย
เชิงเปรียบเทียบ ความหลากหลายและการเปลี่ยนแปลงทางความหมาย |
3 (3-0-9) |
2209605 |
Phonological Phenomena in Thai |
ปรากฏการณ์ทางสัทวิทยาในภาษาไทย |
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสัทวิทยาภาษาไทย ปรากฏการณ์ทางสัทวิทยาที่น่าสนใจที่พบ
ในภาษาไทย ทฤษฎีทางสัทวิทยาสําหรับการวิเคราะห์ปรากฏการณ์ทางสัทวิทยา
ในภาษาไทย การประยุกต์ใช้การวิเคราะห์สัทวิทยาภาษาไทยในการสร้างนวัตกรรม |
3 (3-0-9) |
2209607 |
Clinical Linguistics |
ภาษาศาสตร์เชิงคลินิก |
ขอบเขตของภาษาศาสตร์เชิงคลินิก ภาษากับสมอง ความผิดปกติและความบกพร่อง
ด้านภาษาระหว่างและหลังการพัฒนาภาษา ประเภทของความผิดปกติทางภาษา
จริยธรรมการวิจัยในคน งานวิจัยด้านภาษาศาสตร์เชิงคลินิก |
3 (3-0-9) |
2209611 |
Historical Linguistics |
ภาษาศาสตร์เชิงประวัติ |
นิยามการเปลี่ยนแปลงทางภาษา ประเภทของการเปลี่ยนแปลงทางภาษา คําอธิบาย
การเปลี่ยนแปลงทางภาษา วิธีการทางภาษาศาสตร์เชิงประวัติในการวิเคราะห์
การเปลี่ยนแปลงทางภาษา ประเด็นคัดสรรทางทฤษฎีภาษาศาสตร์เชิงประวัติ |
3 (3-0-9) |
2209612 |
Language, Gender and Sexuality |
ภาษา เพศสภาพ และเพศวิถี |
การแปรของภาษากับเพศสภาพ เพศสภาพในวาทกรรมและการปฏิสัมพันธ์ทางสังคม
ภาษากับเพศวิถี ภาษาศาสตร์เควียร์ ความหลากหลายทางเพศและความไม่เท่าเทียม
ทางเพศในภาษา แนวทางการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างภาษา เพศสภาพ และ
เพศวิถี |
3 (3-0-9) |
2209615 |
Language Contact in Southeast Asia |
การสัมผัสภาษาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ |
มโนทัศน์และทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการสัมผัสภาษา การเปลี่ยนแปลงอันเนื่องจากการ
สัมผัสภาษา ผลลัพธ์ของการสัมผัสภาษา เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในฐานะเขตภาษา
ปรากฏการณ์การสัมผัสภาษาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ |
3 (3-0-9) |
2209616 |
Thai Historical Linguistics |
ภาษาศาสตร์เชิงประวัติภาษาไทย |
การวิเคราะห์ภาษาไทยตามแนวภาษาศาสตร์เชิงประวัติ การสืบสร้างภาษาไทยสมัย
ต่างๆ การวิเคราะห์ระบบเขียนภาษาไทยตามแนวภาษาศาสตร์เชิงประวัติ
ปรากฏการณ์ทางภาษาศาสตร์สังคมที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงในภาษาไทย |
3 (3-0-9) |
2209620 |
Experimental Linguistics |
ภาษาศาสตร์เชิงทดลอง |
มโนทัศน์พื้นฐานและงานวิจัยด้านภาษาศาสตร์เชิงทดลอง หลักการทั่วไปของ
ภาษาศาสตร์เชิงทดลอง การออกแบบการทดลองทางภาษา วิธีวิจัยเชิงทดลองแบบ
ออนไลน์และแบบออฟไลน์ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประมวลผลและการวิเคราะห์
ข้อมูลเชิงปริมาณ |
3 (3-0-9) |
2209631 |
Acoustic Phonetics |
กลสัทศาสตร์ |
คลื่นเสียงในลักษณะองค์ประกอบเชิงกลของระดับเสียงสูงต่ํา ความดังค่อย ความสั้น
ยาว และสัทสมบัติอื่น ๆ ที่ได้ยิน ความสัมพันธ์ระหว่างกลสัทศาสตร์กับกลไกในการ
เปล่งเสียงและการรับรู้เสียงพูด ปฏิสัมพันธ์ระหว่างกลสัทศาสตร์กับภาษาศาสตร์
แขนงอื่น ๆ |
3 (3-0-9) |
2209632 |
Forensic Phonetics |
นิติสัทศาสตร์ |
ค่าบ่งชี้ทางกลสัทศาสตร์ที่ใช้ในการวิเคราะห์หลักฐานเสียงพูด การจัดทําคุณลักษณะ
สามัญผู้พูด การเปรียบเทียบเสียงผู้พูด การสืบจับการดัดเสียง การชี้ตัวจากการได้ยิน
เสียง ประเด็นคัดสรรเกี่ยวกับบทบาทของนักสัทศาสตร์ในฐานะพยานผู้เชี่ยวชาญ
ในกระบวนการยุติธรรม |
3 (3-0-9) |
2209635 |
Second Language Speech |
วจนะภาษาที่สอง |
ทฤษฎีเกี่ยวกับการออกเสียงและการรับรู้เสียงภาษาที่สอง ปัจจัยต่าง ๆ ที่มีอิทธิพล
ต่อเสียงในภาษาที่สอง การทดลองเกี่ยวกับการออกเสียงและการรับรู้ทั้งเสียงเรียง
และเสียงซ้อนในภาษาที่สอง ประเด็นคัดสรรเกี่ยวกับผู้พูดภาษาที่สองและ
การประยุกต์ใช้ |
3 (3-0-9) |
2209641 |
Linguistics Field Methods |
วิธีปฏิบัติภาคสนามทางภาษาศาสตร์ |
วิธีปฏิบัติภาคสนามทางภาษาศาสตร์ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ เทคนิคการเก็บ
ข้อมูลภาษาเพื่อการวิเคราะห์ทางภาษาศาสตร์แง่มุมต่าง ๆ โดยเน้นการสัมภาษณ์
การบันทึกและการวิเคราะห์ข้อมูลภาษาโดยใช้ความรู้ทางทฤษฎีที่ได้จากการเรียน
รายวิชาอื่น ๆ การจัดทําโครงการและเสนอผลการวิจัยภาคสนามทางภาษาศาสตร์ |
3 (3-0-9) |
2209645 |
Cognitive Linguistics |
ภาษาศาสตร์ปริชาน |
ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับปริชาน ประเภทและต้นแบบ ตัวแบบและ
อนุกรมวิธาน อุปลักษณ์และนามนัย อารมณ์และความคิด พหุนัยและปริบท ผังโครง
และขอบเขต กรอบและเหตุการณ์ พื้นที่และเวลา ปริภูมิทางจิตและการผสานทาง
มโนทัศน์ การประยุกต์ใช้กรอบทฤษฎีและระเบียบวิธีทางภาษาศาสตร์ปริชาน |
3 (3-0-9) |
2209646 |
Linguistic Typology |
แบบลักษณ์ภาษา |
ประเภทและสากลลักษณ์ ระเบียบวิธีทางแบบลักษณ์ภาษา แบบลักษณ์ทางสัทวิทยา
แบบลักษณ์ทางอรรถศาสตร์ แบบลักษณ์ทางวิทยาหน่วยคํา แบบลักษณ์ทาง
วากยสัมพันธ์ ลําดับคํา แบบลักษณ์ของประเภทนาม แบบลักษณ์ของประเภทกริยา
แบบลักษณ์ของอนุพากย์และประโยค พื้นที่ภาษา แบบลักษณ์ภาษาและ
การเปลี่ยนแปลง |
3 (3-0-9) |
2209653 |
Sociolinguistics |
ภาษาศาสตร์สังคม |
การแปรของภาษาตามเงื่อนไขทางสังคม ภาษากับการบ่งชี้ วัจนลีลา ภาวะหลาย
ภาษา การสัมผัสภาษา การเลือกภาษา นโยบายภาษาและการวางแผนภาษา |
3 (3-0-9) |
2209654 |
Psycholinguistics |
ภาษาศาสตร์จิตวิทยา |
ระบบการสื่อสารของมนุษย์และสัตว์อื่น ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถทางภาษาของ
มนุษย์ การรับภาษาของเด็ก การรับรู้ เข้าใจ และผลิตภาษา ภาวะสองภาษาและ
การรับภาษาที่สอง ภาษามือ กลไกในสมองที่เกี่ยวข้องกับภาษา และภาษา วัฒนธรรม
และปริชาน |
3 (3-0-9) |
2209655 |
Southeast Asian Linguistics |
ภาษาศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ |
การกระจายของกลุ่มภาษาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ การแบ่งกลุ่มภาษาเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ตามความสัมพันธ์ทางเชื้อสาย ได้แก่ จีน-ทิเบต ขร้า-ไท แม้ว-เย้า
ออสโตรเอเชียติก และออสโตรนีเชียน ลักษณะร่วมประจําภูมิภาคของภาษาเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ การสัมผัสภาษาในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ |
3 (3-0-9) |
2209663 |
Language Acquisition |
การรับภาษา |
การรับภาษาโดยธรรมชาติและโดยการฟูมฟัก ปัจจัยที่เอื้อต่อการรับภาษา พัฒนาการ
ด้านการรับภาษาทั้งด้านเสียง การเรียนรู้ความหมายของคําและประโยค และ
ความสามารถเชิงวัจนปฏิบัติศาสตร์ ภาษาและสมอง สมมติฐานเกี่ยวกับช่วงสําคัญ
ของการรับภาษาการรับภาษาที่สอง ภาษามือ ความสามารถในการรู้หนังสือ
ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาที่รับกับวัฒนธรรมและปริชาน |
3 (3-0-9) |
