รายชื่อวิทยานิพนธ์
สามารถหารายละเอียดเพิ่มเติมของวิทยานิพนธ์ได้ที่คลังปัญญาจุฬา
ค้นหาด้วยชื่อ-สกุลผู้เขียน : คลังปัญญาจุฬา - ค้นหาด้วยชื่อสกุล
ค้นหาด้วยชื่อวิทยานิพนธ์ : คลังปัญญาจุฬา - ค้นหาด้วยชื่อวิทยานิพนธ์
ชื่อ-สกุล | ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา | ปีที่สำเร็จการศึกษา | ชื่อวิทยานิพนธ์ |
---|---|---|---|
เจริญขวัญ ธรรมประดิษฐ์ | สุดาพร | 2523 | การใช้ลักษณะทางสัทศาสตร์ของสระสูงในการแบ่งเขตภาษาถิ่นในจังหวัดตรัง กระบี่พังงา และภูเก็ต |
นฤมล จันทรศุภวงศ์ | อมรา | 2523 | ลักษณนามในภาษาไทยโคราชที่บ้านบึงทับปรางค์ ตำบลกระโทก อำเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา |
กาญจนา พันธุ์ค้า | ธีระพันธ์ | 2523 | ลักษณะเฉพาะทางด้านเสียงของภาษาลาว |
กาญจนา คูวัฒนะศิริ | ธีระพันธ์ | 2523 | วรรณยุกต์ในภาษาญ้อ |
เพ็ญแข วงษ์ศิริ | ปราณี | 2524 | คำกริยาอกรรมในภาษาไทย : การศึกษาและการจำแนกตามแนวไวยากรณ์การก |
จิตราภรณ์ เกียรติไพบูลย์ | ปราณี | 2524 | คำถามแบบตอบรับ-ปฏิเสธในภาษาไทย : การวิเคราะห์เชิงอรรถศาสตร์ |
พูลสุข รัตโนทยานนท์ | อังกาบ | 2524 | ปัจจุบันกาลในภาษาอังกฤษและภาษาไทย : การศึกษาเปรียบต่าง |
จริยา สมนึก | ธีระพันธ์ | 2524 | ระบบเสียงภาษาถิ่นย่อยของจังหวัดนครศรีธรรมราช |
เพ็ญพร ตันวัฒนานันท์ | เพียรศิริ | 2525 | การเปลี่ยนแปลงเสียงพยัญชนะกักสิถิลในภาษาถิ่นเชียงใหม่ตัวแปรทางสังคมบางประการ |
ภาวดี ดีพึ่งตน | ธีระพันธ์ | 2525 | การเพี้ยนของเสียงวรรณยุกต์ในเพลงไทยลูกทุ่ง |
สรัญญา เศวตมาลย์ | เพียรศิริ | 2525 | การวิเคราะห์โครงสร้างของปริมาณวลีในภาษาไทย |
รัชนี เสนีย์ศรีสันต์ | ธีระพันธ์ | 2525 | การศึกษาเปรียบเทียบเสียงและระบบเสียงในภาษาลาวพวนมาบปลาเค้าของผู้พูดภาษาที่มีอายุต่างกัน |
อภิรดี อุดมมณีสุวัฒน์ | ปราณี | 2525 | ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบของเสียงสระและความหมายของคำซ้ำสองพยางค์ในภาษาไทย |
วิภา วงศ์สันติวนิช | ปราณี | 2525 | คำกริยาการีตในภาษาไทย |
เกษมณี เทพวัลย์ | กัลยา | 2525 | แนวแบ่งเขตภาษาไทยกลางกับภาษาไทยถิ่นใต้โดยใช้วรรณยุกต์เป็นเกณฑ์ |
วรรณพร ทองมาก | กัลยา | 2525 | แนวแบ่งเขตภาษาไทยถิ่นกลางกับภาษาไทยถิ่นใต้โดยใช้ศัพท์เป็นเกณฑ์ |
วันทนีย์ พันธชาติ | กัลยา | 2525 | ภาษาถิ่นย่อยของคำเมือง : การศึกษาศัพท์ |
วารี วีสกุล | กัลยา | 2525 | ภูมิศาสตร์ภาษาจังหวัดสุโขทัย : การศึกษาโดยใช้ศัพท์ |
จรูญ บุญพันธ์ | ปราณี | 2525 | วิธีการทำเป็นการีตในภาษาญัฮกุร |
เอกวิทย์ จิโนวัฒน์ | ธีระพันธ์ | 2525 | ศึกษาเปรียบเทียบการสร้างคำในภาษากูย บรู และโซ่ |
อุไร งามสม | เพียรศิริ | 2526 | การวิเคราะห์คุณสมบัติทางวากยสัมพันธ์และอรรถศาสตร์ของคำกริยา มี ในภาษาไทย |
สุภา อังกุระวรานนท์ | ปราณี | 2526 | การศึกษาความหมายแฝงของคำว่า "ผู้หญิง" จากความเปรียบในบทเพลงไทยสากล |
มาลี คูสมิต | อังกาบ | 2526 | การศึกษาเปรียบต่างของการใช้ภาษาที่แสดงเวลาในอดีตในภาษาอังกฤษและภาษาไทย |
นิตยา วัยโรจนวงศ์ | สุดาพร | 2526 | การศึกษาเปรียบต่างของระบบเสียงหนักเบาในภาษาอังกฤษและภาษาไทยและการ |
ปราณี กายอรุณสิทธิ์ | ธีระพันธ์ | 2526 | คำยืมภาษาจีนในภาษาไทยปัจจุบัน |
สุกัลยา สุรินทร์ไพบูลย์ | สุดาพร | 2526 | ระบบพยางค์หนักเบาของคำหลายพยางค์ในภาษาไทย |
พจนารถ เสมอมิตร | วิจินตน์ | 2526 | ระบบเสียงในภาษาโพล่ว อำเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี |
ลอรัตน์ รัตนดิลก ณ ภูเก็ต | กัลยา | 2526 | วรรณยุกต์ของภาษาไทยถิ่นจังหวัดราชบุรี |
เจอรี่ เกนี่ | ธีระพันธ์ | 2527 | การศึกษาระบบเสียงภาษากูย บรู และโซ่ ในเชิงภาษาศาสตร์เปรียบเทียบ |
ประภาพรรณ เสณีตันติกุล | กัลยา | 2527 | การศึกษาเรื่องศัพท์ภาษาไทยถิ่นใต้จังหวัดสุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช และสงขลา |
วิสุทธิระ เนียมนาค | กัลยา | 2527 | ระบบเสียงภาษายองซึ่งพูดในจังหวัดลำพูน : การศึกษาเปรียบเทียบแบบร่วมสมัย |
สุรีย์พร ใหญ่สง่า | ธีระพันธ์ | 2527 | ศึกษาเปรียบเทียบเสียงและระบบเสียงภาษาละเวือะบ้านป่าแป๋ บ้านช่างหม้อ บ้านอมพาย และบ้านดง |
ประภาพร มณีโรจน์ | เพียรศิริ | 2528 | การใช้รูปแทนคำนามเพื่อบอกความต่อเนื่องในข้อเขียนภาษาไทย |
อุไรรัตน์ บุญภานนท์ | สุดาพร | 2528 | การถอดอักษรภาษาอังกฤษเป็นไทยโดยใช้หลักวิชาภาษาศาสตร์ |
ศรินทิพย์ วัชรวัฒนากุล | ปราณี | 2528 | การรวมความหมายในคำกริยาภาษาไทย |
อภิญญา สร้อยธุหร่ำ | อังกาบ | 2528 | การศึกษาเปรียบต่างการใช้ภาษาที่แสดงเวลาอนาคตในภาษาอังกฤษและภาษาไทย |
วัชระ โพธิสรณ์ | เพียรศิริ | 2528 | คำถามแบบตอบรับ-ปฏิเสธในภาษากรุงเทพฯและภาษาอุดรธานี : การเปรียบเทียบด้านความหมาย |
ประนุท วิชชุโรจน์ | ปราณี | 2528 | คำบอกสีและการรับรู้เรื่องสี : การศึกษาที่ตำบลนาอิน อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ |
อะรุณี รัตนะกุล | กัลยา | 2528 | คำลักษณนามในภาษาไทยถิ่นจังหวัดเชียงใหม่ ขอนแก่น สระบุรี และสุราษฎร์ธานี |
ศรินทิพย์ สถีรศิลปิน | เพียรศิริ | 2528 | คำลักษณนามในภาษาล่าหู่นะ (มูเซอดำ) : การวิเคราะห์ตามแนวอรรถศาสตร์ |
ประพนธ์ จุนทวิเทศ | อมรา | 2528 | ภาวะหลายภาษาในบ้านหนองอารีและบ้านลาวเดิม ตำบลดินแดง อำเภอไพรบึง จ.ศรีสะเกษ |
ดวงใจ เอช | กัลยา | 2528 | ภูมิศาสตร์คำศัพท์ภาษาไทยถิ่นใต้จังหวัดสุราษฎร์ธานี และนครศรีธรรมราช |
อภินันท์ เชื้อไทย | เพียรศิริ | 2528 | อนุประโยคบอกความใหม่ที่อยู่ต้นประโยคในภาษาไทย |
แสงจันทร์ ตรียกูล | สุดาพร | 2529 | การแปรของ ร และ ล ในภาษาไทยกรุงเทพฯ ตามวัจนลีลา : การศึกษาการออกเสียงของผู้ประกาศข่าวประจำสถานีวิทยุกระจายเสียงภาคเอฟ.เอ็ม.ในกรุงเทพมหานคร |
ธนานันท์ ตรงดี | สุดาพร | 2529 | การศึกษาพยัญชนะไม่กักในภาษาไทยเชิงกลสัทศาสตร์ |
เฉลียว เอกนิยม | สุดาพร | 2529 | รูปแบบคำถามแบบตอบรับ-ปฏิเสธในงานแปลจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย |
เปรมินทร์ คาระวี | ปราณี | 2529 | รูปและความหมายของคำซ้ำพยางค์ที่เป็นคำคุณศัพท์และคำกริยาวิเศษณ์ในภาษาสงขลา |
วิไลลักษณ์ เดชะ | ธีระพันธ์ | 2529 | ศึกษาเปรียบเทียบระบบเสียงภาษาไท 6 ภาษา ที่พูดในอำเภอท่าตะโก จังหวัดนครสวรรค์ |
วิบูลย์ ธานสกุล | สุดาพร | 2530 | การวิเคราะห์พยัญชนะกักในภาษาไทยเชิงกลสัทศาสตร์ |
สุชาดา เทวะผลิน | เพียรศิริ | 2530 | คำสแลงในภาษาไทยจากหนังสือพิมพ์รายวัน |
จันทิราพร สุขปรีดี | กัลยา | 2530 | ภูมิศาสตร์คำศัพท์ภาษาไทยถิ่นในจังหวัดระยอง จันทบุรี และตราด |
ยาใจ มาลัยเจริญ | กัลยา | 2530 | วรรณยุกต์ในภาษาไทยถิ่นจังหวัดอ่างทองและพระนครศรีอยุธยา |
จิราณัฐ งามพัฒนะกุล | อมรา | 2531 | การใช้คำลักษณนาม /KAJ55/ ของชาวจีนแต้จิ๋วในประเทศไทย |
อรุณี อรุณเรือง | อมรา | 2531 | การแปรของวรรณยุกต์โทในภาษาไทยกรุงเทพฯ ตามระดับอายุผู้พูด |
สมจิตต์ รัตนีลักษณ์ | สุดาพร | 2531 | การศึกษาทางสัทอรรถศาสตร์ของคำลงท้ายในภาษาระยอง |
ทิพวัลย์ สังขะวัฒนะ | สุดาพร | 2531 | การศึกษาเปรียบเทียบต่างทำนองเสียงในภาษาอังกฤษและภาษาไทย |
สุรพล ชัยทองวงศ์วัฒนา | ปราณี | 2531 | คำกริยาบ่งบอกลักษณะภาษาไทยกรุงเทพฯ |
วัฒนะ บุญจับ | สุดาพร | 2531 | จังหวะและทำนองในเพลงฉ่อยและลำตัด |
พรศรี ชินเชษฐ | กัลยา | 2531 | วรรณยุกต์ภาษาลาวแง้วในคำเดี่ยวกับในคำพูดต่อเนื่อง |
ศิริมา ภิญโญสินวัฒน์ | อมรา | 2531 | หน่วยสร้างภาษาไทยที่เทียบเท่ากับหน่วยสร้างกรรมวาจกภาษาอังกฤษในข่าวต่างประเทศผ่านดาวเทียม |
