เหตุการณ์สึนามิ

ภัยพิบัติสึนามิเกิดขึ้นในวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547 กร […]
งานทำถนน

ชาวมอแกลนทำงานให้กรมทางหลวงในการทำทางตั้งแต่อดีตจนถึงปั […]
การรำโนรา

การรำโนราเป็นศิลปะการร่ายรำภาคใต้ที่ชาวมอแกลนได้ปฏิบัติ […]
พิธีเซ่นไหว้บรรพบุรุษหูต (ผีเจ้าป่า ลำธาร ลำห้วย)

การไหว้บรรพบุรุษวิญญาณในธรรมชาติ เป็นประเพณีหนึ่งของชาว […]
คุณเอ็น นาวารักษ์ (ตาเอ็น)

ตาเอ็น ผู้อาวุโสในชุมชนทับตะวันในวัย 98 ปี (เวลาที่สัมภาษณ์) บอกเล่าเรื่องราวความทรงจำในช่วงชีวิตที่ผ่านมา ด้านการประกอบอาชีพ
พิธีแชะแชะ (ผีตะกร้า) ที่บ้านทับปลา

เมื่อชาวมอแกลนบ้านทับปลาต้องการติดต่อกับสมาชิกในครอบครัวที่ล่วงลับ เพื่อถามไถ่สารทุกข์สุกดิบหรือเพื่อสอบถามเกี่ยวกับอนาคตและปัญหาที่ครอบครัวเผชิญอยู่ ก็จะประกอบพิธีแชะๆ ซึ่งเป็นการอัญเชิญให้ญาติพี่น้องที่ล่วงลับมาประทับทรง
พิธีไหว้พ่อตาขุนเล

ชาวมอแกลนบ้านทับปลามีการจัดพิธีไหว้พ่อตาขุนเลและแม่ย่านางในช่วงเดือนหก (ตามปฏิทินจันทรคติ) ของทุกปี โดยผู้ที่เข้าร่วมส่วนใหญ่จะเป็นคนที่มีเรือและทำมาหากินอยู่ในทะเล
พิธีลาป่าช้า

ธีลาป่าช้าจะมีขั้นตอนคล้ายกับการเปิดป่าช้า กล่าวคือ หมอพิธีกรรมจะตั้งเครื่องเซ่นไหว้ประกอบด้วย หมากพลู ยาเส้น บุหรี่ (ในที่นี้หมายถึงใบจากที่ใช้มวนยาเส้น) และเหล้าขาว จากนั้นหมอพิธีกรรมจุดธูปเทียนเพื่อบอกกล่าวเจ้าป่าช้า (เจ้าเปลว) และดวงวิญญาณอื่นๆในป่าช้า แล้วจึงจุดประทัดส่งท้าย เป็นการสื่อสารต่อดวงวิญญาณเหล่านั้นว่าไม่ต้องตามมา
ขั้นตอนพิเศษในพิธีศพของคนที่เสียชีวิตอย่างกะทันหัน (ตายโหง)

หากมีบุคคลที่เสียชีวิตอย่างกะทันหัน เช่น เสียชีวิตในอุบัติเหตุ ถูกฆาตกรรม หรือเสียชีวิตด้วยความรุนแรงในลักษณะที่ไม่ปกติต่างๆ จะต้องมีขั้นตอนพิเศษในพิธีศพเพื่อป้องกันไม่ให้วิญญาณของผู้ตายกลายเป็นผีร้ายและทำอันตรายต่อชุมชน
ความเชื่อเรื่องผีร้ายในหมู่บ้านทับปลา

ชาวมอแกลนที่บ้านทับปลาแบ่งผีร้ายออกเป็นสามชนิด ได้แก่ 1) ชิน 2) พราย และ 3) วิญญาณของคนที่ตายโหง