2209670 |
Computational Linguistics |
ภาษาศาสตร์คอมพิวเตอร์ |
แนวคิดและทฤษฎีต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการประมวลผลภาษาธรรมชาติ ระบบ
การประมวลผลภาษาธรรมชาติแบบใช้กฎ แบบอิงสถิติ และแบบเครือข่ายนิวรอล
การประยุกต์ใช้งานการประมวลผลภาษาธรรมชาติในงานต่าง ๆ |
3 (3-0-9) |
2209671 |
Programming for Natural Language Processing |
การเขียนโปรแกรมเพื่อการประมวลผลภาษาธรรมชาติ |
มโนทัศน์พื้นฐานของการเขียนโปรแกรม ตัวแปร ตัวดําเนินการ โครงสร้างข้อมูล
การควบคุมลําดับการทํางาน โปรแกรมย่อย การฝึกเขียนโปรแกรมเพื่อประมวลผล
ข้อความ |
3 (3-0-9) |
2209673 |
Corpus Linguistics |
ภาษาศาสตร์คลังข้อมูล |
การออกแบบและการสร้างคลังข้อมูลภาษา การใช้คลังข้อมูลภาษาในการวิจัยทาง
ภาษาศาสตร์และการวิจัยวรรณกรรม เครื่องมือและวิธีการที่จําเป็นในการสร้าง ค้นคืน
และวิเคราะห์คลังข้อมูลภาษา |
3 (3-0-9) |
2209675 |
Kra-Dai Linguistics |
ภาษาศาสตร์ภาษาตระกูลขร้า-ไท |
การสืบสร้างระบบเสียงภาษาไทดั้งเดิม การตัดสินความสัมพันธ์ทางเชื้อสายของ
ภาษาในตระกูลขร้า-ไท การเปลี่ยนแปลงที่สําคัญในภาษาไทย เรื่องคัดสรรทาง
ภาษาศาสตร์ขร้า-ไท |
3 (3-0-9) |
2209676 |
Computational Discourse |
ปริจเฉทคอมพิวเตอร์ |
ทฤษฎีและขั้นตอนวิธีสําหรับการประมวลผลปริจเฉท ได้แก่ การแก้ปัญหาการอ้างอิง
ร่วม การใช้คําเชื่อมปริจเฉท ความสัมพันธ์ระดับปริจเฉท การตรวจให้คะแนน
ความเรียงด้วยเครื่อง และทฤษฎีโครงสร้างความเชื่อมโยง ทฤษฎีเกี่ยวกับ
การสนทนาและโต้ตอบ แอปพลิเคชันแบบโต้ตอบ เช่น แชตบอต ระบบการถามตอบ
การเข้าใจและบริหารการโต้ตอบ |
3 (3-0-9) |
2209677 |
Deep Learning Models in Natural Language Processing |
แบบจำลองการเรียนรู้หยั่งลึกสำหรับการประมวลผลภาษา |
รูปแทนแบบกระจายของคําและวลี แบบจําลองการเรียนรู้หยั่งลึกต่าง ๆ ได้แก่
เครือข่ายนิวรอลแบบม้วนกลับ เครือข่ายนิวรอลแบบป้อนไปหน้า เครือข่ายนิวรอล
แบบย้อนกลับ เครือข่ายนิวรอลแบบลําดับสู่ลําดับ การนําประยุกต์ใช้ในงาน
ด้านเทคโนโลยีภาษาและสารสนเทศ |
3 (3-0-9) |
2209678 |
Natural Language Processing Systems |
ระบบการประมวลผลภาษาธรรมชาติ |
พื้นฐานการพัฒนาระบบการประมวลผลภาษาธรรมชาติ ประเด็นปัญหาในการพัฒนา
ระบบ การสกัดความสัมพันธ์และการสร้างกราฟความรู้ หุ่นนักสนทนา และระบบ
การถามตอบ |
3 (3-0-9) |
2209682 |
Phonetics and Phonology in Speech Sound Disorder |
สัทศาสตร์และสัทวิทยาในความผิดปกติของการพูด |
การศึกษาความผิดปกติของการพูดด้วยแนวคิดทางสัทศาสตร์และสัทวิทยา ทฤษฎี
สําคัญที่อธิบายพัฒนาการของการพูด พัฒนาการสําคัญของการพูด แนวทางต่าง ๆ
ทางสัทศาสตร์และสัทวิทยาสําหรับการประเมินความผิดปกติของการพูด สัทศาสตร์
และสัทวิทยาสําหรับการบําบัดความผิดปกติของการพูด ความผิดปกติของการพูดใน
ประชากรเฉพาะกลุ่ม |
3 (3-0-9) |
2209683 |
Quantitative Methods in the Study of Language |
ระเบียบวิธีเชิงปริมาณในการศึกษาภาษา |
มโนทัศน์พื้นฐานและเทคนิคในการศึกษาภาษาเชิงปริมาณ ได้แก่ สถิติเชิงพรรณนา
การแสดงข้อมูลเป็นภาพ ความน่าจะเป็น ประเภทของการแจกแจงทางสถิติ การ
อนุมานทางสถิติและการทดสอบสมมติฐาน และพื้นฐานการเขียนโปรแกรมเพื่อการ
วิเคราะห์ทางสถิติ |
3 (3-0-9) |
2209705 |
Seminar in Phonetics and Phonology |
สัมมนาสัทศาสตร์และสัทวิทยา |
ประเด็นปัญหาทางสัทศาสตร์และสัทวิทยา |