วราภรณ์ สุขประเสริฐ | เพียรศิริ | 2532 | กลวิธีทางภาษาในการกลบเกลื่อนความคิดทางลบต่อมารดาในทัศนปริจเฉทของวัยรุ่น |
วิชัย กฤตประโยชน์ | กิ่งกาญจน์ | 2532 | การณ์ลักษณะในภาษาเมี่ยน |
อังสนา จามิกรณ์ | อมรา | 2532 | การแปรในการออกเสียงพยัญชนะท้าย ของคำยืมภาษาอังกฤษที่ลงท้ายด้วยเสียงเสียดแทรกปุ่มเหงือก : กรณีศึกษาของข้าราชการกองทัพเรือไทย |
วิโรจน์ อรุณมานะกุล | เพียรศิริ | 2532 | การวิเคราะห์ประโยคภาษาไทยตามแนวไวยากรณ์พึ่งพาเพื่อใช้ในระบบการแจงส่วนประโยคด้วยคอมพิวเตอร์ |
แก้วใจ จันทร์เจริญ | อมรา | 2532 | คำรื่นหูในภาษาไทย |
นันทา กลิ่นมณี | กิ่งกาญจน์ | 2532 | คำลักษณนามในภาษาเมี่ยน |
วนิดา เจริญศุข | อมรา | 2532 | นามสกุลของคนไทยเชื้อสายจีน : การวิเคราะห์ทางอรรถศาสตร์ชาติพันธุ์ |
ชนินธร วิริยะพันธ์ | อมรา | 2532 | รูปแบบคำขึ้นต้นจดหมายส่วนตัวในภาษาไทย : การศึกษาเชิงภาษาศาสตร์สังคม |
กษมาภรณ์ มณีขาว | เพียรศิริ | 2532 | รูปภาษาที่ใช้อ้างถึงตัวแสดงบทบาทในปริจเฉทเรื่องเล่าภาษาเมี่ยน |
ศักดิ์สิทธิ์ ลิมกุลาคม | อมรา | 2533 | กลวิธีการใช้คำในภาษาโฆษณาภาษาไทยทางโทรทัศน์และนิตยสารไทย |
สุดจิตต์ วิชชุโรจน์ | สุดาพร | 2533 | การซ้ำคำในภาษาเมี่ยน-เย้า |
จุฑามาศ ชมมาลัย | ชลิดา | 2533 | การศึกษาเปรียบเทียบพยัญชนะต้นกักในภาษาไทยถิ่น |
สุนีย์พร เลิศกุลทานนท์ | กัลยา | 2533 | ภูมิศาสตร์คำศัพท์ภาษาไทยถิ่นใต้จังหวัดพังงา และกระบี่ |
รุจนา พินิจารมณ์ | ธีระพันธ์ | 2533 | ลักษณะเชิงกลสัทศาสตร์ของพยางค์เสียงเบาในภาษาไทย |
ปิยฉัตร ปานโรจน์ | สุดาพร | 2533 | ลักษณะเชิงกลสัทศาสตร์ของวรรณยุกต์ในภาษาไทยกรุงเทพฯ : การแปรตามกลุ่มอายุ |
จิราภัสร ลิมปิชาติ | เพียรศิริ | 2533 | โลกทัศน์ของชาวเขา 6 เผ่าในประเทศไทยที่สะท้อนจากลักษณนามของคำนามเรียกเครื่องใช้ในครัวเรือน |
ปิยวลี ยิ่งสวัสดิ์ | เพียรศิริ | 2533 | โลกทัศน์ของชาวเขา 6 เผ่าในประเทศไทยที่สะท้อนจากลักษณนามของคำนามเรียกสิ่งมีชีวิต |
นิธิวดี มะปะวงศ์(โฆสรัสวดี) | เพียรศิริ | 2533 | วิวัฒนาการศัพท์การเมืองการปกครองไทยตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 4 ถึง รัชกาลที่ 7 |
วัลจิลีน ชุติวัตร | ชลิดา | 2533 | เสียงปฏิภาคชุด ช-จ-ซ ในบริเวณรอยต่อของภาษาไทยถิ่นในจังหวัดอุตรดิตถ์ |
พริ้มรส มารีประสิทธิ์ | กัลยา | 2534 | การแปรของเขตปรับเปลี่ยนภาษาระหว่างภาษาไทยถิ่นกลางและภาษาไทยถิ่นใต้ตามอายุของผู้พูด : การศึกษาคำศัพท์ |
รตญา กอบศิริกาญจน์ | กัลยา | 2534 | การแปรของวรรณยุกต์สูง-ตกในภาษาไทยถิ่นเพชรบุรี |
บุญเรือง ชื่นสุวิมล (เอก) | อมรา | 2534 | ความสัมพันธ์ระหว่างการแปรของ ( R ) ในภาษาไทยและ ( r ) ในภาษาอังกฤษ |
รพีพรรณ ใจภักดี | กัลยา | 2534 | ภูมิศาสตร์คำศัพท์ภาษาไทยถิ่นใต้จังหวัดนครศรีธรรมราช สงขลา และพัทลุง |
จรรยา นวลจันทร์แสง | กัลยา | 2534 | วรรณยุกต์ภาษาไทยถิ่นอำเภอเมืองนครปฐม |
สุดา รังกุพันธุ์ | กิ่งกาญจน์ | 2535 | กริยารอง ไป และ มา ในภาษาไทย |
พุทธชาติ ธนัญชยานนท์ (เอก) | ปราณี | 2535 | การเกิดความต่างด้านความสั้นยาวของสระกลางและสระต่ำในภาษาไทย |
วิไลวรรณ รุ่งเรืองรัตน์ | ปราณี | 2535 | การเขียนชื่อเฉพาะภาษาฝรั่งเศสและภาษาอิตาเลียนเป็นภาษาไทยสมัยรัชกาลที่ 3-7 |
สุรางคนา แก้วน้ำดี | กัลยา | 2535 | การแปรของคำเรียกชื่อพืชกับความสัมพันธ์ระหว่างภาษาไทยถิ่นและ |
สุพัตรา พันธ์โสตถี | สุดาพร | 2535 | การรับรู้เสียงเสียดแทรกในเด็กไทย อายุ 6 ปี และ 8 ปี |
จารุวรรณ พุ่มพฤกษ์ (เอก) | สุดาพร | 2535 | การวิเคราะห์กลอนกลบทไทยด้วยระเบียบวิธีทางภาษาศาสตร์ |
อรทัย ธาดารัตนกุล | สุดาพร | 2535 | การศึกษาโครงสร้างและทำนองเสียงในวัจนกรรมการถามตอบแบบตอบรับ |
จิติมา มณฑาศวิน | อมรา | 2535 | ความแตกต่างทางวากยสัมพันธ์บางประการในวัจนลีลาในภาษาพูด |
ยาใจ ชูวิชา | กิ่งกาญจน์ | 2535 | ความเป็นประโยคของหน่วยสร้างกริยาเรียงในภาษาไทย |
ธนานันท์ ตรงดี (เอก) | ปราณี | 2535 | ความเป็นสากลของสัทอรรถลักษณะในภาษาไทเหนือ |
พนิดา บัวเลิศ | ปราณี | 2535 | คำประสมในภาษามลายูถิ่นปัตตานี |
วิภัสรินทร์ ประพันธศิริ(เอก) | อมรา | 2535 | คำเรียกญาติในภาษาคำเมือง การวิเคราะห์ทางอรรถศาสตร์ |
จินดารัตน์ จรัสกำจรกุล | กิ่งกาญจน์ | 2535 | เงื่อนไขทางอรรถศาสตร์ของการปรากฎ จะ ระหว่างกริยาวลี |
พจนี ศิริอักษรสาสน์ (เอก) | ธีระพันธ์ | 2535 | ที่มาและวิวัฒนาการของคำสองพยางค์ที่ขึ้นต้นด้วย กระ- และ กะ- ในภาษาไทย |
อี-มิง จาง | ปราณี | 2535 | ภาพลักษณ์ของสระในอเนกัชพยางค์ในภาษาถิ่นเต่อเป่าของภาษาจ้วงใต้ |
ปัญชนิตย์ บัณฑิตกุล | กัลยา | 2535 | วรรณยุกต์ในคำพยางค์เดียวและคำสองพยางค์ในภาษาไทยถิ่นกลาง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ |
โสภาวรรณ แสงไชย | เพียรศิริ | 2536 | กริยารอง ขึ้น และ ลง ในภาษาไทย |
ศศิธร หาญพานิช | สุดาพร | 2536 | การกระจายเชิงสถิติของหน่วยเสียงพยัญชนะ สระและวรรณยุกต์ในพยางค์ที่เป็นคำ |
จุฑารัตน์ โลห์ตระกูลวัฒน์ | อมรา | 2536 | การเปรียบเทียบการใช้คำเรียกขานในภาษาไทยกับภาษาฝรั่งเศส |
รุสลัน อุทัย | ธีระพันธ์ | 2536 | การเปรียบเทียบการสร้างคำในภาษามลายูมาตรฐานและมลายูถิ่น |
สายสมร วัฒนะสมบูรณ์ | อมรา | 2536 | การเปลี่ยนแปลงของวิเศษณานุประโยคบอกเวลาในภาษาไทย |
ศิริรัตน์ ศิริวิสูตร | กัลยา | 2536 | การแปรของพยัญชนะท้ายเสียง (L) ในคำยืมภาษาอังกฤษในภาษาไทย |
ปาลีรัฐ ทรัพย์ปรุง | อมรา | 2536 | การแปรของเสียง (h) ในภาษาถิ่นสงขลา เขตชุมชนเมืองตามปัจจัยทางสังคม |
สุธิดา พูลทรัพย์ | กัลยา | 2536 | การแปรตามวัจนลีลาของ (ร) และ (ล) ในพยัญชนะควบกล้ำในภาษาไทย |
พิกุลกานต์ รุจิราภา | อมรา | 2536 | การแสดงพระธรรมเทศนาทางวิทยุ : การศึกษาแนวชาติพันธุ์วรรณาแห่งการสื่อสาร |
ปฎิมา ปรมศิริ | กัลยา | 2536 | ความเข้มข้นของการใช้ศัพท์คำเมืองในจังหวัดเชียงใหม่ : การศึกษาการแปรตามถิ่นที่อยู่ |
มณฑิกา บริบูรณ์ | อมรา | 2536 | คำกริยากลืนความในภาษาไทยตามแนวไวยากรณ์ศัพท์การก |
ศุภมาส เอ่งฉ้วน | อมรา | 2536 | คำเรียกญาติในภาษาจีนฮกเกี้ยนในภาคใต้ของประเทศไทย |
พัชรินทร์ ดวงศรี | เพียรศิริ | 2536 | ประโยคเงื่อนไขเพื่อยืนยันในภาษาไทย |
สุธิดา สุนทรวิภาต | เพียรศิริ | 2536 | รูปภาษาที่แสดงทัศนคติในภาษาไทย |
อภิญญา พรสิบ | กัลยา | 2536 | วรรณยุกต์ภาษาไทยถิ่นเพชรบุรี |
ฐิติรัตน์ ภู่กาญจน์ (แผน ข) | สุดาพร | 2536 | |
สมสมัย มณีใส | เพียรศิริ | 2537 | การใช้คำกริยาที่อ้างถึงการรับรู้ด้วยสายตาในการสนทนาภาษาไทยของคนตาบอด |
เอดเวิร์ด เรย์มอน โรบินสัน | ธีระพันธ์ | 2537 | การแบ่งกลุ่มภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ที่เป็นกลุ่ม "ป" |
นภารัฐ ฐิติวัฒนา | อมรา | 2537 | การปนภาษาอังกฤษในภาษาไทยของอาจาร์ยต่างสาขาวิชาในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ |
บวร ฉายถวิล (แผน ข) | สุดาพร | 2537 | การแปรของการออกเสียงหน่วยเสียง /l/ ในตำแหน่งท้ายคำในภาษาอังกฤษ : การศึกษาเปรียบเทียบนิสิตปีที่ 1 คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
พัชนี มาลารักษ์ (แผน ข) | กฤษดาวรรณ | 2537 | การแปรในการออกเสียง {s} ท้ายคำภาษาอังกฤษในการอ่านข้อความของนักเรียนไทยระดับมัธยมศึกษาตอนต้น |
สุดาดวง เกิดโมฬี | อมรา | 2537 | การศึกษาการปราศรัยหาเสียงเลือกตั้งผู้แทนราษฎรตามแนวชาติพันธุ์วรรณาแห่งการสื่อสาร : กรณีศึกษาผู้สมัคพรรคพลังธรรม |
