รองศาตราจารย์ ดร.อารตี แก้วสัมฤทธิ์

Associate Professor Dr. Aratee Kaewsumrit

คุณวุฒิ

  • อักษรศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2540
  • อักษรศาสตร์มหาบัณฑิต (สาขาเยอรมัน) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2543
  • ดุษฎีบัณฑิต (Doktor der Philosophie (Dr. phil.)) สาขาวรรณคดีเยอรมัน, Universität Siegen สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี พ.ศ. 2550

ผลงานทางวิชาการ

  • “Studien zum Komplex des “Asiatischen” in Thomas Manns “Der Tod in Venedig” und “Der Zauberberg”” (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2543)
  • “”ฤาจะคือความเสื่อม”: ภาพของ “เอเชีย” ใน “ความตายที่เมืองเวนิซ” (Der Tod in Venedig) และ “ภูเขามนต์ขลัง” (Der Zauberberg) ของโธมัส มันน์ (Thomas Mann)”. ใน อักษรศาสตร์พิจารณ์ ฉบับที่ 4 ปีที่ 2 กรุงเทพฯ: อุษาการพิมพ์, 2542, หน้า 20-24.
  • “Der “fremder Gott” und sein “Schwarm” im “Tod in Venedig””. In: TDLV-Forum. Zeitschrift des Thailändischen Deutschlehrerverbands Nr. 5/2000, 14-19.
  • “”ภาพของเอเชียในเรื่อง “ความตายที่เมืองเวนิซ” (Der Tod in Venedig) และ “ภูเขามนต์ขลัง” (Der Zauberberg) ของ โธมัส มันน์”. ใน: บุษบาบรรณ รวมบทความทางวิชาการและบทแปลวรรณกรรมตะวันตกของคณาจารย์ภาควิชาภาษาตะวันตก คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544, หน้า 295-313
  • Asienbild und Asienmotiv bei Thomas Mann, Frankfurt/M. u.a.: Lang 2007. (Dissertation)
  • “ใต้เงาพระศาสดา เรื่องเล่าของเจ้าชายสยาม นิยายวิพากษ์วิจารณ์กระแสจักรวรรดินิยมของคาร์ล เดอริง”. ใน วารสารอักษรศาสตร์ ฉบับเกร็ดประวัติศาสตร์และการเปลี่ยนแปลงของภาษา. ปีที่ 38 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2552): 51-102.
  • “อาหารและเครื่องดื่มเยอรมันทางตอนกลาง: ภาพสะท้อนสังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่น”. ใน วารสารอักษรศาสตร์ ปีที่ 43 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2557): 173-232.
  • “Kritik des europäischen Überlegenheitsgedankens Anfang des 20. Jahrhunderts am Beispiel von Karl Döring: Im Schatten Buddhas. Roman eines siamesischen Prinzen”. In: Deutschland und Thailand. 150 Jahre Diplomatie und Völkerfreundschaft 1862 – 2012. Segnitz bei Würzburg: Zenos, 2014, 202-216.
  • “Die Darstellung Siams in Ernst von Hesse-Warteggs Siam: Das Reich des weissen Elefanten.” ใน วารสารมนุษยศาสตรปริทรรศน์ ปีที่ 40 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2561): 34-48.
  • “Drei Reisebeschreibungen über Thailand: Ehlers’ Im Sattel durch Indo-China, Hesse-Warteggs Siam: das Reich des weissen Elefanten und Hosséusʼ Durch König Tschulalongkorns Reich.” ใน วารสารอักษรศาสตร์ ปีที่ 47 ฉบับที่ 3 (2018): ฉบับ Supplementary (เดือนธันวาคม 2561): 27-76.

ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น

  • งานแปลนิทาน. ใน อำภา โอตระกูล (บรรณาธิการ). นิทานกริมม์ คลาสสิกเก่า เล่าใหม่. โครงการจัดพิมพ์ผลงานทางวิชาการของสาขาวิชาภาษาเยอรมัน เนื่องในวโรกาสเฉลิมฉลอง 60 พรรษาสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559: 73-82, 152-160.

การเข้าร่วมประชุมทางวิชาการ/อบรม

  • สัมมนาวิชาการระดับประเทศ ภาษาและวรรณคดีเยอรมัน ครั้งที่ 4 เสนอผลงานทางวิชาการ กลุ่มที่ 1 “Ein Vortrag über Thomas Mann” ณ ห้องสัญญา ธรรมศักดิ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วันที่ 23 มีนาคม 2550
  • ปาฐกถา Das Aseinmotiv in Thomas Manns Der Zauberberg ณ ห้อง 210 ชั้น 2 อาคารมหาจุฬาลงกรณ์ (ตึกเทวาลัย) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย