Asst. Prof. Dr. phil. Thanakon Kaewwipat
คุณวุฒิ
ดุษฎีบัณฑิต (Doktor der Philosophie (Dr. phil.)) สาขาภาษาเยอรมันในฐานะภาษาต่างประเทศ (Deutsch als Fremd- und Zweitsprache/Sprachlehr- und -lernforschung) มหาวิทยาลัยคัสเซิล (Universität Kassel) สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (summa cum laude) พ.ศ. 2550
มหาบัณฑิต (Master of Arts) สาขาภาษาเยอรมันในฐานะภาษาต่างประเทศ (Deutsch als Fremdsprache) มหาวิทยาลัยคัสเซิล (Universität Kassel) สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (Abschluss mit Auszeichnung) พ.ศ. 2545
ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาเยอรมัน) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (เกียรตินิยมอันดับ 1) พ.ศ. 2540
ความสนใจทางวิชาการ
〉 ภาษาศาสตร์ภาษาเยอรมันและภาษาศาสตร์ประยุกต์: ไวยากรณ์คำนามวลีและคำนาม รูปแบบการใช้ภาษาที่ใช้คำนามเป็นหลักในการสื่อสาร (Nominalstil) การสัมผัสของภาษา กระบวนการพัฒนาการของภาษาจากอดีตถึงปัจจุบัน ภาษาเฉพาะด้าน
〉 กระบวนการเรียนการสอนภาษาเยอรมันในฐานะภาษาต่างประเทศ (DaF)
〉 ทักษะภาษาต่างประเทศ เน้นด้านการอ่าน และการเขียน(เชิงวิชาการ)
〉 วัฒนธรรมศึกษาและวัฒนธรรมของประเทศที่ใช้ภาษาเยอรมันเป็นภาษาราชการในปัจจุบัน
งานบริหารและวิชาการ
〉คณะอักษรศาสตร์
- 2558 – 2561 และ ตั้งแต่ 2564: หัวหน้าสาขาวิชาภาษาเยอรมัน ภาควิชาภาษาตะวันตก คณะอักษรศาสตร์ (2015 – 2018 und seit 2021: Leiter der Deutschabteilung, Dept. of Western Languages)
- ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตรอักษรศาสตรบัณฑิต คณะอักษรศาสตร์
- กรรมการบริหารหลักสูตรอักษรศาสตรมหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาเยอรมัน คณะอักษรศาสตร์
- กรรมการร่างหลักสูตรอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาต่างประเทศ คณะอักษรศาสตร์
- ผู้ประสานงานตารางสอนตารางสอบ สาขาวิชาภาษาเยอรมัน
- กรรมการบริหารภาควิชาภาษาตะวันตก ภาควิชาภาษาตะวันตก
- อาจารย์ที่ปรึกษาชมรมภาษาเยอรมัน
- กรรมการในคณะกรรมการคัดเลือกนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษเข้าศึกษาในหลักสูตรอักษรศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอักษรศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ ประจำปีการศึกษา 2562 รอบที่ 1 (การรับด้วย Portfolio) และประธานกรรมการกลุ่มสาขาวิชาภาษาเยอรมันในการสอบสัมภาษณ์ฯ
〉สมาคมครูผู้สอนภาษาเยอรมันในประเทศไทย
- ตั้งแต่ 2559: อุปนายกสมาคมครูผู้สอนภาษาเยอรมันในประเทศไทย (seit 2016: Vize-Präsident des Thailändischen Deutschlehrerverbandes [TDLV] > Facebook; Website)
〉งานอื่น ๆ
- บรรณาธิการวารสารอักษรศาสตร์ ฉบับ Supplementary (เดือนธันวาคม 2561) ฉบับรวมบทความจากการประชุมวิชาการนานาชาติของผู้สอนภาษาเยอรมันในประเทศไทย ครั้งที่ 5 (Herausgeber, Sammelband des 5. Thailändischen Germanistentreffens)
- วิทยากรโครงการอบรมภาษาเยอรมันเพื่อการสื่อสารจัดโดย ศูนย์บริการวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ ร่วมกับ สาขาวิชาภาษาเยอรมัน