พรสวรรค์ พวงนาค (แผน ข) | สุดาพร | 2537 | ความสั้นยาวของสระในภาษาอังกฤษ : การศึกษางานของนักภาษาศาสตร์กลุ่มอังกฤษและอเมริกัน |
จันทนา ศักดานุวัฒน์วงศ์ | วิจินตน์ | 2537 | แผนที่ภาษาจังหวัดปราจีนบุรีและสระแก้ว |
ปรัชญา อาภากุล | วิจินตน์ | 2537 | แผนที่ภาษาจังหวัดปัตตานีและนราธิวาส |
ลัดดาวัลย์ ชัยสกุลสุรินทร์ | กัลยา | 2537 | ภูมิศาสตร์ภาษาจังหวัดลพบุรี : การศึกษาศัพท์และเสียงปฏิภาคชุด ช-จ-ซ |
สุนทรี คันธรรมพันธ์ (แผน ข) | สุดาพร | 2537 | ลักษณะการสะกดผิดในผู้ใหญ่ไทยวัย 18-20 ปี |
นิตยา เอี่ยมขำ (แผน ข) | กฤษดาวรรณ | 2537 | ลักษณะคำถามในศาลไทย : การศึกษาตามแนววัจนปฏิบัติศาสตร์ |
จรัสดาว อินทรทัศน์ (เอก) รศ.ดร. | อมรา | 2538 | กระบวนกลายเป็นคำบุพบทของคำกริยาในภาษาไทย |
จันทนา สิริจันทนางกูล (แผน ข) | กฤษดาวรรณ | 2538 | กลวิธีการใช้ภาษาสุภาพในการตอบรับคำชม |
สมจินต์ เชี่ยวชาญ(แผน ข) | อมรา | 2538 | การใช้คำทักทายในภาษาไทยกรุงเทพฯ ปัจจุบัน |
นารีรัตน์ บุญช่วย (แผน ข) | สุดาพร | 2538 | การนำเสนอความตลก |
ศรัญธร นิ่มไพบูลย์ | สุดาพร | 2538 | การแปรของการออกเสียงพยัญชนะท้าย |
รสสุคนธ์ แข็งแรง (แผน ข) | อมรา | 2538 | การแปรของ ร และ ล ในภาษาไทยตามกลุ่มชาติพันธุ์และเพศ |
ชัชวดี ศรลัมพ์ (เอก) | กิ่งกาญจน์ | 2538 | การศึกษามโนทัศน์ของคำว่า เข้า |
มลุลี พรโชคชัย | กิ่งกาญจน์ | 2538 | การศึกษาวัจนลีลาของประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ไทย |
อาภาภรณ์ อักษรกาญจน์ | เพียรศิริ | 2538 | ความต่อเนื่องของแก่นความในทัศนปริจเฉท |
ปัทมา ภาสบุตร (แผน ข) | สุดาพร | 2538 | ความเบี่ยงเบนในการสะกดคำภาษาไทย |
บวรศรี มณีพงษ์ (แผน ข) | อมรา | 2538 | คำยืมภาษาอังกฤษในภาษาไทยและในภาษาญี่ปุ่น |
กมลวดี ศิริกาญจนพงศ์ | สุดาพร | 2538 | ดัชนีปริจเฉทในบทสนทนาแบบกันเองของผู้พูดภาษาไทยชัยภูมิ |
ดารณี กฤษณะพันธุ์ (เอก) | กัลยา | 2538 | แนวการศึกษาวรรณยุกต์จากคำพูดต่อเนื่อง กรณีศึกษาภาษาไทยถิ่นเพชรบุรี |
กรองกาญจน์ ขาวหนู | สุดาพร | 2538 | ภาษาที่ใช้พูดกับทารกในภาษาไทย |
ทัศนีย์ บุญเจือ (แผน ข) | สุดาพร | 2538 | ลักษณะการใช้ภาษาในนวนิยายจีนกำลังภายในที่แปลเป็นภาษาไทย |
อุมาพร ศรีรักษา | สุดาพร | 2538 | ลักษณะทางกลสัทศาสตร์ที่บ่งชี้รอยต่อพยางค์ในคำพูดต่อเนื่องในภาษาไทย |
ฌัลลิกา มหาพูนทอง | กัลยา | 2539 | การกำหนดแนวแบ่งเขตภาษาไทยถิ่นใต้ตะวันออกกับภาษาไทยถิ่นใต้ตะวันตก โดยใช้พยางค์ที่มีสระเสียงยาวกับพยัญชนะท้าย |
โสมพิทยา คงตระกูล | อมรา | 2539 | การจำแนกความต่างตามเพศในการใช้สรรพนามบุรุษที่ 1 และคำลงท้ายบอกความสุภาพของนิสิตอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
คิโยโกะ ทากาฮาชิ | กิ่งกาญจน์ | 2539 | การปฎิเสธในหน่วยสร้างกริยาเรียงพื้นฐานในภาษาไทย |
ประภารัตน์ พรหมปภากร (เอก) | อมรา | 2539 | การแปรและการเปลี่ยนแปลงของคุณานุประโยคในภาษาไทยสมัยรัตนโกสินทร์ |
สิทธิชัย สาเอี่ยม (เอก) | กฤษดาวรรณ | 2539 | การพรรณนาสถานที่และการบ่งชี้สถานที่ในภาษาอึมปี |
มล. จรัลวิไล จรูญโรจน์ | อมรา | 2539 | ความสัมพันธ์ระหว่างลิงค์และเพศในโลกทัศน์ของผู้พูดภาษาฮินดีและเยอรมัน |
เปรมินทร์ คาระวี (เอก) | ธีระพันธ์ | 2539 | คำยืมภาษาเขมรในภาษาไทยถิ่นใต้ |
นันทริยา ลำเจียกเทศ (เอก) | ปราณี | 2539 | คำไวยากรณ์ที่กลายมาจากคำนามเรียกอวัยวะและส่วนของพืชในภาษาไทยลานนา |
ศรัณยา รัตนเลขา (แผน ข) | เพียรศิริ | 2539 | ดัชนีปริจเฉทที่เป็นลักษณะเฉพาะของภาษาไทยนครศรีธรรมราช |
ปัทมา วสวานนท์ | เพียรศิริ | 2539 | ดัชนีปริจเฉท "นะ" ในบทสนทนาแบบกันเองในภาษาไทยกรุงเทพฯ |
วัชรพล บุพนิมิตร | เพียรศิริ | 2539 | ดัชนีปริจเฉทในบทสนทนาแบบกันเองของผู้พูดภาษาไทยกรุงเทพฯ |
ศิริกุล กิติธรากุล | อมรา | 2539 | ดัชนีปริจเฉทในบทสนทนาแบบกันเองของผู้พูดภาษาไทยกรุงเทพฯ |
จตุพร กลั่นเรืองแสง | เพียรศิริ | 2539 | ดัชนีปริจเฉทในบทสนทนาแบบกันเองของผู้พูดภาษาไทยชัยภูมิ |
จิตติมา จารยะพันธุ์ | เพียรศิริ | 2539 | อุปลักษณ์สงครามในข่าวกีฬาในหนังสือพิมพ์ภาษาไทย |
ศรวณีย์ สรรคบุรารักษ์ | อมรา | 2540 | การใช้คำลักษณนามในภาษาไทยมาตรฐานปัจจุบันของผู้พูดต่างวัย |
ศุภฤกษ์ หอมแก้ว | กัลยา | 2540 | การแปรของ (E) ในภาษาไทยถิ่นนครศรีธรรมราช ตามตัวแปรอายุและทัศนคติต่อภาษา |
ปรัศนียา จารุสันต์ | สุดาพร | 2540 | การรับรู้และการออกเสียงหนักเบาในคำภาษาอังกฤษของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ของมหาวิทยาลัยรังสิต |
สุธาสินี สิทธิเกษร | สุดาพร | 2540 | บทบาทของประโยคคำถามในมาตุภาษาไทย : การศึกษาเชิงพัฒนาการต่อเนื่อง |
เกรียงไกร วัฒนาสวัสดิ์ | ธีระพันธ์ | 2540 | ลักษณะทางกลสัทศาสตร์ของวรรณยุกต์ในพยางค์เสียงหนักและพยางค์เสียงเบาในภาษาเวียดนาม |
ชญาดา ธนวิสุทธิ์ (เอก) | สุดาพร | 2540 | ลักษณะทางสัทศาสตร์และวัจนปฎิบัติศาสตร์ของภาษาที่แม่พูดกับลูกในภาษาไทย |
สมฤดี เดชอมร | กฤษดาวรรณ | 2540 | หน้าที่ทางปริจเฉทของอนุภาค "LE" ในภาษาม้งเขียว |
นภาพร เอี่ยมใย | กิ่งกาญจน์ | 2540 | อนุภาษาของภาษาไทยที่ใช้ในวงการหลักทรัพย์ |
พิสันธนีย์ บูลภักดิ์ (แผน ข) | สุดาพร | 2540 | |
พนอเนื่อง สุทัศน์ ณ อยุธยา | สุดาพร | 2541 | การนึกรู้คำของผู้มีประสบการณ์ทางภาษาต่างกัน : การศึกษาเชิงทดลองโดยใช้การทดสอบแบบสตรูป |
สุวรรณา ประดับวัฒนางกูร | ปราณี | 2541 | การปฏิเสธความในภาษามือไทยของโรงเรียนเศรษฐเสถียร |
สามิตต์ ทรัพย์ผุด | ธีระพันธ์ | 2541 | การศึกษาเปรียบเทียบภาษาส่วย-ไทย ส่วย-ลาว และส่วย-กัมพูชา |
ทัศนีย์ เมฆถาวรวัฒนา | กฤษดาวรรณ | 2541 | การแสดงวัจนกรรมการขอโทษของสังคมไทย |
เพชรรัตน์ มณฑา | สุดาพร | 2541 | ข้อผิดของการใช้รูปวรรณยุกต์ในการเรียนของผู้ป่วย |
จิรประภา วุฑฒยากร | ปราณี | 2541 | คำถามแบบตอบรับ-ปฏิเสธในภาษามือไทยของโรงเรียนเศรษฐเสถียร |
ศตนันต์ เชื้อมหาวัน | ธีระพันธ์ | 2541 | คำเรียกสีและการรับรู้สีของผู้พูดภาษาไทยลื้อ ลัวะ ม้ง และกะเหรี่ยง |
ยศวีร์ เอี่ยมทวีเจริญ | ธีระพันธ์ | 2541 | จังหวะในการพูดของเด็กไทย |
อรวดี รุกขรังสฤษฎ์ | สุดาพร | 2541 | ลักษณะร่วมทางสัทศาสตร์ของคำลงท้ายในภาษาไทย |
สินี วณิชชานนท์ | กฤษดาวรรณ | 2541 | วัจนกรรมการสัญญาของเด็กไทย : การศึกษาเชิงอภิวัจนวฏิบัติศาสตร์ |
วิชญดา ทองแดง | ปราณี | 2541 | Four-syllable words in Taimau |
ศุภธิดา เทียมสมบูรณ์ | เพียรศิริ | 2542 | กลไกทางภาษาในการตอบคำถามของนักการเมืองไทยในการให้สัมภาษณ์สื่อมวลชน |
ประภา ภิรมย์ | อมรา | 2542 | การแก้ไขเกินเหตุของ ลในภาษาไทยกรุงเทพฯ |
นัฎยา บุญกองแสน | อมรา | 2542 | การปนภาษาอังกฤษในภาษาไทยของนักจัดรายการวิทยุเพลงไทยสากลในเขตกรุงเทพฯ |
รัชนี มโนอิ่ม | กัลยา | 2542 | การแปรในการออกเสียงควบกล้ำท้ายคำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่มีสัมฤทธิ์ผลทางการเรียนภาษาอังกฤษต่างกัน |
วิเชียร สุนิธรรม | กิ่งกาญจน์ | 2542 | การเลือกใช้กรอบอ้างอิงเชิงปริภูมิของผู้พูดภาษาไทยและภาษาญี่ปุ่นเพศหญิงและเพศชาย |
จารุภัทร สุจิณโณ (แผน ข) | สุดาพร | 2542 | การสะกดคำผิดของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ของโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
จิตราวดี สิงหนิยม | สุดาพร | 2542 | ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้เสียงพยัญชนะกักในภาษาไทยกับระดับความก้องในการเปล่งเสียงพยัญชนะกักในภาษาอังกฤษของผู้พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ |
