“ เราเติบโตมาท่ามกลางคติชน แม้ในยุคดิจิทัล เราก็ยังดำเนินชีวิตโดยมีคติชนแวดล้อมและหล่อเลี้ยง กระทั่งบั้นปลาย เราก็ละทิ้งคติชนมิได้ เพียงแต่เราอาจจะไม่ได้พูดถึงเรื่องที่เราคุ้นเคยเหล่านั้นออกมาเป็นภาษาวิชาการว่า
“คติชน” หรือ “คติชนวิทยา” เท่านั้นเอง ”

รศ.ดร.ปรมินท์ จารุวร
ผู้อำนวยการศูนย์คติชนวิทยา
อาจารย์ประจำภาควิชาภาษาไทย
คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คติชนในมุมมองของกรรมการบริหารศูนย์คติชนวิทยา

คติชนในมุมมองของ
กรรมการบริหารศูนย์คติชนวิทยา

“หากเราศึกษาตำนานเรื่องเล่าที่คนกลุ่มหนึ่งเล่าขานต่อ ๆ กันมาในกลุ่ม เพลงที่พวกเขาร้องด้วยกัน เสื้อผ้าที่เขาใส่ อาหารที่เขากิน ศิลปะวัตถุที่เขาสร้างสรรค์ ความเชื่อที่เขามีร่วมกัน การแสดง ประเพณี และวิถีปฏิบัติของเขา นั่นคือการศึกษาคติชน (folklore) ที่เป็นอัตลักษณ์ (identity) ของ folk กลุ่มนั้นๆ”

ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.ศิราพร ณ ถลาง 
อดีตผู้อำนวยการศูนย์คติชนวิทยา 
(พ.ศ.๒๕๔๒-๒๕๕๐)

 

“หากเราศึกษาตำนานเรื่องเล่าที่คนกลุ่มหนึ่งเล่าขานต่อ ๆ กันมาในกลุ่ม เพลงที่พวกเขาร้องด้วยกัน เสื้อผ้าที่เขาใส่ อาหารที่เขากิน ศิลปะวัตถุที่เขาสร้างสรรค์ ความเชื่อที่เขามีร่วมกัน การแสดง ประเพณี และวิถีปฏิบัติของเขา นั่นคือการศึกษาคติชน (folklore) ที่เป็นอัตลักษณ์ (identity) ของ folk กลุ่มนั้นๆ”

ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.ศิราพร ณ ถลาง 
อดีตผู้อำนวยการศูนย์คติชนวิทยา 
(พ.ศ.๒๕๔๒-๒๕๕๐)

 

“หากเราศึกษาตำนานเรื่องเล่าที่คนกลุ่มหนึ่งเล่าขานต่อ ๆ กันมาในกลุ่ม เพลงที่พวกเขาร้องด้วยกัน เสื้อผ้าที่เขาใส่ อาหารที่เขากิน ศิลปะวัตถุที่เขาสร้างสรรค์ ความเชื่อที่เขามีร่วมกัน การแสดง ประเพณี และวิถีปฏิบัติของเขา นั่นคือการศึกษาคติชน (folklore) ที่เป็นอัตลักษณ์ (identity) ของ folk กลุ่มนั้นๆ”

ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.ศิราพร ณ ถลาง 
อดีตผู้อำนวยการศูนย์คติชนวิทยา 
(พ.ศ.๒๕๔๒-๒๕๕๐)

 

“โลกปัจจุบัน การวิจัยเพียงศาสตร์เดียว อาจไม่พอที่จะเข้าใจปัญหาสังคมที่ซับซ้อนได้ งานวิจัยแบบไร้กำแพงทางวิชาการ (non-boundary discipline) เช่นงานวิจัยแบบสหวิทยาการจึงจะให้คำตอบที่รอบด้าน คติชนวิทยาเป็นศาสตร์หนึ่งที่จะช่วยให้เข้าใจวัฒนธรรมรากเหง้าที่มีการเปลี่ยนแปลงเรื่อยมาของกลุ่มชนที่ศึกษาวิจัย จึงไม่ตก trend แต่อย่างใด

นอกจากนี้ การทำงานร่วมกันกับศาสตร์อื่นจะช่วยเปิดมุมมองของนักวิจัยให้กว้างขวางขึ้น และยอมรับฟังความเห็นคนอื่นมากขึ้น” 

ศาสตราจารย์สุกัญญา สุจฉายา 
อดีตผู้อำนวยการศูนย์คติชนวิทยา 
(พ.ศ.๒๕๕๐-๒๕๕๗)