- วิทยากรและผู้ทรงคุณวุฒิให้หน่วยงานภายนอก (สพฐ. โรงเรียนมัธยมศึกษา)
ประสบการณ์
ในตลอดหลายปีที่ผ่านมาเป็นวิทยากรและผู้เชี่ยวชาญแสดงปาฐกถาในงานประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ อีกทั้งเป็นผู้ฝึกอบรมครูผู้สอนภาษาเยอรมันในด้านภาษาศาสตร์ประยุกต์และการเรียนการสอนภาษาเยอรมันในการประชุมและสัมมนาที่จัดโดยองค์กรต่าง ๆ เช่น สถาบันเกอเธ่ ประเทศไทย (Goethe-Institut Thailand) สมาคมครูผู้สอนภาษาเยอรมันในประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและองค์กรแลกเปลี่ยนทางวิชาการเยอรมัน (DAAD) ตลอดจนให้ความรู้และฝึกฝนทักษะการใช้ทักษะภาษาเยอรมันแก่นักเรียนและนิสิตนักศึกษา ในฐานะอาจารย์พิเศษในสถาบันการศึกษาต่าง ๆ และวิทยากรตามโอกาสต่าง ๆ อาทิ ค่ายภาษาเยอรมันระดับชาติและระดับ ASEAN การอบรมเตรียมความพร้อมให้นักเรียนในโครงการภาษาเยอรมันโอลิมปิกวิชาการภาษาเยอรมันระดับนานาชาติ (IDO) นอกจากนี้ยังเป็นกรรมการตัดสิน ผู้ทรงคุณวุฒิสนับสนุนและจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะภาษาเยอรมันให้แก่ผู้เรียน ในการแข่งขันทักษะภาษาเยอรมันระดับประเทศในวันรวมใจเยอรมัน “Deutscher Tag” และการแข่งขันในกิจกรรม “งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน” กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (การแข่งขันพูดเพื่ออาชีพภาษาเยอรมัน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย) มาโดยตลอด
ผลงานทางวิชาการ
〉 วิทยากรและผู้เชี่ยวชาญแสดงปาฐกถาในงานประชุมสัมมนาวิชาการ
ปาฐกถาเรื่อง “Gendergerechte Sprache als (sprach-)politische und gesellschaftliche Herausforderung” ในการประชุมวิชาการนานาชาติของผู้สอนภาษาเยอรมันในประเทศไทย ครั้งที่ 5 (5. Thailändisches Germanistentreffen) จัดขึ้นระหว่างวันที่ 18-19 สิงหาคม 2561 โดยสาขาวิชาภาษาเยอรมัน ภาควิชาภาษาตะวันตก คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- Abstract: Die Forderung nach sprachlicher Gleichbehandlung von Frauen und Männern, die seit Anfang der 1980er Jahre zu immer neuen Vorschlägen und Richtlinien zur Vermeidung sexistischen Sprachgebrauchs in der öffentlichen Kommunikation in Deutschland und in anderen deutschsprachigen Ländern führt, steht immer wieder zur Diskussion: neulich durch die lebhafte und durchaus kontroverse Debatte über die Verwendung des Ausdrucks „Profx” und des sog. „Gender-Sternchen“, welche das eingebürgerte Binnen-I ablösen soll.
Der Beitrag behandelt die Strategien auf der lexikalischen, grammatischen und Formulierungsebene zur Sichtbarmachung von Frauen und anderen Gendern bzw. Gleichbehandlung aller Geschlechter. Ferner wird auf die sprachpolitische und gesellschaftliche Relevanz und Brisanz des Themas „Gender und Sprache“ sowie des geschlechtergerechten Sprachgebrauchs eingegangen.