3 (3-0-9) |
2209708 |
Professional Skills for Linguists |
ทักษะเชิงวิชาชีพสำหรับนักภาษาศาสตร์ |
การนําเสนอผลงานวิจัย การตีพิมพ์ผลงานวิชาการ การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
เพื่อรับทุน การจัดงานประชุมวิชาการ และทักษะเชิงอาชีพอื่น ๆ สําหรับ
นักภาษาศาสตร์ |
3 (3-0-9) |
2209707 |
Large Language Model |
โมเดลภาษาขนาดใหญ่ |
การศึกษาเชิงลึกเกี่ยวกับโมเดลภาษาขนาดใหญ่ โมเดลเชิงสถิติ โมเดลที่ใช้เครือข่าย
ประสาทเทียม และโมเดลที่ใช้ทรานส์ฟอร์มเมอร์ สถาปัตยกรรม การฝึกอบรม และ
การประยุกต์ใช้โมเดลภาษาขนาดใหญ่ แนวคิดสําคัญ เช่น การตัดคํา การทํางานของ
กลไกความสนใจ การเรียนรู้แบบถ่ายโอน การปรับแต่ง การประเมินผล และการเพิ่ม
ประสิทธิภาพของโมเดล |
3 (3-0-9) |
2209722 |
Linguistics in Digital Spaces |
ภาษาศาสตร์ในปริภูมิดิจิทัล |
การแปรทางเสียง การสะกดคํา ความหมาย และไวยากรณ์ในปริภูมิดิจิทัล ปฏิสัมพันธ์
ระหว่างสัญลักษณ์ ภาษา และภาพในการสื่อสารดิจิทัล พฤติกรรมและทัศนคติทาง
ภาษาของพลเมืองดิจิทัล ประเด็นคัดเฉพาะทางภาษาศาสตร์ในปริภูมิดิจิทัล |
3 (3-0-9) |
2209724 |
Seminar in Syntax and Semantics |
สัมมนาวากยสัมพันธ์และอรรถศาสตร์ |
เรื่องคัดเฉพาะเกี่ยวกับวากยสัมพันธ์และอรรถศาสตร์ |
3 (3-0-9) |
2209752 |
Seminar in Historical Linguistics |
สัมมนาภาษาศาสตร์เชิงประวัติ |
ประเด็นปัญหาทางภาษาศาสตร์เชิงประวัติ |
3 (3-0-9) |
2209753 |
Seminar in Sociolinguistics |
สัมมนาภาษาศาสตร์สังคม |
เรื่องคัดเฉพาะเกี่ยวกับภาษาศาสตร์สังคม |
3 (3-0-9) |
2209757 |
Selected Topics in Linguistics |
เรื่องคัดเฉพาะทางภาษาศาสตร์ |
เรื่องทางภาษาศาสตร์ที่น่าสนใจ |
3 (3-0-9) |
2209764 |
Seminar in Psycholinguistics |
สัมมนาภาษาศาสตร์จิตวิทยา |
ประเด็นปัญหาทางภาษาศาสตร์จิตวิทยา |
3 (3-0-9) |
2209770 |
Seminar in Computational Linguistics |
สัมมนาภาษาศาสตร์คอมพิวเตอร์ |
ประเด็นปัญหาทางภาษาศาสตร์คอมพิวเตอร์ |
3 (3-0-9) |
2209772 |
Individual Study |
เอกัตศึกษา |
การศึกษาค้นคว้าอย่างลึกซึ้งด้วยตนเองเกี่ยวกับเรื่องทางภาษาศาสตร์ที่นิสิตสนใจ |
3 (0-12-0) |
2209773 |
Directed Reading |
การอ่านตามกำหนด |
การอ่านและอภิปรายเรื่องทางภาษาศาสตร์ตามความสนใจของนิสิต |
3 (0-12-0) |
2209774 |
Directed Research |
การวิจัยตามกำหนด |
การวิจัยทางภาษาศาสตร์ในหัวข้อที่นิสิตสนใจ |
3 (0-12-0) |
2209777 |
Special Research |
สารนิพนธ์ |
nan |
6 (0-24-0) |
2209811 |
Thesis |
วิทยานิพนธ์ (แผน 1 แบบวิชาการ ศึกษารายวิชาและทำ
วิทยานิพนธ์) |
nan |
12 (0-48-0) |
2209816 |
Thesis |
วิทยานิพนธ์ (แผน 1 แบบวิชาการ วิทยานิพนธ์อย่างเดียว) |
nan |
36 (0-144-0) |
2209896 |
Comprehensive Examination |
การสอบประมวลความรู้ |
nan |
S/U |
Course ID |
Name (Eng) |
Name (Thai) |
Description (Thai) |
Credits |
2209501 |
Phonetics |
สัทศาสตร์ |
สัทศาสตร์ทุกสาขา ได้แก่ สรีรสัทศาสตร์ กลสัทศาสตร์ และโสตสัทศาสตร์ การรับรู้
เสียง ความสัมพันธ์ระหว่างการผลิตเสียง คลื่นเสียง และการรู้จําถ้อยคํา |
3 (3-0-9) |
2209511 |
Phonology |
สัทวิทยา |
มโนทัศน์พื้นฐานเกี่ยวกับทฤษฎีสัทวิทยา การฝึกวิเคราะห์ระบบเสียง
กรอบทฤษฎีสัทวิทยาที่สําคัญ ประเด็นคัดสรรทางสัทวิทยา |
3 (3-0-9) |
2209521 |
Syntax |
วากยสัมพันธ์ |