เสาวลักษณ์ เมืองแมน | สุดาพร | 2542 | ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกลส้ทศาสตร์ของการหยุดกับการจัดผลัดในการสนทนาในภาษาไทย |
รุจิรา สุวรรณน้อย | เพียรศิริ | 2542 | ดัชนีปริจเฉทในบทสนทนาแบบกันเองในภาษาไทยนครศรีธรรมราช |
ธนพรรษ สายหรุ่น | กฤษดาวรรณ | 2542 | ผลของการใช้มุมมองทางอรรถศาสตร์ประชานต่อการเข้าใจความหมายของวลีกริยา |
สาคร เรือนไกล | ธีระพันธ์ | 2542 | ระบบการเขียนภาษาคะฉิ่นโดยใช้อักษรไทย |
วีรชัย อำพรไพบูลย์ | อมรา | 2542 | ลักษณะการปนภาษาระหว่างภาษาไทยกรุงเทพฯและรหัสที่สร้างขึ้นเฉพาะกลุ่มของคนตาบอดที่พูดภาษาไทยกรุงเทพฯ |
วรินธร จารุโชติธนาวัฒน์ | กิ่งกาญจน์ | 2542 | ศึกษาไวยากรณ์ของประโยคพื้นฐานในภาษามือไทย |
วิภาส โพธิแพทย์ | กิ่งกาญจน์ | 2542 | หน่วยสร้างการีตแบบวิเคราะห์ในภาษาไทย |
ตามใจ อวิรุทธิโยธิน | ธีระพันธ์ | 2546 | กลไกและรูปแบบของการผวนคำในภาษาไทยถิ่นกรุงเทพฯ ภาษไทยถิ่นเหนือ ภาษาไทยถิ่นอีสาน และภาษาไทยถิ่นใต้ |
พิณรัตน์ อัครวัฒนากุล(เอก) | ธีระพันธ์ | 2546 | การเปลี่ยนแปลงของวรรณยุกต์ : กรณีศึกษาภาษากลุ่มลาว |
กุลพร โพธิศรีเรือง | สุดา | 2546 | การศึกษาบทบาทของปริบทในการตีความเจตนาของรูปประโยคคำถามภาษาไทย |
อรวรรณ หวังสมบัติ | สุดา | 2546 | หน่วยสร้างกริยาสภาวะจิตซึ่งมี "ที่" เป็นตัวนำส่วนเติมเต็มในภาษาไทย |
สิงหชาติ ไตรจิตต์ | อมรา | 2548 | กฎการกล่าวขอบคุณในสังคมไทย: การศึกษาตามแนวภาษาศาสตร์สังคม |
อัครพล เอกวงศ์อนันต์ | วิโรจน์ | 2548 | การระบุคำไทยและคำทับศัพท์ด้วยแบบจำลองเอ็นแกรม |
หนึ่งหทัย แรงผลสัมฤทธิ์ (เอก) | กิ่งกาญจน์ | 2548 | การีตหน่วยคำและการีตกลุ่มคำในภาษาสเปน การศึกาาทางวากยสัมพันธ์และอรรถศาสตร์ |
อมรสิริ บุญญสิทธิ์ | กฤษดาวรรณ | 2548 | คำชมและการตอบคำชมในภาษาไทยที่ใช้โดยเพศชาย เพศหญิง และเพศชายที่มีจิตใจเป็นหญิง |
คเชนทร์ ตัญศิริ | กิ่งกาญจน์ | 2548 | ปฏิสัมพันธ์ระหว่างการณ์ลักษณะทางไวยกรณ์กับการร์ลักษณะประจำคำ:กรณีศึกษาโครงสร้างอกรรมแบบสลับในภาษาไทย |
ผณินทรา ธีรานนท์(เอก) | ธีระพันธ์ | 2548 | พฤติกรรมค่าความถี่มูลฐานของเสียงสระอันเนื่องมาจากอิทธิพลของบริบททางเสียงในภาษากลุ่มว้าอิก: นัยสำคัญต่อทฤษฎีกำเนิดวรรณยุกต์ |
สุนิสา กิติวงษ์ประทีป | กัลยา | 2548 | วรรณยุกต์ภาษาไทยถิ่นใต้เกาะสมุย: การแปรตามอายุและถิ่นที่อยู่ของผุ้พูด |
รุ่งทิพย์ รัตนภานุศร (เอก) | กิ่งกาญจน์ | 2549 | การขยายความหมายของคำกริยาแสดงการรับรู้ด้วยตาในภาษาไทย |
สุนทรัตร์ แสงงาม | กัลยา | 2549 | การแปรของคำศัพท์และวรรณยุกต์ตามกลุ่มอายุและทัศนคติต่อภาษาในภาษาโซ่ง (ไทดำ) ที่พูดในอำเภอเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี |
รพีพร สิทธิ | กัลยา | 2549 | การแปรของคำศัพท์และวรรณยุกต์ในภาษาไทยถิ่นโคราชตามรุ่นอายุและความสะดวกของคมนาคม |
ธเนศ เรืองรจิตรปกรณ์ | วิโรจน์ | 2549 | การแปลภาษาด้วยเครื่องแบบอิงตัวอย่าง: กรณีศึกษาการแปลข่าวตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยจากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ |
สุฤดี ฉัตรไตรมงคล | วิโรจน์ | 2549 | การรู้จำและการจำแนกประเภทของชื่อเฉพาะภาษาไทย |
กาญจนา เจริญเกียรติบวร(เอก) กานดาภร | กฤษดาวรรณ | 2549 | การวิเคราะห์วาทกรรมเรื่องตลกภาษาไทย |
ปนันดา เลอเลิศยุติธรรม(เอก) | กฤษดาวรรณ | 2549 | การศึกษาความสุภาพในการขอร้องและการปฏิเสธในการติดต่อธุรกิจทางจดหมายในภาษาไทยตามแนววัจนปฏิบัติศาสตร์ |
ปิยลักษณ์ อุปนิสากร | อมรา | 2549 | การศึกษาชื่อท่ามวยไทยตามแนวอรรถศาสตร์ชาติพันธุ์ |
จันทิมา เอียมานนท์ (เอก) | กฤษดาวรรณ | 2549 | การศึกษาวาทกรรมเกี่ยวกับผุ้ติดเชื้อเอดส์ในสังคมไทยตามแนวปฎิพันธวิเคราะห์ |
ณิศณัชชา เหล่าตระกูล | อมรา | 2549 | การศึกษาสถานการณ์สื่อสารการสืบพยานคดีอาญาในศาลไทยตามแนวชาติพันธุ์วรรณนาแห่งการสื่อสาร |
รัชนินท์ พงศ์อุดม | กฤษดาวรรณ | 2549 | ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับค่านิยมเกี่ยวกับความงาม:การศึกษาวาทกรรมโฆษณาเครื่องสำอางในภาษาไทย |
เรืองสุข คงทอง | กัลยา | 2549 | แนวแบ่งเขตระหว่างภาษาไทยถิ่นกลาง ภาษาไทยถิ่นใต้ และภาษาผสมไทยถิ่นกลาง-ไทยถิ่นใต้:การแปรของวรรณยุกต์ตามกลุ่มอายุ |
อรุณี อรุณเรือง(เอก) | สุดาพร | 2549 | ผลของการใช้แนวทางการเรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศแบบใช้คำศัพท์เป็นหลักต่อความสามารถในการใช้ภาษาทั่วไปและความสามารถ |
สุมนมาศ ปุโรทกานนท์ (ทัดพิทักษ์กุล) | ธีระพันธ์ | 2549 | ลักษณะทางกลสัทศาสตร์ของสระเดี่ยวในพยางค์ลดรูปที่ปรากฏในหน่วยจังหวะประเภท 2 พยางค์ และ 3 พยางค์ในภาษาไทยกรุงเทพฯ |
จิรัชย์ หิรัญรัศ | กิ่งกาญจน์ | 2550 | การศึกษาความหมายของคำว่า 'เอา' ในภาษาไทย |
สุธาทิพย์ เหมือนใจ | กิ่งกาญจน์ | 2550 | การศึกษาความหมายประจำคำและความหมายทางไวยากรณ์ของคำว่า cho 'ให้' ในภาษาเวียดนาม |
สุดธิดา ศรีจันทร์ | ธีระพันธ์ | 2551 | การเปรียบเทียบลักษณะทางกลสัทศาสตร์ของเสียงสระในภาษาไทยถิ่นปัตตานีและภาษาไทยถิ่นกรุงเทพ |
พิมพ์ระวี เรืองวัฒกี | อมรา | 2551 | การแปรทางสังคมของพยัญชนะควบกล้ำ(kw) และ (khw) ในภาษาไทยถิ่นตำบลบ้านแพรก อำเภอบ้านแพรก จังหวัดพระนครศรีอยุธยา |
ชาฎินี มณีนาวาชัย (เอก) | ธีราภรณ์ | 2551 | การศึกษาสมมูลภาพในการแปลคำกริยา "ไป' และ "มา' ในภาษาไทยเป็นภาษาเยอรมันในงานวรรณกรรมนวนิยายแปล |
วรวรรณา เพ็ชรกิจ (เอก) | กฤษดาวรรณ | 2551 | การศึกษาอุปลักษณ์เกี่ยวกับโรคมะเร็งในภาษาไทยตามแนวปริชานศาสตร์และวัจนปฏิบัติศาสตร์ |
ปริศนา อัครพุทธิพร | วิโรจน์ | 2551 | การสร้างเครือข่ายคำไทยของมโนทัศน์พื้นฐานร่วมของเอนทิตีลำดับที่สองด้วยวิธีการแปลสองทาง: การศึกษาปัจจัยความหลากหลายของความหมายที่มีต่อ |
ธนนท์ หลีน้อย | วิโรจน์ | 2551 | การสร้างเครือข่ายคำไทยของมโนทัศน์พื้นฐานร่วมของเอนทิตีลำดับที่หนึ่งด้วยวิธีการแปลสองทางและการใช้พจนานุกรมที่สร้างด้วยวิธีการแตกต่างกัน |
ชุติชล เอมดิษฐ | อมรา | 2551 | ความสัมพันธ์ระหว่างระบบคำกริยา 'ตี' กับระบบปริชานของผู้พูดภาษาไทยและผู้พูดภาษาขมุ: การทดสอบสมมติฐานวอร์ฟ |
นัทธ์ชนัน เยาวพัฒน์(เอก) | อมรา | 2551 | พัฒนาการของพหุหน้าที่ของคำว่า 'ซึ่ง" ในภาษาไทย |
กิตติชัย พินโน | กิ่งกาญจน์ | 2551 | หน้าที่ของคำ "DE" ในหนังสือพิมพ์ภาษาจีนที่ตีพิมพ์ในประเทศไทย |
ปริญญา วงษ์ตะวัน | กิ่งกาญจน์ | 2552 | กระบวนการกลายเป็นอัตวิสัยของคำกริยา "เห็น" ในภาษาไทย |
ปาริดา สุขประเสริฐ | กฤาดาวรรณ | 2552 | กลวิธีและโครงสร้างปริจเฉทของการให้คำแนะนำในภาษาไทย |
โกสินทร์ ปัญญาอธิสิน | อมรา | 2552 | การศึกษาคำเรียกการทำอาหารในภาษาไทยถิ่นเหนือตามแนวอรรถศาสตร์ชาติพันธุ์ |
ดิศราพร สร้อยญาณะ | กัลยา | 2552 | การศึกษาวรรณยุกต์ภาษายองเชิงกลสัทศาสตร์: การเรปรียบเทียบในบริบทคำพูดเดี่ยวกับคำพูดต่อเนื่องและระหว่างสองรุ่นอายุ |
อนงค์นาฏ นุศาสตร์เลิศ | อมรา | 2552 | ความสัมพันธ์ระหว่างระบบคำกริยา ''ใส่' กับระบบปริชานของผู้พูดภาษาไทยและภาษาญี่ปุ่น: การทดสอบสมมติฐานวอร์ฟ |
ยูทากะ โทมิโอกะ | อมรา | 2552 | ทัศนคติต่อภาษาและการเลือกภาษาของผู้พูดภาษาไทยถิ่นอีสานที่มีอายุต่างกัน |
นฤดล จันทร์จารุ | กิ่งกาญจน์ | 2552 | พหุหน้าที่ของคำว่า "ต้อง" ในภาษาไทย: การศึษาเชิงภาษาศาสตร์ปริชาน |
สุธาสินี ปิยพสุนทรา (เอก) | ธีราภรณ์ | 2552 | พัฒนาการของความซับซ้อนทางวากยสัมพันธ์และการผสานกันทางไวยากรณ์ในเรื่องเล่าของเด็กไทย |
