วิทยานิพนธ์

กำลังดำเนินการ

  • สิรปกรณ์  จันทร. ปัญหาสังคมและพหุนิยมทางศาสนาในนวนิยายอเมริกันร่วมสมัย
  • กัลยรักษ์ หมั่นหาดี. ปัญหาสังคมและทางออกทางจิตวิญญาณในนวนิยายแนวโลกหลังความตายของมิตช์ อัลบอม
  • เมธาวี สิมมา. จากมิตรภาพสู่ความรัก: การศึกษาความปรารถนาระหว่างชายกับชายใน ปรมาจารย์ลัทธิมาร ของ โม่เซียงถงซิ่ว
  • กนกวรรณ วิเชียรศรี. โฮล์มส์ แอนด์ มอริอาริตี: การตั้งคำถามกับขนบด้านเพศสถานะของบันเทิงคดีแนวสืบสวนสอบสวน
  • สุธาสินี ไชยธนะพัชร์. การสั่นคลอนขั้วตรงข้ามในการ์ตูนโทรทัศน์ชุดโคนันเดอะซีรีส์
  • ปานชีวา บุตราช. การวิพากษ์สังคมจีนในวรรณกรรมอินเทอร์เน็ตจีนประเภทนวนิยายย้อนเวลา
  • อรสุธี  ชัยทองศรี. การประกอบสร้างอัตลักษณ์นักเดินทางของกลุ่มนักเขียนเจเนอเรชั่นวายในบันทึกการเดินทางร่วมสมัยของไทย
  • ธนวัฒน์ ปัญญานันท์. รัฐ กลุ่มชาติพันธุ์ และความสัมพันธ์เชิงอำนาจในวรรณกรรมและภาพยนตร์ผีไทย

เสร็จสมบูรณ์แล้ว

2566

  • จิรวุฒิ กิจการุณ. เรื่องเล่าบาดแผลสงครามเวียดนามของนักเขียนเวียดนามพลัดถิ่น

2565

  • อริยะ จินะเป็งกาศ. อัตลักษณ์ความเป็นชาติของประเทศรอบนอกกับการครอบงำของประเทศมหาอำนาจในบันเทิงคดีแนววิทยาศาสตร์ร่วมสมัย
  • จิรายุทธ์ หรรษาพันธุ์. แนวคิดเรื่องพลเมืองและรัฐประชาชาติสมัยใหม่ในนวนิยายกำลังภายในแนวสืบสวนสอบสวนของกู่หลง
  • จิรัฏฐ์ เฉลิมแสนยากร. ร้อนรักในรอยทราย : ความปรารถนาทางเพศของผู้หญิงในนวนิยายโรมานซ์ทะเลทรายร่วมสมัยของไทย

2564

  • สุวภัทร ใจคง. บทบาทของผีไทยในสังคมเมืองร่วมสมัยในนวนิยายชุด ผีมหานคร
  • เกศกนก เฮงจำรัส. ความขัดแย้งระหว่างศาสนานิยมกับฆราวาสนิยมในอาชญนิยายชุด “โรเบิร์ต แลงดอน” ของ แดน บราวน์
  • รณฤทธิ์ มณีพันธุ์. บาดแผลและความทรงจำ : เรื่องเล่าเหตุการณ์ 228 และ ไวต์ เทอร์เรอร์ (White Terror) ในไต้หวัน
  • นภสร เสวกวัง. สัจนิยมมหัศจรรย์กับการนำเสนอความทรงจำบาดแผลในนวนิยายไทยร่วมสมัย

2563

  • กิตติกานต์  หะรารักษ์. การต่อรองกับแนวคิดมนุษย์เป็นศูนย์กลาง : กรณีศึกษานวนิยายร่วมสมัยที่มีสัตว์เป็นผู้เล่าเรื่อง
  • วิริยา ด่านกำแพงแก้ว. การนำเสนอความเป็นอื่น: นักแสดงตัวประหลาดในนวนิยายอเมริกันร่วมสมัย  
  • พัฒนเดช กอวัฒนา. ความขัดแย้งและการต่อรองระหว่างตัวละครกับค่านิยมของสังคมในการ์ตูนญี่ปุ่นร่วมสมัยแนววงวนเวลา
  • คณิน ฉัตรวัฒนา. ตุ๊ดทะลุมิติ (พิภพจอมนาง): การยั่วล้อแบบเควียร์ในฐานะบทวิพากษ์บรรทัดฐานของสังคมรักต่างเพศ

2561

  • กรวุฒิ นิยมศิลป์. กลุ่มการเมืองในการ์ตูนการเมืองของชัย ราชวัตร, บัญชา คามิน, และเซีย ระหว่าง พ.ศ. 2550-2558
  • รังสินี หลักเพชร. ปัญหาเยาวชนและปัญหาสังคมในวรรณกรรมเยาวชนไทยร่วมสมัย