คําและหน่วยคํา ประเภททางไวยากรณ์ ความสัมพันธ์ทางวากยสัมพันธ์ หน่วยสร้าง
ทางวากยสัมพันธ์ การวิเคราะห์ข้อมูลภาษาตามหลักวิทยาหน่วยคําและวากยสัมพันธ์ |
3 (3-0-9) |
2209531 |
Semantics |
อรรถศาสตร์ |
สัญญะและการสื่อสัญญะ ประเภทและระดับของความหมายและความกํากวม
ความสัมพันธ์ระดับคําศัพท์และระดับประโยค เงื่อนไขความจริงและคําจํากัดความ
การจัดประเภทและลําดับชั้นของประเภท ความหมายเชิงไวยากรณ์ ความหมาย
เชิงเปรียบเทียบ ความหลากหลายและการเปลี่ยนแปลงทางความหมาย |
3 (3-0-9) |
2209605 |
Phonological Phenomena in Thai |
ปรากฏการณ์ทางสัทวิทยาในภาษาไทย |
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสัทวิทยาภาษาไทย ปรากฏการณ์ทางสัทวิทยาที่น่าสนใจที่พบ
ในภาษาไทย ทฤษฎีทางสัทวิทยาสําหรับการวิเคราะห์ปรากฏการณ์ทางสัทวิทยา
ในภาษาไทย การประยุกต์ใช้การวิเคราะห์สัทวิทยาภาษาไทยในการสร้างนวัตกรรม |
3 (3-0-9) |
2209607 |
Clinical Linguistics |
ภาษาศาสตร์เชิงคลินิก |
ขอบเขตของภาษาศาสตร์เชิงคลินิก ภาษากับสมอง ความผิดปกติและความบกพร่อง
ด้านภาษาระหว่างและหลังการพัฒนาภาษา ประเภทของความผิดปกติทางภาษา
จริยธรรมการวิจัยในคน งานวิจัยด้านภาษาศาสตร์เชิงคลินิก |
3 (3-0-9) |
2209611 |
Historical Linguistics |
ภาษาศาสตร์เชิงประวัติ |
นิยามการเปลี่ยนแปลงทางภาษา ประเภทของการเปลี่ยนแปลงทางภาษา คําอธิบาย
การเปลี่ยนแปลงทางภาษา วิธีการทางภาษาศาสตร์เชิงประวัติในการวิเคราะห์
การเปลี่ยนแปลงทางภาษา ประเด็นคัดสรรทางทฤษฎีภาษาศาสตร์เชิงประวัติ |
3 (3-0-9) |
2209612 |
Language, Gender and Sexuality |
ภาษา เพศสภาพ และเพศวิถี |
การแปรของภาษากับเพศสภาพ เพศสภาพในวาทกรรมและการปฏิสัมพันธ์ทางสังคม
ภาษากับเพศวิถี ภาษาศาสตร์เควียร์ ความหลากหลายทางเพศและความไม่เท่าเทียม
ทางเพศในภาษา แนวทางการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างภาษา เพศสภาพ และ
เพศวิถี |
3 (3-0-9) |
2209615 |
Language Contact in Southeast Asia |
การสัมผัสภาษาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ |
มโนทัศน์และทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการสัมผัสภาษา การเปลี่ยนแปลงอันเนื่องจากการ
สัมผัสภาษา ผลลัพธ์ของการสัมผัสภาษา เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในฐานะเขตภาษา
ปรากฏการณ์การสัมผัสภาษาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ |
3 (3-0-9) |
2209616 |
Thai Historical Linguistics |
ภาษาศาสตร์เชิงประวัติภาษาไทย |
การวิเคราะห์ภาษาไทยตามแนวภาษาศาสตร์เชิงประวัติ การสืบสร้างภาษาไทยสมัย
ต่างๆ การวิเคราะห์ระบบเขียนภาษาไทยตามแนวภาษาศาสตร์เชิงประวัติ
ปรากฏการณ์ทางภาษาศาสตร์สังคมที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงในภาษาไทย |
3 (3-0-9) |
2209620 |
Experimental Linguistics |
ภาษาศาสตร์เชิงทดลอง |
มโนทัศน์พื้นฐานและงานวิจัยด้านภาษาศาสตร์เชิงทดลอง หลักการทั่วไปของ
ภาษาศาสตร์เชิงทดลอง การออกแบบการทดลองทางภาษา วิธีวิจัยเชิงทดลองแบบ
ออนไลน์และแบบออฟไลน์ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประมวลผลและการวิเคราะห์
ข้อมูลเชิงปริมาณ |
3 (3-0-9) |
2209631 |
Acoustic Phonetics |
กลสัทศาสตร์ |
คลื่นเสียงในลักษณะองค์ประกอบเชิงกลของระดับเสียงสูงต่ํา ความดังค่อย ความสั้น
ยาว และสัทสมบัติอื่น ๆ ที่ได้ยิน ความสัมพันธ์ระหว่างกลสัทศาสตร์กับกลไกในการ