สุวดี นาสวัสดิ์ | กิ่งกาญจน์ | 2552 | ระบบการให้เกียรติที่สะท้อนจากคำขึ้นต้น คำสรรพนามบุรุษที่ 1 และ 2 คำลงท้ายและคำรับในราชาศัพท์ไทย |
ธนภัทร สินธวาชีวะ | ธีระพันธ์ | 2552 | วรรณยุกต์ภาษาไทยกรุงเทพฯที่อกกเสียงโดยคนญี่ปุ่น: การศึกษาทางกลสัทศาสตร์และการรับรู้ |
ณัฐพงษ์ วงษ์อำไพ | ธีระพันธ์ | 2552 | วรรณยุกต์ภาษาไทยกรุงเทพฯที่ออกเสียงโดยเด็กอายุ6-7 ปี ซึ่งพูดภาษามลายูถิ่นปัตตานีเป็นภาษาแม่: การศึกษาทางกลสัทศาสตร์และการรับรู้ |
ปนีตา นิตยาพร(เอก) | วิโรจน์ | 2552 | ไวยากรณ์อ้างอิงของภาษาโทรวิทยุในการสื่อสารระหว่างนักบินและหอบังคับการบิน |
ชมนาด อินทรจามรรักษ์ (เอก) | ธีระพันธ์ | 2552 | เส้นทางสู่การเป็นภาษาวรรณยุกต์ของภาษามัล-ไปรที่พูดในจังหวัดน่าน |
ณัฐชนัญ พุทธิปทีป | กิ่งกาญจน์ | 2552 | หน่วยสร้างประธานรับการกระทำในภาษาจีนกลาง |
รัฐพล ทองแตง | กิ่งกาญจน์ | 2552 | หน่วยสร้างประธานรับการกระทำในภาษาไทย |
ฑีฆายุ เจียนจวนขาว | ธีระพันธ์ | 2553 | การปรับเปลี่ยนทางเสียงของคำยืมทับศัพท์ภาษาบาลีและสันสกฤตในภาษามอญ |
นัชชา ถิระสาโรช | วิโรจน์ | 2553 | การรุ้จำชื่อเฉพาะภาษาไทย:การใช้แบบจำลองคอนดิชันนอลแรนดอมฟิลด์ส |
ศศิวิมล กาลันสีมา | วิโรจน์ | 2553 | การรู้จำชื่อเฉพาะภาษาไทย: การศึกษาชื่อบุคคล สถานที่ และองค์กร |
ณัฐดาพร เลิศชีวะ | วิโรจน์ | 2553 | การรู้จำชื่อเฉพาะภาษาไทย: การศึกษาชื่อผลิตภัณฑ์ในข่าวเศรษฐกิจ |
ตามใจ อวิรุทธิโยธิน(เอก) | ธีระพันธ์ | 2553 | การศึกษาลักษณะทางกลสัทศาสตร์ของพยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ ในภาษาไทยมาตรฐานสำเนียงใต้ โดยเปรียบเทียบกับภาษาไทยมาตรฐานและ |
ณัฐพล พึ่งน้อย | ธีระพันธ์ | 2553 | การศึกษาลักษณะทางกลสัทศาสตร์ของพยางค์ที่ได้รับการลงเสียงหนักและพยางค์ที่ไม่ได้รับการลงเสียงหนักในภาษามลายูถิ่นปัตตานีและภาษาอูรักลาโวยอ์ |
โสรัจ เรืองมณี(เอก) | กิ่งกาญจน์ | 2553 | ความหมายของคำว่า 'ได้' ในภาษาเวียดนาม:การศึกษาตามแนวภาษาศาสตร์ปริชาน |
อภิญญา สร้อยธุหร่ำ(เอก) | กิ่งกาญจน์ | 2553 | พหุหน้าที่ของคำว่า "จะ" ในภาษาไทย |
สุกัญญา สุวิทยะรัตน์(เอก) | กิ่งกาญจน์ | 2553 | ภาษาในกฎหมายลักษณะอาญากับประมวลกฎหมายอาญา:การศึกษาเชิงเปรียบเทียบต่างสมัย |
ศศิธร นวเลิศปรีชา | อมรา | 2553 | ระบบคำเรียกญาติภาษาส่วย (กูย-กวย) ของผู้พูดที่มีอายุต่างกันในจังหวัดศรีสะเกษ |
ฉัตรียา ชูรัตน์ | ธีระพันธ์ | 2553 | รูปแบบระดับเสียงซึ่งได้รับอิทธิพลจากคุณสมบัติน้ำเสียงของพยัญชนะและสระในภาษาญัฮกุร(ขาวบน) |
เพ็ญนภา คล้ายสิงห์โต(เอก) | วิโรจน์ | 2553 | อุดมการณ์ทางเพศสภาพในพาดหัวข่าวอาชญากรรมในหนังสือพิมพ์ไทย:การวิเคราะห์วาทกรรมเชิงวิพากษ์ |
สุวิชา ถาวร | สุดาพร | 2554 | การตีความความกำกวมทางวากยสัมพันธ์ในประโยคภาษาอังกฤษโดยนักเรียน ไทยที่มีประสบการณ์ทางภาษาอังกฤษสูงและต่ำ |
พิมพพ์ชนา พาณิชย์กุล | อมรา | 2554 | การเลือกภาษาและการธำรงภาษาของคนไทยเชื้อสายมอญบางขันหมาก จังหวัดลพบุรี |
ทัศนีย์ เมฆถาวรวัฒนา (เอก) | อมรา | 2554 | การวิเคราะห์ความหมายแบบครอบคลุมของคำสำคัญทางวัฒนธรรม 'ไม่เป็นไร" 'เกรงใจ' และ 'ขอโทษ' ในภาษาไทยตามแนวทฤษฎีอภิภาษาเชิงอรรถศาสตร์ธรรมชาติ |
พิมลพรรณ์ วงศ์อร่าม | สุดาพร | 2554 | การศึกษาเปรียบเทียบกลวิธีและข้อผิดของนักเรียนไทยที่มีประสบการณ์ภาษาอังกฤษต่างระดับกันในการสร้างคำภาษาอังกฤษที่มีความหมายภาษาไทย |
จุฑาภรณ์ พูลเพิ่ม | อมรา | 2554 | ความใกล้ชิดชุมชนกับการออกเสียง (ħ ) ของผู้พูดภาษาไทยถิ่นใต้พลัดถิ่นที่หมู่บ้านบางบัวทอง ตำบลบางรักพัฒนา อำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี |
เกศรา ตาลอิสาร | สุดาพร | 2554 | ความสัมพันธ์ระหว่างประสบการณ์ภาษาอังกฤษกับความสามารถในการระบุคำภาษาอังกฤษที่มีกรกร่อนเสียงของสระโดยนักเรียนไทย |
นรินธร สมบัตินันท์ แบร์ (เอก) | ธีระพันธ์ | 2555 | การเปรียบเทียบความเปลี่ยนแปลงของระบบสระและลักษณะทางกลสัทศาสตร์ของสระในภาษามอญไทยและมอญพม่า: แนวโน้มการกลายเป็นภาษาต่างแบบ |
ดำรงค์ นันทผาสุข | กัลยา | 2555 | การแปรของคำเรียกญาติและ (aoc) ในภาษาไทดำบ้านสะแกราย อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ตามอายุและทัศนคติต่อภาษา |
ชลิดา งามวิโรจน์กิจ | สุดาพร | 2555 | การศึกษาความรู้อภิภาษาศาสตร์ของการเว้นวรรคในการเขียนภาษาไทยของผู้เรียนชาวญี่ปุ่น |
ญาณินท์ สวนะคุณานนท์(เอก) | ธีระพันธ์ | 2555 | ค่าระยะเวลาของเสียงเรียงในภาษาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้: นัยสำคัญต่อการจัดกลุ่มตามแนวแบบลักษณ์ภาษา |
นายฟรองซัว ลองเซลล่า | กิ่งกาญจน์ | 2555 | โครงสร้างนามวลีในภาษาจ้วงถิ่นเทียนเติ่ง |
ธัญวิทย์ ศรีจันทร์ | พิทยาวัฒน์ | 2555 | รูปแบบคำศัพท์ในภาษาไทยที่เป็นปฏิภาคกับกระบวนการสร้างคำในภาษาเขมร : การศึกษาข้ามสมัย |
ศิวพร ทวนไธสง | วิโรจน์ | 2556 | การตรวจเทียบภายในเพื่อหาการลักลอกงานวิชาการภาษาไทยโดยใช้แบบจำลองซัพพอร์ตเวกเตอร์แมชชีน |
สุวรรณรัตน์ ราชรักษ์ | อมรา | 2556 | การแปรของสระสูงยาว((i:, ɨ:, u:) ในภาษาไทยถิ่นนครศรีธรรมราชตามตัวแปร อายุ เพศ และวัจนลีลา |
ศิริรัตน์ ชูพันธ์ อรรถพลพิพัฒน์(เอก) | อมรา | 2556 | การแปรของเสียงพยัญชนะท้ายในภาษากะเหรี่ยงสะกอและภาษามลายูถิ่นปัตตานี: การเปลี่ยนแปลงที่กำลังดำเนินอยู่อันเนื่องมาจากการสัมผัสภาษา |
นลินี อินต๊ะซาว | วิโรจน์ | 2556 | การแยกอนุพากย์ภาษาไทยด้วยการใช้แบบจำลองซัพพอร์ตเวกเตอร์แมชชีน |
วริสรา จันทรัฐ | อมรา | 2556 | ความสัมพันธ์ระหว่างระบบเกียรติยศในภาษากับระบบปริชานของผู้พูดภาษาญี่ปุ่น ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ |
สิริอมร หวลหอม | อมรา | 2556 | คำเรียกขานในภาษาไทพวนตำบลหาดเสี้ยว อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย |
มนสิการ เฮงสุวรรณ (เอก) | อมรา | 2557 | การศึกษาระบบคำเรียกผีและมโนทัศน์เรื่องผีในภาษาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตามแนวอรรถศาสตร์ชาติพันธุ์ |
วิลาสินี ดาราฉาย (เอก) | อมรา | 2557 | การสลับภาษาไทยกับภาษาจีนแต้จิ๋วของคนไทยเชื้อสายจีนในชุมชนเยาวราช |
อลิษา อินจันทร์ | กิ่งกาญจน์ | 2557 | คำประสมแบบเท่าเทียมในภาษาไทย |
สุริยะ ศรีพรหม (เอก) | ธีราภรณ์ | 2557 | พัฒนาการของความสัมพันธ์ระหว่างรูปกาลและความหมายทางกาลและการณ์ลักษณะในภาษาอังกฤษของผู้เรียนชาวไทยในการถ่ายทอดเหตุการณ์ในอดีต |
จินต์ชุตา ศาสตร์สมัย | ธีระพันธ์ | 2557 | วรรณยุกต์ภาษาจีนฮากกาถิ่นเฟิงซุ่นนของผู้พูดทวิภาษาจีนฮากกา-ไทยถิ่น |
วิชญะ ศรีพิพัฒนกุล | ธีระพันธ์ | 2557 | วรรณยุกต์ภาษาไทยอีสาน จังหวัดศรีสะเกษ ใน 5 ชุมชนภาษา |
มนต์ชัย เดชะพิพัฒน์สกุล(เอก) | พิทยาวัฒน์ | 2557 | หน่วยทางสัทสัมพันธ์ในภาษาไทย:การทาบเทียบระหว่างวากยสัมพันธ์และสัทสัมพันธ์และความแข็งแกร่งของขอบเขต |
นิดา จำปาทิพย์(เอก) | พิทยาวัฒน์ | 2557 | หัฒนาการของคำปฏิเสธ "บ่" "มิ" "ไป่" "ไม่" ในภาษาไทย |
ตุลยา นครจินดา | ธีราภรณ์ | 2557 | อิทธิพลของปริบทที่มีผลต่อการประมวลผลความหมายรองของคำพ้องในภาษาไทย |
กานต์ธิดา เกิดผล (เอก) | ธีระพันธ์ | 2558 | คุณสมบัตินาสิกในภาษากลุ่มกะเหรี่ยง: การศึกษาทางกลสัทศาสตร์ |
ภัทริณี สุขสุอรรถ | ธีระพันธ์ | 2558 | ระบบเสียงและคำศัพท์ในภาษาที่พูดโดยคนเชื้อสายบ้าบ๋าในจังหวัดภูเก็ตและภาษามลายูบ้าบ๋า: การเปรียบเทียบแนวร่วมสมัย |
ศุจิณัฐ จิตวิริยนนท์ (เอก) | ธีระพันธ์ | 2558 | วรรณยุกต์ในคำพูดเดี่ยวและอิทธิพลของวรรณยุกต์ที่มีต่อกันในคำพูดต่อเนื่องภาษาปะโอ |
