ปี ๒๕๓๐
ประคอง นิมมานเหมินท์ – มหากาพย์เรื่องท้าวบาเจือง : การศึกษาเชิงวิเคราะห์
ปี ๒๕๔๗
ปรมินท์ จารุวร – ความขัดแย้งและการประนีประนอมในตำนานปรัมปราไทย
ปี ๒๕๔๘
ปี ๒๕๕๒
อภิลักษณ์ เกษมผลกูล – ตำนานพระศรีอาริย์ในสังคมไทย: การสร้างสรรค์และบทบาท
ปี ๒๕๕๓
สุรชัย ชินบุตร – การสืบทอดอำนาจศักดิ์สิทธิ์ของหมอเหยาและอัตลักษณ์ของผู้ไทในพิธีเหยาเลี้ยงผี: กรณีศึกษาตำบลโนนยาง อำเภอหนองสูง จังหวัดมุกดาหาร
ปี ๒๕๕๔
นิตยา วรรณกิตร์ – พลวัตของลัทธิพิธีการนับถือเจ้าหลวงคำแดงของกลุ่มไทย
ภาณุพงศ์ อุดมศิลป์ – ลัทธิพิธีการนับถือเจ้าแม่สองนางกับชุมชนชายฝั่งลุ่มแม่น้ำโขง
ปี ๒๕๕๕
ปี ๒๕๕๖
ปี ๒๕๕๗
ประเสริฐ รุนรา – พิธีสวดนพเคราะห์: พลวัตของพิธีกรรมประดิษฐ์ในสังคมไทยปัจจุบัน
วัชราภรณ์ ดิษฐป้าน – พระอุปคุต: การสืบทอดและการผลิตซ้ำความเชื่อ ตำนาน และพิธีกรรมในสังคมไทยปัจจุบัน
ปี ๒๕๕๘
ปี ๒๕๕๙
วริศรา อนันตโท – จามเทวีบูชา : การผลิตซ้ำตำนานและการสร้างพิธีบวงสรวงในสังคมไทยร่วมสมัย
สารภี ขาวดี – ประเพณีแซนโฎนตาบูชาบรรพบุรุษ จังหวัดสุรินทร์: การประกอบสร้างประเพณีประดิษฐ์ และบทบาท
ไอยเรศ บุญฤทธิ์ – วัตถุมงคลทางดนตรีไทยในสังคมไทยร่วมสมัย: การสร้าง ความหมาย และบทบาท
ปี ๒๕๖๐
อภิวัฒน์ สุธรรมดี – ลัทธิพิธีบูชาพระพรหมในสังคมไทยร่วมสมัย: พลวัตของตำนาน ความเชื่อ และพิธีกรรม
ปี ๒๕๖๒
ปี ๒๕๖๔
พจมาน มูลทรัพย์ – คติชนสร้างสรรค์จากความเชื่อเรื่องพญานาคในภาคอีสานตอนบนของประเทศไทย
ปี ๒๕๖๕
เนตรนภา วรวงษ์ – อัตลักษณ์ความเป็นมอญกับประเพณีพิธีกรรมของชาวมอญที่บ้านวังกะ อำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี
ปี ๒๕๖๗
ชุตินันท์ มาลาธรรม – พลวัตและบทบาทของคติชนและวิถีชนของผู้เลี้ยงควายในจังหวัดชลบุรี
ปี ๒๕๐๙
ประคอง นิมมานเหมินท์ – ลักษณะวรรณกรรมภาคเหนือ
ปี ๒๕๒๑
กัญญรัตน์ เวชชศาสตร์ – การศึกษาเปรียบเทียบเรื่องศรีธนญชัยฉบับต่าง ๆ ในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้
ปี ๒๕๒๒
ศิราพร ฐิตะฐาน – รามเกียรติ์: ศึกษาในแง่การแพร่กระจายของนิทาน
ปี ๒๕๒๓
สุกัญญา สุจฉายา – เพลงปฏิพากย์: การศึกษาในเชิงวรรณคดีวิเคราะห์
ปี ๒๕๒๙
เอื้อนทิพย์ พีระเสถียร – การศึกษาเชิงวิเคราะห์แบบเรื่องและอนุภาคในปัญญาสชาดก
ปี ๒๕๓๙
ภาณุพงศ์ อุดมศิลป์ – วรรณกรรมไทพวน: ความสัมพันธ์กับสังคม
อัควิทย์ เรืองรอง – การศึกษาเชิงวิเคราะห์วรรณกรรมเรื่องแก้วหน้าม้า
ปี ๒๕๔๒
ปฐม หงษ์สุวรรณ – การวิเคราะห์ตำนานสุริยคราสจันทรคราสของชนชาติไท
ปรมินท์ จารุวร – การสืบทอดทำนองสวดและประเพณีสวดพระมาลัยที่บ้านหนองขาว จังหวัดกาญจนบุรี
พิชญาณี เชิงคีรี – การศึกษาวรรณกรรมนิทานไทยตามทฤษฎีโครงสร้างของวลาดิมีร์ พรอพพ์
ปี ๒๕๔๕
