สรัญญา ชูโชติแก้ว

สรัญญา ชูโชติแก้ว

  • ตำแหน่งวิชาการ / คุณวุฒิ : อาจารย์ ดร.

  • หน่วยงานที่สังกัด : สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  • วิทยานิพนธ์
    • มหาบัณฑิต : พืชในมุมมองของชาวญี่ปุ่น: จากกรณีศึกษาอนุภาคการแปลงร่างของพืชในบทละครโน
    • ดุษฎีบัณฑิต : ภาพลักษณ์ของพระพุทธเจ้าในวัฒนธรรมการละเล่นสมัยเอโดะ: จากกรณีศึกษาเกมซุโงะโระกุ

  • ผลงานวิชาการ :
    • Choochotkaew, S. (2020). Neri-kuyō: Ascending to Paradise with the Bodhisattvas. In C.S.Tămaș (Ed.), Beliefs, Ritual Practices, and Celebrations in Kansai, pp. 63-91. Bucharest, Romania: Editura Pro Universitaria.
    • สรัญญา ชูโชติแก้ว. (๒๕๖๒). ภาพลักษณ์ของกล้วยญี่ปุ่น (Musa basjoo) ในวรรณคดีโบราณ โคะโตะวะสะ และนิทานพื้นบ้านของญี่ปุ่น. เอกสารหลังการประชุมวิชาการระดับชาติสมาคมญี่ปุ่นศึกษาแห่งประเทศไทย ครั้งที่ ๑๓ “จาก เฮเซ สู่ เรวะ”. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ธันวาคม ๒๕๖๒, น. ๑๑๘-๑๓๘.
    • สรัญญา ชูโชติแก้ว. (๒๕๖๒). การศึกษาเปรียบเทียบภาพลักษณ์ของพระพุทธเจ้าในพิธีกรรมทางพุทธศาสนาของไทยกับญี่ปุ่น. การประชุมเครือข่ายญี่ปุ่นศึกษาในเอเชีย ครั้งที่ ๔. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กันยายน ๒๕๖๒, น. ๕๕-๖๘. (ภาษาญี่ปุ่น) (サランヤー・シューショートケオ(2019)「日本とタイの仏教行事におけるブッダの表象」アジア日本研究ネットワーク第4回会議『報告書』Vol.4. 於:チュラーロンコーン大学. 2019年9月. pp.55-68.)
    • สรัญญา ชูโชติแก้ว. (๒๕๖๐). พลวัตรภาพลักษณ์ของพระพุทธเจ้าในวัฒนธรรมการละเล่น จากอดีตจนถึงสมัยเอโดะ. วารสารรวมบทความวิจัยญี่ปุ่นศึกษา. เมษายน ๒๕๖๐. เล่มที่ ๑๕, น. ๕๓-๗๒. (ภาษาญี่ปุ่น) (サランヤー・シューショートケオ(๒๐๑๗)「遊戯における仏の表象化の変遷-江戸時代とそれ以前を中心に-」『日本研究論集』第15号、チュラーロンコーン大学・大阪大学、pp. 53-72)
    • สรัญญา ชูโชติแก้ว. (๒๕๕๙). ภาพลักษณ์ของพระพุทธเจ้าในวัฒนธรรมการละเล่นสมัยเอโดะ จากกรณีศึกษาการใช้พระพุทธรูปปางประสูติ. ภาษาและวัฒนธรรมญี่ปุ่นศึกษา. ธันวาคม ๒๕๕๙. เล่มที่ ๒๖, น. ๗๒-๘๓. (ภาษาญี่ปุ่น) (サランヤー・シューショートケオ(2016)「近世娯楽文化における仏の表象-誕生仏を中心に-」『日本語・日本文化研究』第26号、大阪大学大学院言語文化研究科、pp. 72-83)

  • รายวิชาที่สอน : ภาษาญี่ปุ่นสำหรับการท่องเที่ยว, ศิลปวัฒนธรรมดั้งเดิมของญี่ปุ่นในโลกปัจจุบัน

  • ความเชี่ยวชาญ / ความสนใจ : ญี่ปุ่นศึกษา, พืชในวัฒนธรรมญี่ปุ่น, นิทานพื้นบ้านญี่ปุ่น, บทละครโน, การละเล่นของญี่ปุ่นในสมัยเอโดะ, วัฒนธรรมชาวเมืองในสมัยเอโดะ