เปล่งเสียงและการรับรู้เสียงพูด ปฏิสัมพันธ์ระหว่างกลสัทศาสตร์กับภาษาศาสตร์
แขนงอื่น ๆ |
3 (3-0-9) |
2209632 |
Forensic Phonetics |
นิติสัทศาสตร์ |
ค่าบ่งชี้ทางกลสัทศาสตร์ที่ใช้ในการวิเคราะห์หลักฐานเสียงพูด การจัดทําคุณลักษณะ
สามัญผู้พูด การเปรียบเทียบเสียงผู้พูด การสืบจับการดัดเสียง การชี้ตัวจากการได้ยิน
เสียง ประเด็นคัดสรรเกี่ยวกับบทบาทของนักสัทศาสตร์ในฐานะพยานผู้เชี่ยวชาญ
ในกระบวนการยุติธรรม |
3 (3-0-9) |
2209635 |
Second Language Speech |
วจนะภาษาที่สอง |
ทฤษฎีเกี่ยวกับการออกเสียงและการรับรู้เสียงภาษาที่สอง ปัจจัยต่าง ๆ ที่มีอิทธิพล
ต่อเสียงในภาษาที่สอง การทดลองเกี่ยวกับการออกเสียงและการรับรู้ทั้งเสียงเรียง
และเสียงซ้อนในภาษาที่สอง ประเด็นคัดสรรเกี่ยวกับผู้พูดภาษาที่สองและ
การประยุกต์ใช้ |
3 (3-0-9) |
2209641 |
Linguistics Field Methods |
วิธีปฏิบัติภาคสนามทางภาษาศาสตร์ |
วิธีปฏิบัติภาคสนามทางภาษาศาสตร์ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ เทคนิคการเก็บ
ข้อมูลภาษาเพื่อการวิเคราะห์ทางภาษาศาสตร์แง่มุมต่าง ๆ โดยเน้นการสัมภาษณ์
การบันทึกและการวิเคราะห์ข้อมูลภาษาโดยใช้ความรู้ทางทฤษฎีที่ได้จากการเรียน
รายวิชาอื่น ๆ การจัดทําโครงการและเสนอผลการวิจัยภาคสนามทางภาษาศาสตร์ |
3 (3-0-9) |
2209645 |
Cognitive Linguistics |
ภาษาศาสตร์ปริชาน |
ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับปริชาน ประเภทและต้นแบบ ตัวแบบและ
อนุกรมวิธาน อุปลักษณ์และนามนัย อารมณ์และความคิด พหุนัยและปริบท ผังโครง
และขอบเขต กรอบและเหตุการณ์ พื้นที่และเวลา ปริภูมิทางจิตและการผสานทาง
มโนทัศน์ การประยุกต์ใช้กรอบทฤษฎีและระเบียบวิธีทางภาษาศาสตร์ปริชาน |
3 (3-0-9) |
2209646 |
Linguistic Typology |
แบบลักษณ์ภาษา |
ประเภทและสากลลักษณ์ ระเบียบวิธีทางแบบลักษณ์ภาษา แบบลักษณ์ทางสัทวิทยา
แบบลักษณ์ทางอรรถศาสตร์ แบบลักษณ์ทางวิทยาหน่วยคํา แบบลักษณ์ทาง
วากยสัมพันธ์ ลําดับคํา แบบลักษณ์ของประเภทนาม แบบลักษณ์ของประเภทกริยา
แบบลักษณ์ของอนุพากย์และประโยค พื้นที่ภาษา แบบลักษณ์ภาษาและ
การเปลี่ยนแปลง |
3 (3-0-9) |
2209653 |
Sociolinguistics |
ภาษาศาสตร์สังคม |
การแปรของภาษาตามเงื่อนไขทางสังคม ภาษากับการบ่งชี้ วัจนลีลา ภาวะหลาย
ภาษา การสัมผัสภาษา การเลือกภาษา นโยบายภาษาและการวางแผนภาษา |
3 (3-0-9) |
2209654 |
Psycholinguistics |
ภาษาศาสตร์จิตวิทยา |
ระบบการสื่อสารของมนุษย์และสัตว์อื่น ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถทางภาษาของ
มนุษย์ การรับภาษาของเด็ก การรับรู้ เข้าใจ และผลิตภาษา ภาวะสองภาษาและ
การรับภาษาที่สอง ภาษามือ กลไกในสมองที่เกี่ยวข้องกับภาษา และภาษา วัฒนธรรม
และปริชาน |
3 (3-0-9) |
2209655 |
Southeast Asian Linguistics |
ภาษาศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ |
การกระจายของกลุ่มภาษาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ การแบ่งกลุ่มภาษาเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ตามความสัมพันธ์ทางเชื้อสาย ได้แก่ จีน-ทิเบต ขร้า-ไท แม้ว-เย้า
ออสโตรเอเชียติก และออสโตรนีเชียน ลักษณะร่วมประจําภูมิภาคของภาษาเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ การสัมผัสภาษาในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ |
3 (3-0-9) |
2209663 |
Language Acquisition |