วัชราภรณ์ ดิษฐป้าน – แบบเรื่องนิทานสังข์ทอง: การแพร่กระจายและความหลายหลาก
ปี ๒๕๔๖
ปี ๒๕๔๗
กิจจา รัตนการุณย์ – นิทานในเกมคอมพิวเตอร์: การสืบสานและการสร้างสรรค์
ชมชนก ทรงมิตร – พิธีรำผีของคนไทยเชื้อสายมอญ: ความหมายและบทบาทในการสืบทอดทางวัฒนธรรม
นิตยา วรรณกิตร์ – ลักษณะเด่นของตัวละครเอกกำพร้าในชาดกพื้นบ้านล้านนา
ปรียารัตน์ เชาวลิตประพันธ์ – อนุภาคสมพาสที่ผิดธรรมชาติในนิทานไทย
อภิลักษณ์ เกษมผลกูล – เพลงบอกบุญ จังหวัดตราด: กลวิธีโน้มน้าวใจและบทบาทต่อสังคม
ปี ๒๕๔๘
ปกกสิณ ชาทิพฮด – บทบาทของบทร้องประกอบพิธีกรรมเหยาของชาวผู้ไท
บุษรา เรืองไทย – บทบาทของลิงในนิทานไทย
สายป่าน ปุริวรรณชนะ – ลักษณะเด่นของตำนานประจำถิ่นริมแม่น้ำและชายฝั่งทะเลภาคกลางของไทย
ปี ๒๕๕๐
ราชันย์ เวียงเพิ่ม – พระคเณศ: ตำนานและพิธีกรรมในสังคมไทย
อนุชา พิมศักดิ์ – ตำนานพระเจ้าห้าพระองค์: โครงสร้าง เนื้อหาและบทบาทในสังคมไทย
ปี ๒๕๕๑
นรุตม์ คุปต์ธนโรจน์ – นิทานจีนชุดยี่สิบสี่ยอดกตัญญู: การดำรงอยู่และวิธีการนำเสนอในสังคมไทยปัจจุบัน
พรรณราย ชาญหิรัญ – บทบาทของจระเข้ในนิทานไทย
ปี ๒๕๕๒
ชลธิชา นิสัยสัตย์ – “ยักษ์” ในนิทานพื้นบ้านภาคเหนือของไทย: บทบาทและความหมายเชิงสัญลักษณ์
ณีรนุช แมลงภู่ – อนุภาคการให้รางวัลและการลงโทษในนิทานพื้นบ้านไทย: ลักษณะและความหมายเชิงวัฒนธรรม
ปี ๒๕๕๓
พริมรตา จันทรโชติกุล – หนุมานในหนังสือการ์ตูนไทยปัจจุบัน
ปี ๒๕๕๔
ดวงหทัย ลือดัง – การสืบทอดประเพณีเทศน์กาเผือกในชุมชนไทยวน อำเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี
รัตนพล ชื่นค้า – การสืบทอดการพากย์-เจรจาหนังใหญ่และโขนเรื่องรามเกียรติ์ของครูวีระ มีเหมือน
อัมพิกา ประทุมมา – พลวัตและบทบาทของผีอารักษ์บ้าน กรณีศึกษาบ้านไม้ลุงขน อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย
ปี ๒๕๕๕
พัชนียา บุนนาค – คติชนเกี่ยวกับขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรีและจังหวัดสุพรรณบุรี
ปี ๒๕๕๖
ปี ๒๕๕๗
อวยพร แสงคำ – ลักษณะเด่นของนวนิยายไทยที่มีตัวละครเป็นครุฑและนาค
ปี ๒๕๕๘
สร้อยสุดา ไชยเหล็ก – ตำนานไท้ส่วนเอี๊ยะ ๖๐ องค์และพิธีแก้ปีชงในศาสนสถานจีนในสังคมไทยร่วมสมัย
ศรัณย์ภัทร์ บุญฮก – คติชนในนวนิยายของพงศกร
ปี ๒๕๕๙
กรีธากร สังขกูล – ประเพณีขึ้นเขาพนมรุ้งในฐานะ “ประเพณีสร้างสรรค์” ในสังคมไทยร่วมสมัย
ณัฐวัตร อินทร์ภักดี – “คติชนสร้างสรรค์” จากความเชื่อเรื่องครูหมอโนราที่ตำบลท่าแค จังหวัดพัทลุง
นิชานันท์ นันทศิริศรณ์ – แดนอรัญ แสงทอง ในฐานะนักเล่านิทาน
ปี ๒๕๖๐
อัญมาศ ภู่เพชร – นิทานเรื่องศรีธนญชัยในสื่อสิ่งพิมพ์ไทยร่วมสมัย
ปี ๒๕๖๕
ปี ๒๕๖๖
ปฏิวัติ มาพบ – ความเชื่อและพิธีกรรมในชุมชนอีสานที่มีภูมินามเกี่ยวข้องกับเรื่องคันธนาม