“โลกปัจจุบัน การวิจัยเพียงศาสตร์เดียว อาจไม่พอที่จะเข้าใจปัญหาสังคมที่ซับซ้อนได้ งานวิจัยแบบไร้กำแพงทางวิชาการ (non-boundary discipline) เช่นงานวิจัยแบบสหวิทยาการจึงจะให้คำตอบที่รอบด้าน คติชนวิทยาเป็นศาสตร์หนึ่งที่จะช่วยให้เข้าใจวัฒนธรรมรากเหง้าที่มีการเปลี่ยนแปลงเรื่อยมาของกลุ่มชนที่ศึกษาวิจัย จึงไม่ตก trend แต่อย่างใด

นอกจากนี้ การทำงานร่วมกันกับศาสตร์อื่นจะช่วยเปิดมุมมองของนักวิจัยให้กว้างขวางขึ้น และยอมรับฟังความเห็นคนอื่นมากขึ้น” 

ศาสตราจารย์สุกัญญา สุจฉายา 
อดีตผู้อำนวยการศูนย์คติชนวิทยา 
(พ.ศ.๒๕๕๐-๒๕๕๗)

“หากเราศึกษาตำนานเรื่องเล่าที่คนกลุ่มหนึ่งเล่าขานต่อ ๆ กันมาในกลุ่ม เพลงที่พวกเขาร้องด้วยกัน เสื้อผ้าที่เขาใส่ อาหารที่เขากิน ศิลปะวัตถุที่เขาสร้างสรรค์ ความเชื่อที่เขามีร่วมกัน การแสดง ประเพณี และวิถีปฏิบัติของเขา นั่นคือการศึกษาคติชน (folklore) ที่เป็นอัตลักษณ์ (identity) ของ folk กลุ่มนั้นๆ”

ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.ศิราพร ณ ถลาง 
อดีตผู้อำนวยการศูนย์คติชนวิทยา 
(พ.ศ.๒๕๔๒-๒๕๕๐)

 

“โลกปัจจุบัน การวิจัยเพียงศาสตร์เดียว อาจไม่พอที่จะเข้าใจปัญหาสังคมที่ซับซ้อนได้ งานวิจัยแบบไร้กำแพงทางวิชาการ (non-boundary discipline) เช่นงานวิจัยแบบสหวิทยาการจึงจะให้คำตอบที่รอบด้าน คติชนวิทยาเป็นศาสตร์หนึ่งที่จะช่วยให้เข้าใจวัฒนธรรมรากเหง้าที่มีการเปลี่ยนแปลงเรื่อยมาของกลุ่มชนที่ศึกษาวิจัย จึงไม่ตก trend แต่อย่างใด

นอกจากนี้ การทำงานร่วมกันกับศาสตร์อื่นจะช่วยเปิดมุมมองของนักวิจัยให้กว้างขวางขึ้น และยอมรับฟังความเห็นคนอื่นมากขึ้น” 

ศาสตราจารย์สุกัญญา สุจฉายา 
อดีตผู้อำนวยการศูนย์คติชนวิทยา 
(พ.ศ.๒๕๕๐-๒๕๕๗)

 

“โลกปัจจุบัน การวิจัยเพียงศาสตร์เดียว อาจไม่พอที่จะเข้าใจปัญหาสังคมที่ซับซ้อนได้ งานวิจัยแบบไร้กำแพงทางวิชาการ (non-boundary discipline) เช่นงานวิจัยแบบสหวิทยาการจึงจะให้คำตอบที่รอบด้าน คติชนวิทยาเป็นศาสตร์หนึ่งที่จะช่วยให้เข้าใจวัฒนธรรมรากเหง้าที่มีการเปลี่ยนแปลงเรื่อยมาของกลุ่มชนที่ศึกษาวิจัย จึงไม่ตก trend แต่อย่างใด

นอกจากนี้ การทำงานร่วมกันกับศาสตร์อื่นจะช่วยเปิดมุมมองของนักวิจัยให้กว้างขวางขึ้น และยอมรับฟังความเห็นคนอื่นมากขึ้น” 

ศาสตราจารย์สุกัญญา สุจฉายา 
อดีตผู้อำนวยการศูนย์คติชนวิทยา 
(พ.ศ.๒๕๕๐-๒๕๕๗)

“ปริทัศน์หนังสือผลงานของศูนย์คติชนวิทยา”

“ศิราพร ณ ถลาง และสุกัญญา ภัทราชัย, (บรรณาธิการ). คติชนกับคนไทย-ไท: รวมบทความทางด้านคติชนวิทยาในบริบททางสังคม. (พิมพ์ครั้งที่ ๒). กรุงเทพฯ: โครงการตำราคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๒. (๒๖๖ หน้า)”