พลวัฒน์ ไหลมนู | วิโรจน์ | 2559 | การตรวจแก้การสะกดผิดแบบเป็นคำจริงในภาษาไทยโดยใช้แบบจำลองไตรแกรม |
ปริญญา วงษ์ตะวัน(เอก) | กิ่งกาญจน์ | 2559 | การบ่งชี้แหล่งที่มาของข้อมูลที่แสดงผ่านอายตนกริยาในภาษาไทย |
ฌัลลิกา มหาพูนทอง (เอก) | ธีระพันธ์ | 2559 | การแปรของศัพท์และเสียงในภาษาไทยถิ่นภูเก็ตตามอายุ: การแสดงนัยของการสัมผัสภาษาถิ่น |
วีรชัย อำพรไพบูลย์(เอก) | วิโรจน์ | 2559 | การพัฒนาระบบการถ่ายถอดอักษรสำหรับตัวบทเบรลล์ไทยปนอังกฤษเป็นอักษรไทยและอังกฤษปกติโดยใช้วิธีการแบบผสม |
นัชชา ถิระสาโรช (เอก) | วิโรจน์ | 2559 | การศึกษาการแยกนัยความหมายของคำในภาษาไทยโดยใช้วิธีการวิเคราะห์ความหมายแอบแฝง |
ชาฏินี มณีนาวาชัย(เอก) | กิ่งกาญจน์ | 2559 | ความเป็นอัตวิสัยของคำกริยาแสดงการเคลื่อนที่ “ไป” และ “มา” ในภาษาไทย |
ดุลยวิทย์ นาคนาวา(เอก) | พิทยาวัฒน์ | 2559 | ความสัมพันธ์ด้านความแปลกเด่นของมัศดัรโครงคำและมัศดัรกลุ่มคำในภาษาอาหรับมาตรฐานสมัยใหม่: การศึกษาข้ามสมัย |
เกียรติ เทพช่วยสุข(เอก) | กิ่งกาญจน์ | 2559 | คุณสมบัติทางวากยสัมพันธ์และอรรถศาสตร์ของคำกริยาแสดงเหตุการณ์แยกส่วนในภาษาไทย |
พิรุฬห์ ปิยมหพงศ์ | กิ่งกาญจน์ | 2559 | คุณสมบัติทางวากยสัมพันธ์และอรรถศาสตร์ของตัวบ่งชี้ผู้รับประโยชน์ “เพื่อ” และ “ให้” ในภาษาไทย |
รุจิรา สุวรรณน้อย(เอก) | กิ่งกาญจน์ | 2559 | คุณสมบัติทางวากยสัมพันธ์ อรรถศาสตร์ และวัจนปฏิบัติของรูปปฏิเสธ ไม่ และ เปล่า ในภาษาไทย |
YI LE | ธีระพันธ์ | 2559 | ลักษณะทางกลสัทศาสตร์ของส่วนท้ายพยางค์ภาษาไทยที่ออกเสียงโดยนักศึกษาจีนที่เรียนภาษาไทย: กรณีศึกษาผู้พูดภาษาจีนถิ่นยูนนาน น่าซี และไทลื้อที่มหาวิทยาลัยชนชาติยูนนาน |
สรณ์ แอบเงิน | กิ่งกาญจน์ | 2559 | หน่วยสร้างนามวลีแสดงความเป็นเจ้าของในภาษาไทย |
กันตณัฐ ปริมิตร | กิ่งกาญจน์ | 2559 | หน่วยสร้างภาคแสดงพรรณนาเหตุการณ์ตั้งวางและหยิบฉวยวัตถุในภาษาไทย |
ศุภวัจน์ แต่รุ่งเรือง(เอก) | วิโรจน์ | 2560 | การตรวจเทียบภายนอกหาการลักลอกในงานวิชาการโดยใช้แบบจำลองซัพพอร์ตเวกเตอร์แมชชีนและการวัดค่าความละม้ายของ |
ศุภรักษ์ เตชะเจริญรุ่งเรือง (เอก) | สุดาพร | 2560 | การถ่ายโอนความหมายเชิงอารมณ์ความรู้สึกที่สื่อผ่านอุปลักษณ์ข้ามประสาทสัมผัสจากการแปลนวนิยายภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยและจากนวนิยายไทยเป็นภาษาอังกฤษ |
รัชนี เดอร์ซิงห์(เอก) | อมรา | 2560 | การเลือกภาษาและการธำรงภาษาของคนไทยซิกข์ในกรุงเทพมหานคร |
ภัทณิดา โสดาบัน (เอก) | วิโรจน์ | 2560 | การศึกษาลักษณ์ทางภาษาและรูปแบบของคำให้การจริงและคำให้การเท็จในภาษาไทย |
อิสรภาพ ล้อรัตนไชยยงค์ | วิโรจน์ | 2560 | การสร้างคลังศัพท์บอกความรู้สึกในภาษาไทยจากบทวิจารณ์ออนไลน์ |
ฉัตรฉนก จันทร์แย้ม | อมรา | 2560 | ความสัมพันธ์ระหว่างระบบความหมายของกลุ่มคำกริยา "ตัด" กับระบบปริชานของผู้พูดภาษาอังกฤษและผู้พูดภาษากะเหรี่ยงสะกอเหนือ: การทดสอบสมมติฐานภาษาสัมพัทธ์ |
ณัฐพงษ์ วงษ์อำไพ (เอก) | ธีระพันธ์ | 2560 | จังหวะการพูดภาษาไทยของผู้พูดภาษามลายูถิ่นปัตตานีเป็นภาษาแม่ที่มีสมรรถภาพในการพูดภาษาไทยต่างกัน: การศึกษาตามแนวจารีตและแนวแบบจำลองการเกาะกลุ่มภาษา |
รัตนสุวรรณ ระวรรณ | ธีราภรณ์ | 2560 | ปรากฏการณ์การรับรู้เสียงสระแทรกในพยัญชนะควบกล้ำของผู้พูดภาษาไทยเป็นภาษาแม่ |
จักรภพ เอี่ยมดะนุช(เอก) | พิทยาวัฒน์ | 2560 | หน่วยสร้างการีตในภาษาออสโตรนีเซียภาคพื้นทวีปที่พูดในบริเวณภาคใต้ของประเทศไทย |
กุสุมา ทองเนียม | อมรา | 2560 | อิทธิพลของเพศทางไวยากรณ์ต่อระบบปริชานของผู้พูดสองภาษารัสเซีย-อังกฤษเปรียบเทียบกับผู้พูดภาษารัสเซียและผู้พูดภาษาอังกฤษเพียงภาษาเดียว |
ฤทัยรัตน์ คุณธนะ | ภาวดี | 2561 | การแปรของ (kh) ในภาษาพวนบ้านฝายมูล ตำบลป่าคา อำเภอท่าวังผา จังหวัดน่าน: การศึกษาทางภาษาศาสตร์สังคม |
กมลชนก หงษ์ทอง(เอก) | กิ่งกาญจน์ | 2561 | หน่วยสร้างอนุประโยคขยายคำนามในภาษาไทย |
กษิดิ์เดช ทรัพย์รัตนไพศาล | ธีราภรณ์ | 2562 | การตีความสรรพนามสะท้อนรูปอ้างตามในภาษาไทย |
พัทธนันท์ หาญชาญเวช | ศุจิณัฐ | 2562 | การแปรทางกลสัทศาสตร์ของช่วงเวลาเริ่มเสียงก้องของพยัญชนะกักในภาษาไทยที่พูดโดยผุ้หญิงข้ามเพศ |
วรุณศิริ พรพจน์ธนมาศ (เอก) | ธีระพันธ์ | 2562 | การระบุและจำแนกกลุ่มภาษา "ลาว" ที่พูดในภาคกลางของประเทศไทยโดยใช้เกณฑ์วรรณยุกต์: กรณีศึกษาภาษา "ลาวฉะเชิงเทรา" |
ชินกฤต ตั้งสิริวัฒนากุล | พิทยาวัฒน์ | 2562 | การสูญเสียลักษณะก้องในหน่วยเสียงสกัดกั้น-ก้องในภาษาไทยที่พบในหมิงสือลู่ |
ป๊อปปี้ โกกอย | พิทยาวัฒน์ | 2562 | รูปแบบการเกิดรูปย่อยหน่วยอักขระในต้นฉบับภาษาไทอาหมและความสัมพันธ์กับการเปรียบต่างหน่วยเสียงในภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม |
พลรวี ประเสริฐสม | อรรถพล | 2563 | การจำลองวิวัฒนาการของรูปบ่งชี้ปลายทางในภาษา |
วัชริศ ฉันทจินดา | ธีราภรณ์ | 2563 | การประมวลผลหน่วยสร้างกรรมวาจกภาษาอังกฤษในผุ้เรียนชาวไทย |
จิณวัฒน์ แก่นเมือง (เอก) | พิทยาวัฒน์ | 2563 | การเปลี่ยนแปลงความหมายเชิงการอ้างถึงของสรรพนาม “มัน” ในภาษาไทยสมัยรัตนโกสินทร์ |
อภิญญา สิงโสภา | ศุจิณัฐ | 2563 | ความแตกต่างทางกลสัทศาสตร์และสัญชาตญาณการแบ่งแยกระหว่างสระประสมกับสระเรียงระหว่างพยางค์ในภาษาสเปนของผู้เรียนภาษาสเปนชาวไทยที่มีประสบการณ์ทางภาษาที่แตกต่างกัน |
SHENG ZHANG (เอก) | พิทยาวัฒน์ | 2563 | ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้อภิภาษาศาสตร์กับการออกเสียงสั้นยาวของสระภาษาไทยโดยผู้เรียนชาวจีนก่อนและหลังการแทรกเชิงปฏิบัติ |
ปิยังกูร ทวีผล | ภาวดี | 2564 | ทัศนคติของผู้พูดสองภาษาไทย-อังกฤษต่อการสลับภาษาระหว่างภาษาไทยกับภาษาอังกฤษ |
ณรงค์กร พนิตศรีสิทธิ์ (แผนข) | อรรถพล | 2565 | การตัดประโยคภาษาไทยโดยใช้แบบจำลองทางภาษาขนาดใหญ่ |
คมชิต ทวีทรัพย์ล้ำเลิศ (แผน ข) | ศุจิณัฐ | 2565 | การเปรียบเทียบการแปรของค่าอัตราการเปล่งเสียงระหว่างภาษาอังกฤษที่พูดแบบปกติกับภาษาอังกฤษที่พูดเลียนแบบเสียงจีน |
สรชัช พนมชัยสว่าง (แผนข) | ศุจิรัฐ | 2565 | การเปรียบเทียบค่าช่วงเวลาเสียงก้องของพยัญชนะกักในเสียงพูดและเสียงร้องเพลงของภาษาไทย |
วรรษกร สาระกุล | อรรถพล | 2565 | การวิเคราะห์ความเห็นสองขั้วจากสื่อสังคมผ่านการฝังคำแบบสถิตและแบบอิงบริบท |
สุมนา สุมนะกุล (แผน ข) | อรรถพล | 2565 | ไขสรรพนามไร้รูปภาษาไทยโดยใช้แบบจำลองทางภาษาแบบพรางคำ |
ก้องเวหา อินทรนุช | ศุจิณัฐ | 2565 | อิทธิพลของสัทสมบัติและสัทบริบทที่มีต่อระดับความก้องและค่าความเข้มของพยัญชนะกักภาษาไทย: นัยยะต่อการแพร่ละอองลอย |
พิมพ์ทิพย์ โก้ชัยภูมิ (เอก) | พิทยาวัฒน์ | 2566 | การแปรทางกลสัทศาสตร์ของการขึ้นจมูกของเสียงสระในพยางค์ที่ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะเสียดแทรก-เส้นเสียง (h) ในภาษาไทยถิ่นอีสานจังหวัดร้อยเอ็ด |
เขต เล่งวิริยะกุล | ณัฏฐนันท์ | 2566 | การศึกษาภาวะหลายหน้าที่ของคำว่า แต่ ในภาษาไทยสมัยเก่า (พุทธศตวรรษที่ 19-20)ตามแนวภาษาศาสตร์ปริชาน: การศึกษาเฉพาะสมัย |
ธนกร อัยกร | ศุจิณัฐ | 2566 | ปัจจัยด้านวรรณยุกต์และโน้ตดนตรีที่มีต่อการใช้เสียงก้องพร่าในการร้องเพลงภาษาไทย |
สิจาพร เจนจิรวัฒนา | ศุจิณัฐ | 2566 | ผลกระทบของคำพ้องเสียงจากภาพในภาษาอังกฤษต่อการตัดสินใจของผุ้บริโภคชาวไทย |
Ashley Laughlin (เอก) | ณัฏฐนันท์ | 2567 | ความหมายของอนุภาคจำเพาะ กรณีศึกษาภาษาอังกฤษ ภาษาฮินดี ภาษาเกาหลี ภาษาโปลิช และภาษาไทย |