การรับภาษา |
การรับภาษาโดยธรรมชาติและโดยการฟูมฟัก ปัจจัยที่เอื้อต่อการรับภาษา พัฒนาการ
ด้านการรับภาษาทั้งด้านเสียง การเรียนรู้ความหมายของคําและประโยค และ
ความสามารถเชิงวัจนปฏิบัติศาสตร์ ภาษาและสมอง สมมติฐานเกี่ยวกับช่วงสําคัญ
ของการรับภาษาการรับภาษาที่สอง ภาษามือ ความสามารถในการรู้หนังสือ
ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาที่รับกับวัฒนธรรมและปริชาน |
3 (3-0-9) |
2209670 |
Computational Linguistics |
ภาษาศาสตร์คอมพิวเตอร์ |
แนวคิดและทฤษฎีต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการประมวลผลภาษาธรรมชาติ ระบบ
การประมวลผลภาษาธรรมชาติแบบใช้กฎ แบบอิงสถิติ และแบบเครือข่ายนิวรอล
การประยุกต์ใช้งานการประมวลผลภาษาธรรมชาติในงานต่าง ๆ |
3 (3-0-9) |
2209671 |
Programming for Natural Language Processing |
การเขียนโปรแกรมเพื่อการประมวลผลภาษาธรรมชาติ |
มโนทัศน์พื้นฐานของการเขียนโปรแกรม ตัวแปร ตัวดําเนินการ โครงสร้างข้อมูล
การควบคุมลําดับการทํางาน โปรแกรมย่อย การฝึกเขียนโปรแกรมเพื่อประมวลผล
ข้อความ |
3 (3-0-9) |
2209673 |
Corpus Linguistics |
ภาษาศาสตร์คลังข้อมูล |
การออกแบบและการสร้างคลังข้อมูลภาษา การใช้คลังข้อมูลภาษาในการวิจัยทาง
ภาษาศาสตร์และการวิจัยวรรณกรรม เครื่องมือและวิธีการที่จําเป็นในการสร้าง ค้นคืน
และวิเคราะห์คลังข้อมูลภาษา |
3 (3-0-9) |
2209675 |
Kra-Dai Linguistics |
ภาษาศาสตร์ภาษาตระกูลขร้า-ไท |
การสืบสร้างระบบเสียงภาษาไทดั้งเดิม การตัดสินความสัมพันธ์ทางเชื้อสายของ
ภาษาในตระกูลขร้า-ไท การเปลี่ยนแปลงที่สําคัญในภาษาไทย เรื่องคัดสรรทาง
ภาษาศาสตร์ขร้า-ไท |
3 (3-0-9) |
2209676 |
Computational Discourse |
ปริจเฉทคอมพิวเตอร์ |
ทฤษฎีและขั้นตอนวิธีสําหรับการประมวลผลปริจเฉท ได้แก่ การแก้ปัญหาการอ้างอิง
ร่วม การใช้คําเชื่อมปริจเฉท ความสัมพันธ์ระดับปริจเฉท การตรวจให้คะแนน
ความเรียงด้วยเครื่อง และทฤษฎีโครงสร้างความเชื่อมโยง ทฤษฎีเกี่ยวกับ
การสนทนาและโต้ตอบ แอปพลิเคชันแบบโต้ตอบ เช่น แชตบอต ระบบการถามตอบ
การเข้าใจและบริหารการโต้ตอบ |
3 (3-0-9) |
2209677 |
Deep Learning Models in Natural Language Processing |
แบบจำลองการเรียนรู้หยั่งลึกสำหรับการประมวลผลภาษา |
รูปแทนแบบกระจายของคําและวลี แบบจําลองการเรียนรู้หยั่งลึกต่าง ๆ ได้แก่
เครือข่ายนิวรอลแบบม้วนกลับ เครือข่ายนิวรอลแบบป้อนไปหน้า เครือข่ายนิวรอล
แบบย้อนกลับ เครือข่ายนิวรอลแบบลําดับสู่ลําดับ การนําประยุกต์ใช้ในงาน
ด้านเทคโนโลยีภาษาและสารสนเทศ |
3 (3-0-9) |
2209678 |
Natural Language Processing Systems |
ระบบการประมวลผลภาษาธรรมชาติ |
พื้นฐานการพัฒนาระบบการประมวลผลภาษาธรรมชาติ ประเด็นปัญหาในการพัฒนา
ระบบ การสกัดความสัมพันธ์และการสร้างกราฟความรู้ หุ่นนักสนทนา และระบบ
การถามตอบ |
3 (3-0-9) |
2209682 |
Phonetics and Phonology in Speech Sound Disorder |
สัทศาสตร์และสัทวิทยาในความผิดปกติของการพูด |
การศึกษาความผิดปกติของการพูดด้วยแนวคิดทางสัทศาสตร์และสัทวิทยา ทฤษฎี
สําคัญที่อธิบายพัฒนาการของการพูด พัฒนาการสําคัญของการพูด แนวทางต่าง ๆ
ทางสัทศาสตร์และสัทวิทยาสําหรับการประเมินความผิดปกติของการพูด สัทศาสตร์
และสัทวิทยาสําหรับการบําบัดความผิดปกติของการพูด ความผิดปกติของการพูดใน
ประชากรเฉพาะกลุ่ม |
3 (3-0-9) |
2209683 |
Quantitative Methods in the Study of Language |
