Skip to content
  • Home
  • Features
  • Editor’s Notes
  • podcast
  • Reviews
  • Who /iz/?
/iz/

การฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่จะช่วยป้องกันหรือบรรเทาการติดเชื้อหรือความรุนแรงของการติดเชื้อโควิด-19 ได้หรือไม่

การฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่อาจมีข้อดีมากกว่าแค่การประหยัดทรัพยากรทางการแพทย์

Information (no longer) overload?

You might not claim ‘information overload’ as a rationale behind your research proposal again!

Sustaining community through language preservation

As an outsider, how can we save endangered languages? What do we learn from the past to save language diversity?

Thinking, Fast and Slow, in information seeking

Applying “Thinking, Fast and Slow” to the quest for understanding how people search and find information.

Why open access matters?

What is it that we need to care about open access?

What your smartphone says about you

เคยคิดบ้างไหมว่าทำไมเราจึงเป็นสาวก Apple หรือเป็นชาว Android การเลือกใช้สมาร์ทโฟนบางยี่ห้อ หรือ App บางตัว อาจบอกถึงถึงนิสัยใจคอ หรือตัวตนที่แท้จริงของเราก็เป็นได้

/iz/ opening

“We open our eyes and we think we’re seeing the whole world out there. But what has become clear—and really just in the last few centuries—is that when you look at the electro-magnetic spectrum we are seeing less than 1/10 Billionth of the information that’s riding on there…”

การฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่จะช่วยป้องกันหรือบรรเทาการติดเชื้อหรือความรุนแรงของการติดเชื้อโควิด-19 ได้หรือไม่

การฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่จะช่วยป้องกันหรือบรรเทาการติดเชื้อหรือความรุนแรงของการติดเชื้อโควิด-19 ได้หรือไม่

Posted on April 25, 2021April 26, 2021 by Songphan Choemprayong
Information (no longer) overload?

Information (no longer) overload?

Posted on March 5, 2018April 26, 2021 by Somsak Sriborisutsakul
Sustaining community through language preservation

Sustaining community through language preservation

Posted on February 13, 2018February 23, 2018 by Songphan Choemprayong
Thinking, Fast and Slow, in information seeking

Thinking, Fast and Slow, in information seeking

Posted on February 11, 2018February 13, 2018 by Somsak Sriborisutsakul
Why open access matters?

Why open access matters?

Posted on February 6, 2018February 13, 2018 by Wachiraporn Klungthanaboon
What your smartphone says about you

What your smartphone says about you

Posted on February 6, 2018February 13, 2018 by Naya Sucha-xaya
/iz/ opening

/iz/ opening

Posted on February 5, 2018February 11, 2018 by ismagazine

RSS podcast

  • Ep. 14 มองอคติใน Machine Learning ผ่านมุมมอง Data Visualization May 8, 2020
    การเรียนรู้ของเครื่องหรือ Machine Learning ได้ถูกนำมาใช้ในการประกอบการตัดสินใจทั้งในชีวิตประจำวันและนโยบายในหลายภาคส่วน ไม่ว่าจะเป็นภาคบริการประชาชน การเงินการธนาคาร สุขภาพอนามัย รวมไปถึงการตัดสินคดีความ อย่างไรก็ตามกลไกการทำงานของ Machine Learning บางประการเป็นสิ่งอธิบายได้ยาก เนื่องจากมีความซับซ้อน ในตอนนี้ อาจารย์ ดร.ภูริพันธ์ รุจิขจร ผู้เชี่ยวชาญทางด้านการแสดงข้อมูลเป็นภาพ (Data Visualization) จากภาควิชาสถิติ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้เสนอข้อคิดเห็นเกี่ยวกับอคติที่มักเกิดขึ้นในกลไกต่าง ๆ ของการนำการเรียนรู้ด้วยเครื่องมาใช้ ทั้งในมุมมองทางด้านข้อมูลและเทคนิค รวมไปถึงหลักการโดยทั่วไปที่จะช่วยทำให้ผู้มีส่วนได้เสียสามารถเข้าใจกลไกการทำงานเหล่านั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างความโปร่งใส (transparency) รวมไปถึงข้อถกเถียงและการพัฒนาวิธีการทำความเข้าใจการเรียนรู้ด้วยเครื่องจากการแสดงเป็นภาพ
  • EP.13 Metadata and Social Justice April 9, 2020
    Metadata can be broadly defined as a representative or a surrogate data/information to describe an entity of interest (e.g., person, organization, animal, objects, and concepts). Not only library and information professionals, everyone are often manage and manipulate metadata constantly in different contexts and capacities.  In many contexts, including library and information science, standardization of description […]
  • EP.12 วิถีชีวิตกลุ่มชาติพันธุ์และการจัดการสารสนเทศทางวัฒนธรรม April 8, 2020
    ประเทศไทยมีกลุ่มชาติพันธุ์มากมายและต่างก็มีความเชื่อและวัฒนธรรมเป็นของตนเอง ปัจจัยทางสังคมและเทคโนโลยีเข้ามามีผลต่อวิถีชีวิตของกลุ่มชาติพันธุ์ที่เปลี่ยนไป แต่รากความเชื่อและขนบธรรมเนียมปฏิบัติกลุ่มชาติพันธุ์ยังคงมีอยู่ ทำอย่างไรจึงรวบรวมและรักษาความเชื่อและวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีความหลากหลายนี้ไว้เพื่อสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างความแตกต่างทางวัฒนธรรม และส่งต่อไปยังคนอีกรุ่นได้ คุณศิราพร แป๊ะเส็ง นักวิชาการด้านชาติพันธุ์ และคุณสิทธิศักดิ์ รุ่งเจริญสุขศรี นักวิชาการด้านการจัดการสารสนเทศทางวัฒนธรรม จากศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) มาร่วมพูดคุยและแบ่งปันประสบการณ์การจัดการสารสนเทศทางวัฒนธรรมรวมถึงความท้าทายเกิดขึ้นเมื่อสารสนเทศทางวัฒนธรรมเช่นนี้มักอยู่ในลักษณะของคำบอกเล่า นิทาน เพลงพื้นถิ่น และประเด็นที่ควรคำนึงถึงเมื่อต้องจัดการและเผยแพร่สารสนเทศทางวัฒนธรรมนี้  
  • Categories

    • Editor's Notes
    • Features
    • Reviews
  • Archives

    • April 2021
    • March 2018
    • February 2018
  • Disclaimer:

    Creative Commons License
    Original content in this magazine is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.

    /iz/ is supported by the Graduate Programs in Information Studies, Department of Library Science, Faculty of Arts, Chulalonkorn University.

Theme: Avant by Kaira
  • Home
  • Features
  • Editor’s Notes
  • podcast
  • Reviews
  • Who /iz/?