ธัญรมณ ผู้ภาวสุทธิ (แผน ข) | ภาวดี | ? | กลวิธ๊ทางภาษาในวัจนกรรมการแนะนำ การตำหนิ และการปลอบโยนในการตอบถ้อยคำของผู้มีภาวะซึมเศร้า |
นายสรบุตร รุ่งโรจน์สุวรรณ(เอก) | สุดาพร | คำชุดแรก: พัฒนาการสื่อสารของเด็กไทยอายุ 9-24 เดือน | |
คเชนทร์ ตัญศิริ (เอก) | กิ่งกาญจน์ | 2554 ต่อ | ปฏิสัมพันธ์ระหว่างการณ์ลักษณะทางไวยกรณ์กับการณ์ลักษณะประจำคำในภาษาไทย:การศึกษาแบบอิงคลังข้อมูลภาษา |
นางสาวสุธาทิพย์ เหมือนใจ (เอก) | กิ่งกาญจน์ | 2554 ต่อ | หน่วยสร้างแสดงเหตุการณ์ 3 หน่วยร่วมในภาษาไทย |
ณิชา กลิ่นขจร(เอก) | วิโรจน์/สุดาพร | 2557 (ต้น) | กลวิธีในการแปลวัจนกรรมการกล่าวชี้นำ การกล่าวปฏิเสธ และการกล่าวเพื่อถามในบทสนทนาภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย |
กิตตินาถ เรขาลิลิต (เอก) | อมรา/Thom | 2557(ต้น) | การเปลี่ยนแปลงที่กำลังดำเนินอยู่ของระบบบุรุษสรรพนามในภาษาไทลื้อที่พูดในประเทศไทย ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน |
ภีมพสิษฐ์ เตชะราชันย์ | อมรา | 2558(ปลาย) | กระบวนการกลายเป็นคำไวยากรณ์ของตัวบ่งชี้นามวลีแปลง การ และ ความ ในภาษาไทย |
จรรยาวรรณ สุวรรณรัตน์ (เอก) | ธีราภรณ์ | 2558(ปลาย) | การใช้กริยารองบอกทิศทางแบบไม่บ่งชี้ “ขึ้น” และ “ลง” ในภาษาไทยโดยผู้พูดภาษาอังกฤษที่เรียนภาษาไทยเป็นภาษาที่สอง |
ชวดล เกตุแก้ว(เอก) | พิทยาวัฒน์ | 2558(ปลาย) | การทาบเทียบระหว่างเสียงวรรณยุกต์และโน้ตดนตรีในเพลงป๊อบไทย |
ธีรนุช ศิริวิทยากร (เอก) | ธีราภรณ์ | 2558(ปลาย) | การประมวลผลการเกาะเกี่ยวหน่วยหลักของคุณานุประโยคในภาษาไทยและบทบาทของประสบการณ์ในการประมวลผลประโยค |
สุมินตรา มาคล้าย (เอก) | ธีราภรณ์ | 2558(ปลาย) | การรับอนุภาคลงท้าย “นะ” และ “สิ” ของผู้เรียนภาษาไทยเป็นภาษาที่สอง |
สิรีมาศ มาศพงศ์ | พิทยาวัฒน์ | 2558(ปลาย) | ความแตกต่างที่มีนัยสำคัญด้านความสั้นยาวของสระในภาษาไทยสมัยสุโขทัย |
ชุติชล เอมดิษฐ(เอก) | อมรา | 2558(ปลาย) | ความสัมพันธ์ระหว่างการบ่งชี้กาลในไวยากรณ์กับระบบปริชาน: การทดสอบสมมติฐานภาษาสัมพันธในภาษาอังกฤษ ภาษาญี่ปุ่น ภาษาจีน และภาษาไทย |
ธารทอง แจ่มไพบูลย์(เอก) | วิโรจน์ | 2559(ต้น) | พัฒนาการของคำศัพท์ที่มีความถี่ในการปรากฏสูงในหนังสือเรียนวิชาภาษาไทย: การศึกษาตามแนวทางภาษาศาสตร์คลังข้อมูล |
พรพิมล ศิวินา (เอก) | อมรา | 2563 (1) | ภูมิทัศน์หลายภาษาบริเวณชายแดนประเทศไทย |
ลีนา มะลูลีม (เอก) | พิทยาวัฒน์ | 2565(ต้น) | ความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างสัทสัมพันธ์ของคำประสมภาษาไทยกับการกลายเป็นศัพท์ |
รชยา รัชตะวรรณ (แผน ข) | ภาวดี | 2567(ต้น) | กลวิธีการสร้างความตลกขบขันกับภาพแทนของผู้หญิงที่นำเสนอในการ์ตูนช่องบนเพจเฟซบุ๊ก "เบื่อเมีย" และ "ฟอร์มหมาแก่" |
มาเรีย ฑิมพิกา โฉมชา | พิทยาวัฒน์ | 2567(ต้น) | การรวมเสียงพยัญชนะก้องและไม่ก้องในภาษาไทย ภาษาล้านนา และภาษาอีสาน |
Daniel Peter Loss (เอก) | พิทยาวัฒน์ | 2567 (ต้น) | โครงสร้างสาระในภาษามอแกลน/ INFORMATION STRUCTURE IN MOKLEN |
ธรรมพร คำเคน (แผน ข) | พิทยาวัฒน์ | 2567(ต้น) | ศาสตร์การทำพจนานุกรมคำสแลงในกลุ่ม 'INTO THE BORDERLAND' |
ศศิทร นพประไพ (เอก) | ธีระพันธ์ | กำลังทำ | จังหวะในการพูดของเด็กไทยในช่วงอายุ 3-9 ปี |
นภาศรี สุวรรณโชติ (เอก) ลาออก | ธีระพันธ์ | กำลังทำ | สัทวิทยาและสัทศาสตร์ของสัทสัมพันธ์ประจำคำในภาษาเกาหลีตะวันออกเฉียงเหนือถิ่นฮัมกยอง |
พิณรัตน์ อัครวัฒนากุล | กัลยา | ต้น 2541 | การศึกษาเปรียบเทียบระบบวรรณยุกต์ในภาษาของคน " ลาว" คน " ญ้อ" และคน "ผู้ไท" ในอำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม |
ภัทราวรรณ กลับสีอ่อน | ปราณี | ต้น 2545 | intensifiers ในภาษาไทยถิ่นใต้จังหวัดสงขลา |
วาทิต พุ่มอยู่ | อมรา | ต้น 2547 | การศึกษาคำเรียกข้าวและระบบมโนทัศน์เรื่องข้าวในภาษาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ |
สุชาดา เสริฐธิกุล | สุดาพร | ต้น 2547 | การออกเสียง/I/ท้ายคำภาษาอังกฤษในบริบทภาษาไทยและภาษาอังกฤษของผู้พูดคนไทยที่มีประสบการณ์ภาษาอังกฤษต่างกัน |
สุธิดา สุนทรวิภาต(เอก) | สุดาพร | ต้น 2549 | รูปแบบด้านหน่วยคำและวากยสัมพันธ์ของภาษาในระหว่างที่ใช้โดยนักศึกษาไทยระดับปริญยาตรีที่เรียนภาษาอังกฤาเป็นวิชาเอก |
ธนศักดิ์ ศิริคะเณรัตน์ | พิทยาวัฒน์ | ต้น 2555 | การรับการกลมกลืนฐานกรณ์เสียงพยัญชนะท้ายนาสิกตามเสียงที่ตามมาในภาษาญี่ปุ่นของผู้เรียนคนไทย: การศึกษาตามแนวทฤษฎีอุตมผล |
พรพิลาส (เรืองโชติวิทย์) วงศ์เจริญ | อมรา | ปลาย 2527 | ประโยครับในภาษาไทย |
น้องนุช มณีอินทร์ | อมรา | ปลาย 2543 | การปรับเปลี่ยนของชื่อหมู่บ้านในจังหวัดเชียงใหม่ |
วิมลพักตร์ พรหมศรีมาศ | ปราณี | ปลาย 2543 | การเปรียบเทียบการปฏิเสธในภาษาไทยและภาษาสเปนในเชิงวัจนปฎิบัติศาสตร์ |
วิษณุ วงษ์เนตร | สุดาพร | ปลาย 2543 | การแปรของเสียงสระ i:, a:, u: ของผู้พูดภาษาถิ่นเหนือ อีสาน และใต้ในการสื่อสารโดยใช้ภาษากลาง |
สุนทรี เฉลิมแสนยากร | กัลยา | ปลาย 2543 | การศึกษารูปแปรของเสียง (kh) ที่เกิดจากปัจจัยทางสัทปริบท |
ศุทธิมาศ คำดี | กัลยา | ปลาย 2543 | การออกเสียงพยัญชนะควบกล้ำในคำยืมของผู้พูดคนไทย |
สุนีรัตน์ ตั้งคีรีพิมาน | อมรา | ปลาย 2543 | คำเรียกญาติที่ใช้โดยคนไทยเชี้อสายจีนแต้จิ๋วสองรุ่นอายุกับบูรณาการทางวัฒนธรรม |
อัชลิกา ผาสุขกิจ | อมรา | ปลาย 2543 | คำเรียกรสในภาษาไทยถิ่นตามแนวอรรถศาสตร์ชาติพันธุ์ |
ศุภมาส เอ่งฉ้วน (เอก) | ปราณี | ปลาย 2543 | คำเรียกสีและมโนทัศน์เรื่องสี่ของคนไทยสมัยสุโขทัยและสมัยปัจจุบัน |
อมร ทวีศักดิ์ | ธีระพันธ์ | ปลาย 2543 | พฤติกรรมค่าความถี่มูลฐานของเสียงสระเนื่องมาจากอิทธิพลเสียงพยัญชนะต้นและพยัญชนะท้ายในภาษาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ : นัยสำคัญต่อทฤษฎีกำเนิดวรรณยุกต์ |
วิไลลักษณ์ จูวราหะวงศ์ | ธีระพันธ์ | ปลาย 2543 | วรรณยุกต์ภาษาไทยกรุงเทพฯที่พูดโดยคนไทย คนแต้จิ๋ว และคนซิกข์ |
เดชา เวศยาภรณ์ | สุดาพร | ปลาย 2543 | อิทธิพลของ Language Input ต่อการเรียนภาษาต่างประเทศ |
เดล ควาลไฮม์ | กิ่งกาญจน์ | ปลาย 2543 | A decompositional comparison of conceptual metaphors dealing with TIME in Thai and American |
คิโยโกะ ทากาฮาชิ (เอก) | กิ่งกาญจน์ | ปลาย 2543 | Fictive Motion Expression in Thai |
ปิยะวัลย์ วิรุฬหชัยพงษ์ | สุดาพร | ปลาย 2543 | |
อมร ทวีศักดิ์ (เอก) | ธีระพันธ์ | ปลาย2543 | |
นิยะดา รสิกวรรณ | เพียรศิริ | ปลาย 2544 | กลไกการครอบครองการสนทนา |
นัฐวุฒิ ไชยเจริญ | วิโรจน์ | ปลาย 2544 | การตัดคำและการกำกับหมวดคำภาษาไทยแบบเบ็ดเสร็จด้วยคอมพิวเตอร์ |
อุไรภรณ์ ตันตินิมิตรกุล | กัลยา | ปลาย 2544 | การแปลของเขตปรับเปลี่ยนภาษาระหว่างภาษาไทยถิ่นกลางกับภาษาไทยถิ่นใต้ตามตัวแปรทางสังคมบางประการ:การศึกษาคำศัพท์ |
อัสสมิง กาเซ็ง | ธีระพันธ์ | ปลาย 2544 | คำยืมภาษาอาหรับในภาษามลายูถิ่นปัตตานี |
กาญจนา ยอดศิริจินดา | กฤษดาวรรณ | ปลาย 2544 | หน่วยเชื่อมโยงในวัจนลีลาแบบเขียนในภาษาไทย |
นิตยาพร ธนสิทธิสุรโชติ | กฤษดาวรรณ | ปลาย 2545 | กลไกการเปลี่ยนประเด็นในการสนทนาภาษาไทย |
นิจจาภา วงษ์กระจ่าง | กฤษดาวรรณ | ปลาย 2545 | กลวิธการรักษาหน้าในการตอบคำถามของนักการเมืองไทย |
นรินธร สมบัตินันท์ | กัลยา | ปลาย 2545 | การจำแนกพยัญชนะกักก้อง พยัญชนะกักไม่ก้องพ่นลมและพยัญชนะกักไม่ก้องไม่พ่นลมของภาษาไทยในผู้พูดหลอดลม,หลอดอาหาร: |
