รัตนพล ชื่นค้า

รัตนพล ชื่นค้า

  • ตำแหน่งวิชาการ / คุณวุฒิ : ผู้ช่วยศาสตราจารย์

  • หน่วยงานที่สังกัด : ภาควิชาวรรณคดี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  • วิทยานิพนธ์
  • ผลงานวิชาการ :
    • รัตนพล ชื่นค้า. (๒๕๖๐). “บทบาทของนิทานเรื่องนางสิบสอง-พระรถเมรีที่มีต่อชุมชน: กรณีศึกษาที่บ้านมุง จังหวัดพิษณุโลก และพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี” ใน นางสิบสอง-พระรถเมรีศึกษา. กรุงเทพฯ: สถาบันภาษาศาสตร์และวัฒนธรรมศึกษาราชนครินทร์และคณะกรรมการฝ่ายวิจัย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, น. ๓๑๗-๓๔๘.
    • รัตนพล ชื่นค้า. (๒๕๕๘). “คติชนคนห้วยกบ: การดำรงอยู่และบทบาทของความเชื่อและพิธีกรรมที่หมู่บ้านห้วยกบ” ใน ชุมชน ความทรงจำและพิธีกรรมกับการจัดการชุมชน. กรุงเทพฯ: ภาควิชาวรรณคดี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, น. ๙๑-๑๔๔.
    • รัตนพล ชื่นค้า. (๒๕๕๘). “ความสัมพันธ์ระหว่างอนุภาคในภาพหนังใหญ่ ‘ชุดนางสีดา’ ของสำนักพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติกับคำพากย์-เจรจาเรื่องรามเกียรติ์” ใน นาฏยวรรณคดีสโมสร. กรุงเทพฯ: ภาควิชาวรรณคดีและคณะกรรมการฝ่ายวิจัย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, น. ๒๓๙-๒๖๙.
    • รัตนพล ชื่นค้า. (๒๕๕๘). “วัฒนธรรมการแสดงที่ปรากฏในศิลปะการแสดงละครลิง” ใน หนังสือรวมบทความประกอบการประชุมวิชาการทางวัฒนธรรมแห่งชาติ “วิจัยวัฒนธรรม ครั้งที่ ๕” วัฒนธรรมในชีวิต : ชีวิตในวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม, น. ๗๒-๘๗.
    • รัตนพล ชื่นค้า. (๒๕๕๕). “การพากย์-เจรจาหนังใหญ่ : มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมที่กำลังเลือนหาย.” วารสารไทยศึกษา, ๘(๒) (สิงหาคม ๒๕๕๕-มกราคม ๒๕๕๖), น. ๑๒๓-๑๕๐.

  • รายวิชาที่สอน : เรื่องเฉพาะทางวรรณคดีไทย (นิทานพื้นบ้าน), เรื่องเฉพาะทางวรรณคดีไทย (ตำนานและพิธีกรรม), วรรณคดีการแสดง, วรรณคดีการแสดงพื้นบ้าน

  • ความเชี่ยวชาญ / ความสนใจ : คติชนวิทยา, วรรรณคดีไทย, วรรณคดีการแสดง