“ปริทัศน์หนังสือผลงานของศูนย์คติชนวิทยา”

“ประคอง นิมมานเหมินท์. นิทานพื้นบ้านศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ ๓). กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๕๑. (๒๒๐ หน้า)”

เมื่อเราศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคติชนกับประเด็นธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แน่นอนอาจทำให้มองเห็นถึงการสร้างสรรค์ ดัดแปลง แปรรูปข้อมูลของคติชนจนทำให้เกิดรูปแบบใหม่ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเล่า ความเชื่อ ประเพณีและพิธีกรรม เหล่านี้ล้วนสะท้อนให้เห็นความโยงใยแบบข้ามศาสตร์ระหว่างคติชนวิทยา (folklore) กับนิเวศวิทยา (ecology) มุมมองดังกล่าวนี้สอดคล้องกับกระบวนทัศน์ใหม่ที่เรียกว่า “คติชนเชิงนิเวศ” (ecological folklore) อันเป็นกรอบแนวคิดที่น่าสนใจอีกอย่างหนึ่งในการศึกษาคติชนวิทยาร่วมสมัย”

รศ.ดร.ปฐม หงษ์สุวรรณ
อดีตผู้อำนวยการสถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
(พ.ศ.๒๕๕๔-๒๕๖๓)

 

“โลกปัจจุบัน การวิจัยเพียงศาสตร์เดียว อาจไม่พอที่จะเข้าใจปัญหาสังคมที่ซับซ้อนได้ งานวิจัยแบบไร้กำแพงทางวิชาการ (non-boundary discipline) เช่นงานวิจัยแบบสหวิทยาการจึงจะให้คำตอบที่รอบด้าน คติชนวิทยาเป็นศาสตร์หนึ่งที่จะช่วยให้เข้าใจวัฒนธรรมรากเหง้าที่มีการเปลี่ยนแปลงเรื่อยมาของกลุ่มชนที่ศึกษาวิจัย จึงไม่ตก trend แต่อย่างใด

นอกจากนี้ การทำงานร่วมกันกับศาสตร์อื่นจะช่วยเปิดมุมมองของนักวิจัยให้กว้างขวางขึ้น และยอมรับฟังความเห็นคนอื่นมากขึ้น” 

ศาสตราจารย์สุกัญญา สุจฉายา 
อดีตผู้อำนวยการศูนย์คติชนวิทยา 
(พ.ศ.๒๕๕๐-๒๕๕๗)

“ปริทัศน์หนังสือผลงานของศูนย์คติชนวิทยา”

“ศิราพร ณ ถลาง และสุกัญญา ภัทราชัย, (บรรณาธิการ). คติชนกับคนไทย-ไท: รวมบทความทางด้านคติชนวิทยาในบริบททางสังคม. (พิมพ์ครั้งที่ ๒). กรุงเทพฯ: โครงการตำราคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๒. (๒๖๖ หน้า)”

“ปริทัศน์หนังสือผลงานของศูนย์คติชนวิทยา”

“ประคอง นิมมานเหมินท์. นิทานพื้นบ้านศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ ๓). กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๕๑. (๒๒๐ หน้า)”

เมื่อเราศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคติชนกับประเด็นธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แน่นอนอาจทำให้มองเห็นถึงการสร้างสรรค์ ดัดแปลง แปรรูปข้อมูลของคติชนจนทำให้เกิดรูปแบบใหม่ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเล่า ความเชื่อ ประเพณีและพิธีกรรม เหล่านี้ล้วนสะท้อนให้เห็นความโยงใยแบบข้ามศาสตร์ระหว่างคติชนวิทยา (folklore) กับนิเวศวิทยา (ecology) มุมมองดังกล่าวนี้สอดคล้องกับกระบวนทัศน์ใหม่ที่เรียกว่า “คติชนเชิงนิเวศ” (ecological folklore) อันเป็นกรอบแนวคิดที่น่าสนใจอีกอย่างหนึ่งในการศึกษาคติชนวิทยาร่วมสมัย”

รศ.ดร.ปฐม หงษ์สุวรรณ
อดีตผู้อำนวยการสถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
(พ.ศ.๒๕๕๔-๒๕๖๓)

 