ปาฐกถาเรื่อง “Fremdsprachen lehren und lernen in Thailand. Entwicklung und Perspektiven” (The Second Foreign Language Education in Thailand) ในบรรยายพิเศษให้แก่ College of European and Asian Languages ในวันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2561 ณ มหาวิทยาลัย Wenzao Ursuline University of Languages ประเทศไต้หวัน
ปาฐกถานำ เรื่อง “Mehrperspektivisch, kulturreflexiv, authentisch: Landeskundliches Lernen im DaF-Unterricht außereuropäischer Länder” ในการประชุม 4. Internationale Deutschlehrertagung des Vietnamesischen Deutschlehrerverbands “International, Interkulturell, Interdisziplinär – DaF in Zeiten der Globalisierung” ระหว่างวันที่ 6 – 8 ตุลาคม 2560 ณ กรุงฮานอย สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม จัดโดยสมาคมครูภาษาเยอรมันในประเทศเวียดนาม ร่วมกับมหาวิทยาลัยฮานอย (http://web.hanu.vn/de) องค์กรแลกเปลี่ยนทางวิชาการเยอรมัน (DAAD) และสถานบัน Goethe-Institut
- Abstract: In der gegenwärtigen Diskussion im Bereich „Didaktik des Deutschen als Fremdsprache“ erlebt landeskundliches und kulturelles Lernen durch Impulse aus den aktuellen kulturwissenschaftlichen Forschungen (u.a. in Bezug auf die Kulturanthropologie, die Theorie des kulturellen Gedächtnisses, das Konzept der Erinnerungsorte) einen neuen Aufschwung. Während die „klassische“ Landeskundevermittlung mit Faktenorientierung und Anspruch auf inhaltliche Vollständigkeit weiterhin als unverzichtbarer Bestandteil im DaF-Unterricht in vielen Ländern gilt, findet die kulturanalytische Auseinandersetzung mit thematisch aktuellen und authentischen „Texten“ (im weiteren Sinne) und Diskursen, bei der den Fremdsprachenlernenden Möglichkeiten zur selbstständigen Bedeutungserschließung, Deutung und Reflexion über das eigene und fremde Handeln angeboten werden, immer mehr Beachtung. In meinem Beitrag werden Ansätze eines kulturwissenschaftlich fundierten landeskundlichen Lernens anhand konkreter Unterrichtsszenarien exemplifiziert. Die Beispiele sollen die Einsatzmöglichkeiten des Konzepts im außereuropäischen DaF-Unterricht verdeutlichen.
ปาฐกถาเรื่อง “Der, die oder das Profx? Geschlechtergerechte Sprache im Deutschen – sprachsystematisch, kulturbezogen und fremdsprachendidaktisch betrachtet” (Sektion D8 Linguistische Grundlagen und Gegenstände der Sprachvermittlung) เมื่อวันที่ 3 สิงหาคม 2560 ในการประชุมครูผู้สอนภาษาเยอรมันระดับนานาชาติครั้งที่ 16 (XVI. Internationale Tagung der Deutschlehrerinnen und Deutschlehrer (IDT) 2017) ระหว่างวันที่ 31 กรกฎาคม – 4 สิงหาคม 2560 ณ เมือง Fribourg/Freiburg สมาพันธรัฐสวิส
ปาฐกถานำ เรื่อง “ภาวะหลายภาษาในมุมมองของประเทศไทย (Mehrsprachigkeit aus Sicht des Königreichs Thailand)” ในการประชุม “ความหลากหลายทางภาษา – กุญแจสู่ความสำเร็จ (Mehrsprachigkeit – Ein Schlüssel zum Erfolg)” จัดโดยสถาบันเกอเธ่ ประเทศไทย (Goethe-Institut Thailand) ร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) นอกจากนี้ยังได้อภิปรายกลุ่มร่วมกับผู้อำนวยการสำนักเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ผู้แทนสพฐ. ตัวแทนด้านวัฒนธรรมจากสถานทูตเยอรมนี ออสเตรียและสวิส และผู้เชี่ยวชาญจากมหาวิทยาลัยเวียนนาเรื่อง “มุมมอง เงื่อนไขและเป้าหมายด้านการเมืองที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศในสถานศึกษาในปัจจุบัน” เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2558 และในวันที่ 11 ธันวาคม 2558 ได้ร่วมอภิปรายบนเวทีเรื่อง “บทบาทของสถานศึกษาในการจัดการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศ” ร่วมกับผู้เชี่ยวชาญจากสถาบันการศึกษาต่าง ๆ