ระเบียบวิธีเชิงปริมาณในการศึกษาภาษา |
มโนทัศน์พื้นฐานและเทคนิคในการศึกษาภาษาเชิงปริมาณ ได้แก่ สถิติเชิงพรรณนา
การแสดงข้อมูลเป็นภาพ ความน่าจะเป็น ประเภทของการแจกแจงทางสถิติ การ
อนุมานทางสถิติและการทดสอบสมมติฐาน และพื้นฐานการเขียนโปรแกรมเพื่อการ
วิเคราะห์ทางสถิติ |
3 (3-0-9) |
2209705 |
Seminar in Phonetics and Phonology |
สัมมนาสัทศาสตร์และสัทวิทยา |
ประเด็นปัญหาทางสัทศาสตร์และสัทวิทยา |
3 (3-0-9) |
2209708 |
Professional Skills for Linguists |
ทักษะเชิงวิชาชีพสำหรับนักภาษาศาสตร์ |
การนําเสนอผลงานวิจัย การตีพิมพ์ผลงานวิชาการ การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
เพื่อรับทุน การจัดงานประชุมวิชาการ และทักษะเชิงอาชีพอื่น ๆ สําหรับ
นักภาษาศาสตร์ |
3 (3-0-9) |
2209707 |
Large Language Model |
โมเดลภาษาขนาดใหญ่ |
การศึกษาเชิงลึกเกี่ยวกับโมเดลภาษาขนาดใหญ่ โมเดลเชิงสถิติ โมเดลที่ใช้เครือข่าย
ประสาทเทียม และโมเดลที่ใช้ทรานส์ฟอร์มเมอร์ สถาปัตยกรรม การฝึกอบรม และ
การประยุกต์ใช้โมเดลภาษาขนาดใหญ่ แนวคิดสําคัญ เช่น การตัดคํา การทํางานของ
กลไกความสนใจ การเรียนรู้แบบถ่ายโอน การปรับแต่ง การประเมินผล และการเพิ่ม
ประสิทธิภาพของโมเดล |
3 (3-0-9) |
2209722 |
Linguistics in Digital Spaces |
ภาษาศาสตร์ในปริภูมิดิจิทัล |
การแปรทางเสียง การสะกดคํา ความหมาย และไวยากรณ์ในปริภูมิดิจิทัล ปฏิสัมพันธ์
ระหว่างสัญลักษณ์ ภาษา และภาพในการสื่อสารดิจิทัล พฤติกรรมและทัศนคติทาง
ภาษาของพลเมืองดิจิทัล ประเด็นคัดเฉพาะทางภาษาศาสตร์ในปริภูมิดิจิทัล |
3 (3-0-9) |
2209724 |
Seminar in Syntax and Semantics |
สัมมนาวากยสัมพันธ์และอรรถศาสตร์ |
เรื่องคัดเฉพาะเกี่ยวกับวากยสัมพันธ์และอรรถศาสตร์ |
3 (3-0-9) |
2209752 |
Seminar in Historical Linguistics |
สัมมนาภาษาศาสตร์เชิงประวัติ |
ประเด็นปัญหาทางภาษาศาสตร์เชิงประวัติ |
3 (3-0-9) |
2209753 |
Seminar in Sociolinguistics |
สัมมนาภาษาศาสตร์สังคม |
เรื่องคัดเฉพาะเกี่ยวกับภาษาศาสตร์สังคม |
3 (3-0-9) |
2209757 |
Selected Topics in Linguistics |
เรื่องคัดเฉพาะทางภาษาศาสตร์ |
เรื่องทางภาษาศาสตร์ที่น่าสนใจ |
3 (3-0-9) |
2209764 |
Seminar in Psycholinguistics |
สัมมนาภาษาศาสตร์จิตวิทยา |
ประเด็นปัญหาทางภาษาศาสตร์จิตวิทยา |
3 (3-0-9) |
2209770 |
Seminar in Computational Linguistics |
สัมมนาภาษาศาสตร์คอมพิวเตอร์ |
ประเด็นปัญหาทางภาษาศาสตร์คอมพิวเตอร์ |
3 (3-0-9) |
2209772 |
Individual Study |
เอกัตศึกษา |
การศึกษาค้นคว้าอย่างลึกซึ้งด้วยตนเองเกี่ยวกับเรื่องทางภาษาศาสตร์ที่นิสิตสนใจ |
3 (0-12-0) |
2209773 |
Directed Reading |
การอ่านตามกำหนด |
การอ่านและอภิปรายเรื่องทางภาษาศาสตร์ตามความสนใจของนิสิต |
3 (0-12-0) |
2209774 |
Directed Research |
การวิจัยตามกำหนด |
การวิจัยทางภาษาศาสตร์ในหัวข้อที่นิสิตสนใจ |
3 (0-12-0) |
2209777 |
Special Research |
สารนิพนธ์ |
nan |
6 (0-24-0) |
2209824 |
Dissertation |
วิทยานิพนธ์ (แผน 1.2) |
nan |
87 (0-348-0) |
2209826 |
Dissertation |
วิทยานิพนธ์ (แผน 2.1) |
nan |
36 (0-144-0) |
2209828 |
Dissertation |
วิทยานิพนธ์ (แผน 2.2) |
nan |
48 (0-192-0) |
2209829 |
Dissertation |
วิทยานิพนธ์ (แผน 1.1) |
nan |
60 (0-240-0) |
2209897 |
Qualifying Examination |
การสอบวัดคุณสมบัติ |
nan |
S/U |