“หากเราศึกษาตำนานเรื่องเล่าที่คนกลุ่มหนึ่งเล่าขานต่อ ๆ กันมาในกลุ่ม เพลงที่พวกเขาร้องด้วยกัน เสื้อผ้าที่เขาใส่ อาหารที่เขากิน ศิลปะวัตถุที่เขาสร้างสรรค์ ความเชื่อที่เขามีร่วมกัน การแสดง ประเพณี และวิถีปฏิบัติของเขา นั่นคือการศึกษาคติชน (folklore) ที่เป็นอัตลักษณ์ (identity) ของ folk กลุ่มนั้นๆ”

ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.ศิราพร ณ ถลาง 
อดีตผู้อำนวยการศูนย์คติชนวิทยา 
(พ.ศ.๒๕๔๒-๒๕๕๐)

 

“โลกปัจจุบัน การวิจัยเพียงศาสตร์เดียว อาจไม่พอที่จะเข้าใจปัญหาสังคมที่ซับซ้อนได้ งานวิจัยแบบไร้กำแพงทางวิชาการ (non-boundary discipline) เช่นงานวิจัยแบบสหวิทยาการจึงจะให้คำตอบที่รอบด้าน คติชนวิทยาเป็นศาสตร์หนึ่งที่จะช่วยให้เข้าใจวัฒนธรรมรากเหง้าที่มีการเปลี่ยนแปลงเรื่อยมาของกลุ่มชนที่ศึกษาวิจัย จึงไม่ตก trend แต่อย่างใด

นอกจากนี้ การทำงานร่วมกันกับศาสตร์อื่นจะช่วยเปิดมุมมองของนักวิจัยให้กว้างขวางขึ้น และยอมรับฟังความเห็นคนอื่นมากขึ้น” 

ศาสตราจารย์สุกัญญา สุจฉายา 
อดีตผู้อำนวยการศูนย์คติชนวิทยา 
(พ.ศ.๒๕๕๐-๒๕๕๗)

 

“โลกปัจจุบัน การวิจัยเพียงศาสตร์เดียว อาจไม่พอที่จะเข้าใจปัญหาสังคมที่ซับซ้อนได้ งานวิจัยแบบไร้กำแพงทางวิชาการ (non-boundary discipline) เช่นงานวิจัยแบบสหวิทยาการจึงจะให้คำตอบที่รอบด้าน คติชนวิทยาเป็นศาสตร์หนึ่งที่จะช่วยให้เข้าใจวัฒนธรรมรากเหง้าที่มีการเปลี่ยนแปลงเรื่อยมาของกลุ่มชนที่ศึกษาวิจัย จึงไม่ตก trend แต่อย่างใด

นอกจากนี้ การทำงานร่วมกันกับศาสตร์อื่นจะช่วยเปิดมุมมองของนักวิจัยให้กว้างขวางขึ้น และยอมรับฟังความเห็นคนอื่นมากขึ้น” 

ศาสตราจารย์สุกัญญา สุจฉายา 
อดีตผู้อำนวยการศูนย์คติชนวิทยา 
(พ.ศ.๒๕๕๐-๒๕๕๗)

“ปริทัศน์หนังสือผลงานของศูนย์คติชนวิทยา”

“ศิราพร ณ ถลาง และสุกัญญา ภัทราชัย, (บรรณาธิการ). คติชนกับคนไทย-ไท: รวมบทความทางด้านคติชนวิทยาในบริบททางสังคม. (พิมพ์ครั้งที่ ๒). กรุงเทพฯ: โครงการตำราคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๒. (๒๖๖ หน้า)”

“ปริทัศน์หนังสือผลงานของศูนย์คติชนวิทยา”

“ประคอง นิมมานเหมินท์. นิทานพื้นบ้านศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ ๓). กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๕๑. (๒๒๐ หน้า)”

เมื่อเราศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคติชนกับประเด็นธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แน่นอนอาจทำให้มองเห็นถึงการสร้างสรรค์ ดัดแปลง แปรรูปข้อมูลของคติชนจนทำให้เกิดรูปแบบใหม่ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเล่า ความเชื่อ ประเพณีและพิธีกรรม เหล่านี้ล้วนสะท้อนให้เห็นความโยงใยแบบข้ามศาสตร์ระหว่างคติชนวิทยา (folklore) กับนิเวศวิทยา (ecology) มุมมองดังกล่าวนี้สอดคล้องกับกระบวนทัศน์ใหม่ที่เรียกว่า “คติชนเชิงนิเวศ” (ecological folklore) อันเป็นกรอบแนวคิดที่น่าสนใจอีกอย่างหนึ่งในการศึกษาคติชนวิทยาร่วมสมัย”

รศ.ดร.ปฐม หงษ์สุวรรณ
อดีตผู้อำนวยการสถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
(พ.ศ.๒๕๕๔-๒๕๖๓)

