รองศาสตราจารย์ ดร.พิริยะดิศ มานิตย์

วุฒิการศึกษา

  • ครุศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับสอง) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • อักษรศาสตรมหาบัณฑิต (ภาษาฝรั่งเศส) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ภาษาและวรรณคดีฝรั่งเศส) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ความสนใจ

การตีความตัวบทด้วยจิตวิเคราะห์

วิชาที่สอน

  1. โครงสร้างไวยากรณ์ฝรั่งเศส
  2. ทัศนศิลป์ฝรั่งเศส
  3. บทละครฝรั่งเศส
  4. ประวัติความคิดฝรั่งเศส

วิทยานิพนธ์ที่คุม

  1. ปริญญาโท

1.1 Jirawut Kitkarul, Le Théâtre dans le théâtre dans les Nègres de Jean Genet.

1.2 Damar Rakhmayastri. LA MÈRE DANS LE MALENTENDU D’ ALBERT CAMUS : ÉTUDE PSYCHANALYTIQUE.

  1. ปริญญาเอก

2.1 Vanichcha Kanchanobhas, ÉTUDE DE L’ESPACE DANS LES CONTES DE FÉES DE MADAME D’AULNOY : DE L’ENFERMEMENT À L’ÉMANCIPATION.

บทความวิจัย (ภาษาฝรั่งเศส)

  1. Du ventre maternel à la tombe : dynamisme de l’espace dans Poulet aux prunes de Marjane Satrapi. Agathos : An International Review of the Humanities and Social Sciences 10, 2 (19) (2019) : 169 – 188.
  2. Rousseau en Thaïlande. in Rousseau Studies. Volume 6. Genève: Éditions Slatkine, 353-358.
  3. Éléments d’une étude psychanalytique sur Jean-Jacques Rousseau. in Bulletin de l’ATPF. 133(40), 21-26.
  4. Le thème du miroir dans « La Belle et la Bête » de Madame Leprince de Beaumont. in Bulletin de l’ATPF. 141(44), 1-18.
  5. L’infantilisme chez Argan de Malade imaginaire. Dalhousie French Studies, Volume 80, Fall 2007.

บทความวิจัย/บทความวิชาการ/บทความเผยแพร่ในเว็บไซต์ (ภาษาไทย)

  1. “สันติสถาน” ในการ์ตูนของ มาร์ฌาน ซาทราปี. วารสารสมาคมครูภาษาฝรั่งเศสแห่งประเทศไทยฯ. 139,1(2563): หน้า 97-139.
  2. ความวิปริตทางเพศของอาร์นอล์ฟแห่ง เลกอล เด ฟาม. ใน ละคร ระคน ตัวตน มนุษย์ : วรรณกรรมกับนาฏกรรมศึกษา. ภาควิชาวรรณกรรมและกรรมการฝ่ายวิจัยคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ร่วมกับศูนย์สังคีตศิลป์ ธนาคารกรุงเทพจำกัดมหาชน
  3. อ็องโดรม้ากค์ : ความเป็นแม่ ความเป็นเมีย และความรู้สึกที่เธอมีต่อปีรุส. ใน ประมวลผลการประชุมทางวิชาการ “ภาษาและวรรณคดีฝรั่งเศส” ครั้งที่ 10 สาขาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาควิชาภาษาตะวันตก คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับ Bureau de Coopération pour le français.
  4. ‘ชายเคราสีน้ำเงิน’ : ห้องต้องห้าม พรหมจรรย์ ทาบู และฆาตกรต่อเนื่อง. ใน วารสารศิลปศาสตร์ ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 ก.ค.-ธ.ค. 55.
  5. แม่ และโสเภณีใน แม่ก้อนไขมัน. ใน อ่าน ปีที่ 2 ฉบับที่ 3 ม.ค.-มี.ค. 53.
  6. ก็องดิดด์ และรักร่วมเพศแบบแฝงเร้น. ใน วารสารยุโรปศึกษา ปีที่ 18 ฉบับที่ 1 ม.ค.-มิ.ย. 53.
  7. การแสวงหาความเป็นชายในนิทานเรื่อง “แมวใส่บู๊ต”. ใน วารสารยุโรปศึกษา ปีที่ 18 ฉบับที่ 2 ก.ค.-ธ.ค. 53.
  8. ความทรงจำในวัยเด็กของเอ็มมา โบวารี. ใน อ่าน ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 ต.ค.-ธ.ค. 51.
  9. ภาพจิตรกรรม Les Hasards heureux de l’escarpolette : ภาพโป๊แต่ไม่เปลือย. ใน วารสารยุโรปศึกษา ปีที่ 23 ฉบับที่ 2 ก.ค.-ธ.ค. 58.
  10. “เอดิปัส” ใน ลา มาร์แซแยส. ใน อ่าน ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 เม.ย.-ก.ย. 52.
  11. ความสัมพันธ์แม่-ลูกในบทกวี “กลิ่นแดนไกล” ของโบดแลร์. ใน อ่าน ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 ต.ค.-ธ.ค. 52.
  12. ข้อสังเกตเล็กๆน้อยๆว่าด้วย “งู” ของเจ้าชายน้อย. ใน อ่าน ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 เม.ย.-มิย. 55.
  13. การตีความนิทานด้วยจิตวิเคราะห์: กรณีศึกษา หนูน้อยหมวกแดง ของชาร์ลส์ แปร์โรต์. วารสารอักษรศาสตร์ 38, 1 (มกราคม-มิถุนายน 2552): 100-119.
  14. อ่าน “เจ้าหญิงหนังฬาด้วยจิตวิเคราะห์”. ใน อ่าน ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-กันยายน 2551.
  15. ดง ฌวง กับพฤติกรรมซาดิสม์. ใน วารสารมนุษยศาสตร์. ปีที่ 16 ฉบับที่ 2 หน้า 22-30.
  16. La Peste ของ Albert Camus. เพจเฟซบุ๊ค CompLit Chula.
  17. ฌอง เดอ ลา ฟงแตน : คลาสสิกนอกคอก. ใน https://www.sm-thaipublishing.com/content/8961/jean-de-la-fontaine-piriyadit-manit.

หนังสือ/ตำรา

  1. เรื่องใต้บรรทัด. กรุงเทพฯ : สมมติ, 2564.
  2. ประวัติความคิดฝรั่งเศส. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560.
  3. ศัพท์จิตวิเคราะห์สำหรับวรรณคดีวิจารณ์ คำอธิบายตามแนวของซิกมันด์ ฟรอยด์. กรุงเทพฯ : โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556.
  4. ปมเอดิปัสในนิทานแปร์โรต์. กรุงเทพฯ : โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553.