ญาณินท์ สวนะคุณานนท์ | ธีระพันธ์ | ปลาย 2545 | การเปรียบเทียบจังหวะภาษาไทยในการพูดของผู้พูดที่ใช้หลอดลม-หลอดอาหารกับการพูดของผู้พูดปกติ |
ตระหนักจิต ทองมี | สุดาพร | ปลาย 2545 | การรับรู้เพศลักษณ์ของตนเองจากคำกริยาและคำกริยาวิเคราะห์ภาษาไทย |
สิริพร หฤทัยวิญญู | ปราณี | ปลาย 2545 | การวิเคราะห์ปริเฉทในข่าวธุรกิจ |
อัจฉริยา อาจวงศ์ | สุดาพร | ปลาย 2545 | ความเป็นภาษาพูดในภาษาโฆษณาทางสื่อสิ่งพิมพ์ในอดีต (พ.ศ.2479)และในปัจจุบัน (พศ.2539) |
วราภรณ์ ติระ | อมรา | ปลาย 2545 | คำเรียกญาติของชาวไทยมุสลิมที่มีเชื้อสายต่างกันในกรุงเทพมหานคร |
ปานทิพย์ มหาไตรภพ | อมรา | ปลาย 2545 | นามสกุลพระราชทานในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว การวิเคราะห์ทางอรรถศาสตร์ชาติพันธุ์ |
นิรัติศัย กระจายเกียรติ | สุดาพร | ปลาย 2545 | พัฒนาการทางวากยสัมพันธ์ในการเล่าเรื่องของเด็กไทย |
ชมนาด อินทจามรรัตน์ | ธีระพันธ์ | ปลาย 2545 | ลักษณะทางกลสัทศาสตร์ของเสียงสระภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผู้พูดที่ใช้หลอดลม-หลอดอาหารและผู้พูดปกติและการรับรู้เสียงสระที่ออกเสียง |
กุสุมา หะสานี | กัลยา | ปลาย 2545 | วรรณยุกต์ภาษาไทยที่ออกเสียงโดยผู้พูดหลอดลม-หลอดอาหาร:การวิเคราะห์การเปล่งเสียงและการทดสอบการรับรู้โดยคนปกติ |
ศศิธร สินถาวรกุล | อมรา | ปลาย 2545 | วิถีการกินและความเชื่อของคนไทยที่สะท้อนจากชื่ออาหารไทยที่ใช้เทศกาลงานพิธีแบบดั้งเดิม |
เบญจวรรณ กสิโสภา | ธีระพันธ์ | ปลาย2546 | การศึกษาระบบเสียงและการจัดกลุ่มทางเชื้อสายของภาษาดาระอั้ง (ปะหล่อง) บ้านนอแล อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ |
ฤติ สุนทรสิงห์ | ธีระพันธ์ | ปลาย 2546 | ความสัมพันธ์ระหว่างคำเรียกเสียงกับลักษณะองค์ประกอบของเสียงตามความเข้าใจและตามการรับรู้ของคนไทย |
นายกาจบัณฑิต วงศ์ศรี | สุดา | ปลาย 2546 | เครือข่ายความหมายของคำว่า"ออก"ในภาษาไทย : การศึกษาแนวอรรถศาสตร์ปริชาน |
กุสุมา เลาะเด | ธีระพันธ์ | ปลาย 2547 | การเปรีบเทียบปฏิสัมพันธ์ระหว่างค่าความถี่มูลฐานและค่าระยะเวลาของเสียงสระกับเสียงพยัญชนะท้ายในภาษามาลายูถิ่นปัตตานีที่พูดในจังหวัด |
ศิริรัตน์ ชูพันธ์ | กัลยา | ปลาย 2547 | การแปรของคำศัพท์ภาษาไทยถิ่นเกาะสมุยตามถิ่นที่อยู่และอายุของผู้พูด |
ปรีชา สุขเกษม (เอก) | ธีระพันธ์ | ปลาย 2547 | การแปรและการเปลี่ยนแปลงทางเสียงในภาษากวย - กุย (ส่วย) |
วัลย์วรา ไชยฤกษ์ | วิโรจน์ | ปลาย 2547 | การพัฒนาโปรแกรมถอดอักษรภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยโดยใช้คลังคำทับศัพท์ของราชบัณฑิตสถาน |
ทรงธรรม วงศ์วิรุฬห์ | กฤษดาวรรณ | ปลาย 2547 | การวางโครงเรื่องในปริเฉทเรื่องเล่าจากประสบการณ์อ้อมในภาษาไทย |
พรลัดดา เมฆบัณฑูรย์ | อมรา | ปลาย 2547 | การศึกษาคำเรียกรสและทัศนคติเกี่ยวกับรสในภาษาจีนแต้จิ๋วตามแนวอรรถศาสตร์ชาติพันธุ์ |
พิจิตรา พาณิชย์กุล | อมรา | ปลาย 2547 | การศึกษาชื่อและระบบการทอซิ่นมัดหมีดั้งเดิมของไทพวน อำเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรีตามแนวอรรถศาสตร์ชาติพันธุ์ |
เพ็ญสินี กิจค้า | สุดาพร | ปลาย 2547 | การอกเสียงและการรับรู้สระเดี่ยวภาษาอังกฤษของผู้พูดภาษาไทยที่มีประสบการณ์ภาษาอังกฤษต่างกัน |
เพ็ญจันทร์ พันธ์ฤกษ์ | กฤษดาวรรณ | ปลาย 2547 | ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับชาติพันธ์ในจังหวัดลำพูน |
วรลักษณ์ พันธ์สืบ(เดชะประทุมวัน) | ธีระพันธ์ | ปลาย 2547 | ความสัมพันธ์ระหว่างเสียงกับความหมายในคำแฝงอารมณ์ความรู้สึกภาษาไท ยวน |
รุ่งวิมล ปินตาสะอาด | ธีระพันธ์ | ปลาย 2547 | พัฒนาการของวรรณยุกต์ +Bและ +C ในภาษาไทตะวันตกเฉยังใต้ |
ยุพาพร ฮวดศิริ | ธีระพันธ์ | ปลาย2550 | การจำแนกความแตกต่างของฐานกรณ์ชุดพยัญชนะต้นกักด้วยวิธีสมการจุดร่วม: กรณีศึกษาภาษาม้ง เมี่ยน และมัล |
กัณฑิมา รักวงษ์วาน | อมรา | ปลาย2550 | การศึกษาคำเรียกสัมผัสและคำแสดงทัศนคติเกี่ยวกับสัมผัสในภาษาไทยตามแนวอรรถศาสตร์ชาติพันธุ์ |
สิริวิมล ศุกรศร | อมรา | ปลาย2550 | การศึกษาคำเรียกเสียงและคำแสดงทัศนคติกี่ยวกับเสียงในภาษาไทย |
สุภาพร ผลิพัฒน์ | ธีระพันธ์ | ปลาย2550 | ความสัมพันธ์ระหว่างค่าระยะเวลากับค่าความถี่ฟอร์เมินท์ของเสียงสระ: กรณีศึกษา ภาษาม้ง เมี่ยน และมัล |
กนิษฐา พุทธเสถียร | ธีระพันธ์ | ปลาย2550 | พฤติกรรมค่าความถี่มูลฐานของเสียงสระอันเนื่องมาจากอิทธิพลของพยัญชนะต้นเสียงก้งกังวานอโฆษะและโฆษะ: กรณีศึกษาภาษาม้ง เมี่ยน และมัล |
สรินยา ชมภูบุตร | สุดา | ปลาย 2550 | พัฒนาการทางภาษาในการเล่าเหตุการณ์เกิดพร้อมกันในภาษาไทย |
วิชาติ บูรณะประเสริฐสุข (เอก) | วิโรจน์ | ปลาย 2550 | ระบบความหมายของคำในภาษาไทยของผู้พิการด้านการมองเห็นและผู้พิการด้านการได้ยิน |
กัญญารัตน์ เอี่ยมวันทอง | ธีระพันธ์ | ปลาย2551 | ลักษณะทางกลสัทศาสตร์ของสระในภาษามลายูถิ่นปัตตานี |
ปวลี บุญปก | สุดาพร | ปลาย51 | การศึกษาความหมายของคำกริยาแสดงการกล่าวถ้อยในภาษาไทยโดยอิงบริบท |
มล. จรัลวิไล จรูญโรจน์ (เอก) | อมรา | ภาคต้น 43 | ความสัมพันธ์ระหว่างความคิดและประเภทไวยากรณ์ที่เกี่ยวกับคำนามกับระบบปริชานของผู้พูดภาษาไทยและภาษาอังกฤษ |
กาญจนา เจริญเกียรติบวร | กฤษดาวรรณ | ภาคต้น 43 | ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับมุมมองในข่าววัดพระธรรมกายที่เสนอในหนังสือพิมพ์ไทย |
ผณินทรา ธีรานนท์ | กัลยา | ภาคต้น 43 | หน่วยจังหวะกับการแปรของวรรณยุกต์ในคำพูดต่อเนื่องภาษาไทย |
สุนันทา คงประโคน | เพียรศิริ | ภาคต้น 44 | กลวิธีการพูดเรื่องต้องห้ามในสถานการณ์ปริจเฉทที่แตกต่างกัน : กรณีศึกษาการพูดเรื่องเพศของคนไทย |
วิภารักษ์ กนกรัตนนุกูล | วิโรจน์ | ภาคต้น 44 | การแก้ปัญหาความกำกวมของคำหลายความหมายโดยใช้รายการตัดสินของคำปรากฎร่วม |
บุรีรัตน์ รอดทิพย์ | กฤษดาวรรณ | ภาคต้น 44 | การเปิดการสนทนาทางโทรศัพท์ในภาษาไทย |
นิตยาภรณ์ ธนสิทธิสุรโชติ | เพียรศิริ | กลไกแสดงการเปลี่ยนประเด็นการสนทนา | |
ปราณี โหมดหิรัญ (เอก) | สุดาพร | การแก้ความเข้าใจผิดในผู้พูดคนไทยและคนอเมริกัน : การศึกษาวัจนปฏิบัติศาสตร์ข้ามวัฒนธรรมและวัจนปฏิบัติศาสตร์ภาษาในระหว่าง | |
อุเทน ปกรณ์เกษตร | ปราณี | การคลายเป็นคำไวยากรณ์ของคำกริยา "ว่า"ในภาษาไทย | |
จินต์ ชีวประวัติดำรง (แผน ข) | อรรถพล | การตัดคำด้วยคำปรากฏร่วมสำหรับแบบจำลองการจัดสรรดีริชเลแฝง | |
อมรทิพย์ กวินปณิธาน | วิโรจน์ | การศึกษาบริบทบ่งบอกชื่อเฉพาะในภาษาไทยตามแนวภาษาศาสตร์คอมพิวเตอร์ | |
กาญจนา ยอดศิรจินดา | เพียรศิริ | การศึกษาเปรียบเทียบหน่วยเชื่อมโยงในภาษาพูดและภาษาเขียน | |
ศุภกร พานิชกุล | สุดาพร | การศึกษาลักษณะเชิงกลสัทศาสตร์ของคำเติมช่วงเงียบในภาษาไทยที่สัมพันธ์กับตำแหน่งทางวากยสัมพันธ์ในบทพูดคนเดียว | |
ศิริพร ปัญญาเมธีกุล(เอก) | วิโรจน์ | ความต่อเนื่องของปฏิสัมพันธ์ในห้องสนทนาไทย:การส่งผลต่อกันระหว่างการเชื่อมโยงตามการมอบผลัดและความเกี่ยวข้องของเรื่องที่สนทนา | |
ทิพย์อาภา ชัยจำ | กิ่งกาญจน์ | ความสัมพันธ์ของการกและคำบ่งชี้การก "กับ" ในภาษาเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ | |
ปราจรีย์ แท่นทอง | สุดาพร | ความสัมพันธ์ระหว่างการสำเนียกรู้ระบบเสียงกับสมิทธิภาพในการอ่านหนังสือของเด็กไทยกลุ่มอายุ 10 ปี | |
นิมิต กุมวาปี | ณัฏฐนันท์ | ความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎีความชี้เฉพาะกับรูปแสดงหน่วยนามในเรื่องเล่าภาษาไทย | |
พีรพัฒน์ ยางกลาง | สุดาพร | พัฒนาการของหน่วยสร้างกริยาเรียงในเรื่องเล่าของเด็กไทย |