 

“โลกปัจจุบัน การวิจัยเพียงศาสตร์เดียว อาจไม่พอที่จะเข้าใจปัญหาสังคมที่ซับซ้อนได้ งานวิจัยแบบไร้กำแพงทางวิชาการ (non-boundary discipline) เช่นงานวิจัยแบบสหวิทยาการจึงจะให้คำตอบที่รอบด้าน คติชนวิทยาเป็นศาสตร์หนึ่งที่จะช่วยให้เข้าใจวัฒนธรรมรากเหง้าที่มีการเปลี่ยนแปลงเรื่อยมาของกลุ่มชนที่ศึกษาวิจัย จึงไม่ตก trend แต่อย่างใด

นอกจากนี้ การทำงานร่วมกันกับศาสตร์อื่นจะช่วยเปิดมุมมองของนักวิจัยให้กว้างขวางขึ้น และยอมรับฟังความเห็นคนอื่นมากขึ้น” 

ศาสตราจารย์สุกัญญา สุจฉายา 
อดีตผู้อำนวยการศูนย์คติชนวิทยา 
(พ.ศ.๒๕๕๐-๒๕๕๗)

“ปริทัศน์หนังสือผลงานของศูนย์คติชนวิทยา”

“ศิราพร ณ ถลาง และสุกัญญา ภัทราชัย, (บรรณาธิการ). คติชนกับคนไทย-ไท: รวมบทความทางด้านคติชนวิทยาในบริบททางสังคม. (พิมพ์ครั้งที่ ๒). กรุงเทพฯ: โครงการตำราคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๒. (๒๖๖ หน้า)”

“ปริทัศน์หนังสือผลงานของศูนย์คติชนวิทยา”

“ประคอง นิมมานเหมินท์. นิทานพื้นบ้านศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ ๓). กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๕๑. (๒๒๐ หน้า)”

เมื่อเราศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคติชนกับประเด็นธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แน่นอนอาจทำให้มองเห็นถึงการสร้างสรรค์ ดัดแปลง แปรรูปข้อมูลของคติชนจนทำให้เกิดรูปแบบใหม่ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเล่า ความเชื่อ ประเพณีและพิธีกรรม เหล่านี้ล้วนสะท้อนให้เห็นความโยงใยแบบข้ามศาสตร์ระหว่างคติชนวิทยา (folklore) กับนิเวศวิทยา (ecology) มุมมองดังกล่าวนี้สอดคล้องกับกระบวนทัศน์ใหม่ที่เรียกว่า “คติชนเชิงนิเวศ” (ecological folklore) อันเป็นกรอบแนวคิดที่น่าสนใจอีกอย่างหนึ่งในการศึกษาคติชนวิทยาร่วมสมัย”

รศ.ดร.ปฐม หงษ์สุวรรณ
อดีตผู้อำนวยการสถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
(พ.ศ.๒๕๕๔-๒๕๖๓)

 

ขอเชิญนักคติชนวิทยา / ผู้สอนวิชาทางคติชนวิทยา / นักวิชาการที่นำคติชนไปใช้ในศาสตร์ต่าง ๆ
ร่วมส่งข้อมูลประวัติ ผลงาน และความสนใจของท่าน เพื่อจัดทำทำเนียบนักคติชนวิทยาเผยแพร่ในเว็บไซต์ของศูนย์ฯ ต่อไป
โดยกรอกข้อมูลในแบบฟอร์มข้างล่างนี้
https://forms.gle/Qb5fCHX3pR4uPjzA8

ปริทัศน์หนังสือผลงานของศูนย์คติชนวิทยา

คติชนกับคนไทย-ไท: รวมบทความทางด้านคติชนวิทยาในบริบททางสังคม
ศิราพร ณ ถลาง และสุกัญญา ภัทราชัย, (บรรณาธิการ).

นิทานพื้นบ้านศึกษา
ประคอง นิมมานเหมินท์.

เพลงพื้นบ้านศึกษา
สุกัญญา สุขฉายา.

ไวยากรณ์ของนิทาน
ศิราพร ณ ถลาง, (บรรณาธิการ).

ศูนย์คติชนวิทยา

ผู้ประสานงานเว็บไซต์และเฟซบุ๊กแฟนเพจของศูนย์คติชนวิทยา

OLYMPUS DIGITAL CAMERA

ชุตินันท์ มาลาธรรม

wannarong-sawasdee1-sq

วันณรงค์ สวัสดี

S__78233871

ธนภรณ์ อ่ำอำไพ