ปาฐกถาเกี่ยวกับบทบาทของสมาคมครูภาษาเยอรมันในประเทศไทย (Der TDLV als Förderer der deutschen Sprache und Kultur in Thailand) ในการประชุม 3. Internationale Deutschlehrertagung des Vietnamesischen Deutschlehrerverbands “Deutschunterricht im internationalen Kontext” ระหว่างวันที่ 16 – 18 ตุลาคม 2558 ณ กรุงฮานอย สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม จัดโดยสมาคมครูภาษาเยอรมันในประเทศเวียดนาม ร่วมกับมหาวิทยาลัยแห่งชาติเวียดนามฮานอย องค์กรแลกเปลี่ยนทางวิชาการเยอรมัน (DAAD) และสถานเอกอัครราชทูตออสเตรีย ณ กรุงฮานอย
ปาฐกถานำ เรื่อง “วิชาภาษาและวรรณคดีเยอรมันในกลุ่มประเทศ ASEAN: พัฒนาการและแนวโน้มด้านหลักสูตร” (Germanistik in ASEAN: Curriculare Entwicklungen) ในการสัมมนา 3. Südostasiatische Sommeruniversität für Germanisten: “Deutsch verbindet ASEAN” เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2558 จัดโดยองค์กรแลกเปลี่ยนทางวิชาการเยอรมัน (DAAD) นอกจากนี้ยังเป็นวิทยากรอบรมในการสัมมนาอาจารย์รุ่นใหม่จากประเทศในกลุ่ม ASEAN เรื่อง “วัฒนธรรมศึกษาของประเทศที่ใช้ภาษาเยอรมันเป็นภาษาราชการในปัจจุบัน” (Landekunde D-A-CH) ระหว่างวันที่ 28 – 31 กรกฎาคม 2558 อีกด้วย
วิทยากรในการสัมมนาเชิงปฏิบัติการสำหรับนักศึกษาลาวเกี่ยวกับวัฒนธรรมศึกษาเยอรมัน (Deutsche Landeskunde) และการสัมมนาเชิงปฏิบัติการสำหรับครูผู้สอนภาษาเยอรมันในประเทศลาวเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนวัฒนธรรมศึกษา (Methodik und Didaktik der Landeskunde) ระหว่างวันที่ 19 – 21 มิถุนายน 2557 ณ มหาวิทยาลัยแห่งชาติลาว กรุงเวียงจันทน์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สนับสนุนค่าใช้จ่ายโดยสถาบันเกอเธ่ ประเทศไทย (Goethe-Institut Thailand)
วิทยากรในการสัมมนาเชิงปฏิบัติการสำหรับครูผู้สอนภาษาเยอรมันในประเทศไทย เรื่อง “Deutschunterricht unter einem DACH(L). Wissen über, Methoden zur, Unterrichtsentwürfe für Landeskunde” ระหว่างวันที่ 9 – 10 ตุลาคม 2556 จัดโดยสถาบันเกอเธ่ ประเทศไทย (Goethe-Institut Thailand)
ปาฐกถาเกี่ยวกับการเรียนการสอนภาษาเยอรมันในฐานะภาษาต่างปะเทศในประเทศไทย (DaF in Thailand) ในการสัมมนาเพื่อพบปะศิษย์เก่า Internationale Alumni-Tagung “Deutsch als Fremdsprache weltweit – aktuelle Entwicklungen und Perspektiven” ระหว่างวันที่ 4 – 9 พฤศจิกายน 2556 จัดโดยสาขาวิชาภาษาเยอรมันในฐานะภาษาต่างปะเทศ (Professur Deutsch als Fremdsprache, Institut für Germanistik) แห่งมหาวิทยาลัย TU Dresden สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี
ปาฐกถาเรื่อง “Vergleichende Stilanalyse: Nominalstil im Deutschen und Nominalisierungstendenz im Thai” (Sektion C3: Textsorten und Textfunktionen, Register und Stile) เมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม 2556 ในการประชุมครูผู้สอนภาษาเยอรมันระดับนานาชาติครั้งที่ 15 (XV. Internationale Tagung der Deutschlehrerinnen und Deutschlehrer (IDT) 2013) ระหว่างวันที่ 29 กรกฎาคม – 3 สิงหาคม 2556 ณ เมือง Bolzano สาธารณรัฐอิตาลี
〉 บทความ
สิริน เกียรติไกรภพ และธนกร แก้ววิภาส. 2566. วีล็อกท่องเที่ยวภาษาเยอรมันในฐานะตัวบทที่ใช้สื่อหลากรูปแบบ: การศึกษากลวิธีเพื่อทำให้ผู้รับชมรู้สึกมีส่วนร่วมกับสถานการณ์. (German travel vlogs as a multimodal text type: A study on strategies of situation intertwining) มนุษยศาสตร์สาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 24(3), 196-216.
พิชญา จรูญพงษ์ศักดิ์ และธนกร แก้ววิภาส. 2564. “ ‘ภาษาเยอรมันแบบลดทอนความซับซ้อน’: กรณีศึกษาการถ่ายทอดความประโยคบอกเหตุผลและประโยคบอกเงื่อนไข.” (Leichte Sprache. A Case Study on Causative and Conditional Sentences) วารสารมนุษยศาสตร์วิชาการ (Manutsayasat Wichakan) คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, ปีที่ 28, ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2564), 154 – 187.
“วัฒนธรรมศึกษาในสาขาภาษาเยอรมันในฐานะภาษาต่างประเทศในประเทศไทย: การเรียนการสอนเกี่ยวกับวัฒนธรรมของกลุ่มประเทศที่ใช้ภาษาเยอรมันเป็นภาษาราชการในบริบทอุดมศึกษาไทย.” (Cultural Studies in German as a Foreign Language in Thailand: Learning and Teaching about the Cultures of German Speaking Countries in the Context of Thai Higher Education) วารสารอักษรศาสตร์ (Journal of Letters) คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ปีที่ 49, ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2563), 106 – 125.
- โครงการวิจัย “วัฒนธรรมศึกษาในยุคโลกาภิวัตน์: กรณีศึกษาการสอนด้านวัฒนธรรมของกลุ่มประเทศที่ใช้ภาษาเยอรมันเป็นภาษาราชการในมหาวิทยาลัยในประเทศไทย”. ทุนโครงการวิชาการและวิจัยเนื่องในวโรกาสเฉลิมฉลอง 60 พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สุพิชญา เปล่งปลั่ง และธนกร แก้ววิภาส. 2563. “การปรากฏร่วมของคํานามกับคําคุณศัพท์ในด้านการท่องเที่ยวในภาษาเยอรมัน: กรณีศึกษาคลังข้อมูลภาษาจากคําบรรยายสถานที่ในหนังสือนําเที่ยวประเทศไทย” หนังสือรวมบทความการประชุมวิชาการระดับชาติทางศิลปศาสตร์ประยุกต์ ครั้งที่ 9 (The 9th National Conference on Applied Liberal Arts: NCAA 2020) หัวข้อ “Sustainability of Practice and Research in Liberal Arts” หน้า 1 – 10.
“Tradition – Standardisierung – Umstrukturierung – Profilbildung: Germanistik in Thailand im Umbruch.”, in: Festschrift. 60 Jahre Deutschabteilung der Chulalongkorn Universität. 60 Jahre Zusammenarbeit mit dem DAAD in Thailand. Hrsg. von Ampha Otrakul u.a. Bangkok: Chulalongkorn University Printing House. 2017, 21 – 31.
“Nominalstil im Deutschen und Nominalisierungstendenz im Thai: Vergleichende Stilanalyse aus soziokultureller und pragmatisch-stilistischer Perspektive.”, in: IDT 2013 Deutsch von innen · Deutsch von außen. DaF · DaZ · DaM. Beiträge der XV. Internationalen Tagung der Deutschlehrerinnen und Deutschlehrer. Band 5 − Sektionen C1, C2, C3, C4, C5, C6. Linguistische Grundlagen für den Sprachunterricht. 2., erweiterte Auflage. Hrsg. von Peter Colliander, Hans Drumbl, Doris Höhmann, Svitlana Ivanenko, Dagmar Knorr, Sandro Moraldo. Bozen-Bolzano: Bozen-Bolzano University Press. 2017, 279 – 291.
Wanvarie, Dittaya/Ek-atchariya, Sansanee/Kaewwipat, Thanakon. 2016. “Unsupervised construction of a word list on tourism from Wikipedia.” 2015 International Computer Science and Engineering Conference (ICSEC), p. 1 – 6.
URL: https://ieeexplore.ieee.org/document/7401412
- โครงการวิจัยและพัฒนาคลังข้อมูลภาษาและชุดคำศัพท์ภาษาต่างประเทศเพื่อการท่องเที่ยวสำหรับนิสิตปริญญาตรี ร่วมกับ อาจารย์ ดร. ฑิตยา หวานวารี (ภาควิชาคณิตศาสตร์และวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์) และอาจารย์ศันสนีย์ เอกอัจฉริยา (สาขาวิชาภาษาจีน ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะอักษรศาสตร์)
“Der TDLV als Förderer der deutschen Sprache und Kultur in Thailand.”, in: Deutschunterricht im interkulturellen Kontext. 3. Internationale Deutschlehrertagung. Dokumentation der Tagungsbeiträge. Hrsg. von der Fremdsprachenhochschule – Nationaluniversität Hanoi (ULIS – VNU), 2016, 33 – 38.
“ไวยากรณ์เพื่อการรับรู้ภาษาในการเรียนการสอนไวยากรณ์ภาษาเยอรมันในฐานะภาษาต่างประเทศ.” (Receptive Grammar in Learning and Teaching Grammar for German as a Foreign Language) ใน วารสารรามคำแหง ฉบับมนุษยศาสตร์ (Ramkhamhaeng University Journal. Humanities Edition) มหาวิทยาลัยรามคำแหง, ปีที่ 31, ฉบับที่ 1 (มกราคม – ธันวาคม 2555), 100 – 122.
Kussler, Rainer/Kaewwipat, Noraseth. “Landeskunde in der Germanistik außereuropäischer Länder”, in: Deutsch als Fremd- und Zweitsprache. Ein internationales Handbuch. Hrsg. von Hans-Jürgen Krumm, Christian Fandrych, Britta Hufeisen, Claudia Riemer. Berlin; New York: Walter de Gruyter, 2010: 1520 – 1529. (HSK 35) [GOOGLE Books]
Humphries, Donald S./Kaewwipat, Noraseth. “Germanisms in Modern English Usage: A Cultural, Historical and ESL Perspective.”, in: Thoughts. Journal of the Department of English, Faculty of Arts, Chulalongkorn University, July 2008: 31 – 43.
“Die Rolle der Muttersprache und der vorher gelernten Fremdsprache(n) beim Lesen des deutschsprachigen Fachtextes. Ausgewählte Ergebnisse aus einer empirischen Untersuchung zur Rezeption von Texten im Nominalstil durch fortgeschrittene thailändische Deutschlerner”, in: TDLV-Forum. Zeitschrift für Sprache, Literatur und Kultur. Hrsg. vom Thailändischen Deutschlehrerverband, Vol. 11. 2007: 78 – 91.
“การปฏิรูประบบอุดมศึกษาในสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีตามปฏิญญาโบโลญญ่า.” (Reform of German Higher Education System According to Bologna Declaration) ใน วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ปีที่ 5, ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2548), 157 – 178.
“Wie viel und welche Linguistik braucht man für die Deutschlehrerausbildung in Thailand? Am Beispiel des Master-Studiengangs Deutsch als Fremdsprache der Ramkhamhaeng University, Bangkok.”, in: Annas, Rolf (Hrsg.) (2004): Deutsch als Herausforderung. Fremdsprachenunterricht und Literatur in Forschung und Lehre. Festschrift für Rainer Kussler. Stellenbosch: Sun Press, 95 – 110.
“Zur Darstellung fremder Kulturen in der Sprachlernsoftware: Untersuchung des Softwarepakets „Einblicke!“ (Folge 5).”, in: Die Brücke. Zeitschrift für Germanistik in Südostasien. Hrsg. von der Deutschabteilung der Ramkhamhaeng University/Bangkok, Nr. 4 (März 2004), 83 – 94.
“ข้อสอบภาษาเยอรมันในฐานะภาษาต่างประเทศ TestDaF.” (Test Deutsch als Fremdsprache: Test of German as a Foreign Language) ใน วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ปีที่ 2, ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2545), 70 – 82.
“Nominalstil im Gegenwartsdeutschen.”, in: TDLV-Forum. Zeitschrift für Sprache, Literatur und Kultur. Hrsg. vom Thailändischen Deutschlehrerverband, Vol. 6. 2001: 21 – 39.
G O O G L E S C H O L A R
รายวิชาที่สอน
- 2232007/2232008 FUND GER I/II [ISE]
- 2232021 GER BEGINNERS I [Bachelor]
- 2232105/2232106 BAS GER I/II [BALAC]
- 2232107 GERMAN I [BSAC]
- 2232121/22321222 UP INTER GER I/II [Bachelor]
- 2232214 GER WRIT I [Bachelor]
- 2232216 INT GER II [BALAC]
- 2232253 GER-SPK CNTR TODAY [Bachelor]
- 2232260 GER READ SK [Bachelor]
- 2232313 READ GER NON-LIT [Bachelor]
- 2232321 ADV GER [Bachelor]
- 2232330 GER SOUND WORD [Bachelor]
- 2232333 GER A-V MEDIA [Bachelor]
- 2232392 SEL GER LC II [BALAC]
- 2232421 ADV GER USAGE [Bachelor]
- 2232453 GERMAN TODAY [Bachelor]
- 2232478 INDEP STUDY [Bachelor]
- 2232482 TOPIC GER LANG LIT [Bachelor]
- 2232662 INDEPENDENT STUDY [Master]
- 2232637 GER STIL RHET [Master]
- 2232671 GER CUL STUD [Master]
- 2232843 SEM GFL [Ph.D.]