2560

  • สุทัตตา  พาหุมันโต. ตัวละครหญิงกับปิตาธิปไตยในนวนิยายสืบสวนสอบสวนร่วมสมัยของอเมริกา
  • ศุภิสรา  เทียนสว่างชัย. แนวคิดนิเวศสำนึกในวรรณกรรมของนิรันศักดิ์ บุญจันทร์
  • แพรพลอย ณ เชียงใหม่. เดอะ มอร์ทอล อินสตรูเมนตส์ ในฐานะบทวิจารณ์พระคัมภีร์ไบเบิล: การกีดกัน ความรุนแรง และการเยียวยา
  • ปราง  ศรีอรุณ. เรือนร่างในอาชญนิยายร่วมสมัยแนวฆาตกรต่อเนื่องของอเมริกาและญี่ปุ่น

2559

  • พีระดา สายบัว. ญี่ปุ่นในความหลอน: วิกฤติอัตลักษณ์ การสูญเสียและการโหยหาอดีตในเรื่องเล่าแนวสยองขวัญญี่ปุ่นร่วมสมัย
  • ชฎาพร สุวรรณรัตน์. ในป่าดงดิบ: การวิพากษ์วาทกรรมการพัฒนาในนวนิยายชุด เพชรพระอุมา
  • กัญญ์ณพัชญ์ พรรณรัตน์. ความเป็นชายในนวนิยายของนิโคลัส สปาร์กส์
  • ไพลิน จินดาฤกษ์. ความเป็นธรรมทางสังคมในบันเทิงคดีแนวอาชญากรรมอเมริกันร่วมสมัย
  • จิรัฏฐ์  เฉลิมแสนยากร. การสร้างอัตลักษณ์ความเป็นชายใน
  • ไพรัชนิยายไทยระหว่าง พ.ศ. 2484-2489

2558

  • กานต์ธิตา ขยันการนาวี. ปัญหาสังคมและความวิตกกังวลใน
    อาชญนิยายร่วมสมัยของกลุ่มประเทศสแกนดิเนเวีย
  • ขอบคุณ สมบูรณ์วงศ์. ปัจเจกบุคคล ครอบครัว และชุมชน:วิถีชีวิตในสังคมไทยที่เปลี่ยนแปลงในวรรณกรรมของอุทิศ เหมาะมูล
  • วรานันท์ วรวัฒนานนท์. ผู้หญิงภายใต้ระบบทุนนิยมใน
    อาชญนิยายญี่ปุ่นร่วมสมัย
  • ไหมแพร สังขพันธานนท์. บันทึกความทรงจำความพิการโดย
    นักเขียนอเมริกันที่มีความพิการทางกายในฐานะเรื่องเล่าโต้กลับ

2557

  • กอบพร ถิรเจริญสกุล. องค์ประกอบของแฟนตาซีในการนำเสนอปัญหาครอบครัวและปัญหาสิ่งแวดล้อมในนวนิยายชุด
    เดอะ สไปเดอร์วิก โครรนิเคิลส์ ของโทนี ดิเตอร์ลิซซิ
    และฮอลลี แบล็ก
  • ธรรมธัช ศรีวันทนียกุล. จาก แรกรัตติกาล สู่รุ่งอรุโณทัย: ความวิตกกังวล ความฝัน ความปรารถนาในวรรณกรรมวัยรุ่นแนวเรื่องเล่าผีดูดเลือดของสเตเฟนี เมเยอ
  • สุรัฐ เพชรนิรันดร. การเติบโตและการเรียนรู้:การศึกษาผ่าน
    การดัดแปลงเทวตำนานกรีกและโรมันในนวนิยายชุด
     เพอร์ซี แจคสัน ของ ริค ไรเออร์แดน
  • กรองกาญจน์ อัชฌายะสุนทร. จากหยาดน้ำตาสู่หยดน้ำหมึก:
    ความรุนแรง บาดแผล และการเยียวยาในนวนิยายของ
    ดาชา มารา
  • ณัฎฐา ศศิธร. การศึกษาเปรียบเทียบวรรณกรรมคัดสรรชุด
    เชอร์ล็อค โฮล์มของเซอร์อาเธอร์ โคนันดอยล์กับ
    ละครดัดแปลงของบีบีซี (พ.ศ. 2553-2555)
  • ปณชัยรัศมิ์ องค์อมรรัตน์. “สามบุตรีแห่งจีน”:การวิพากษ์สังคมและวัฒนธรรมจีนใน ไวลด์ สวอนส์ ของจุง ชาง
  • วณัฐย์ พุฒนาค. กระบวนการสร้างอัตลักษณ์ชนชั้นกลาง
    ในนวนิยายของงามพรรณ เวชชาชีวะ
  • สุพัชญา อารีมิตร. การศึกษาตัวละครวัยรุ่นชายผู้แพ้ในวรรณกรรมเยาวชนอเมริกันช่วงทศวรรษ 2000

2556

  • ภูมิ  พลจันทร์. การเล่าเรื่องปัญหาของเด็กและเยาวชนร่วมสมัยในนวนิยายของโจดิ ปีโคลต์
  • เชษฐกิฎา  ชาติวิทยา. กามารมณ์ความรัก และความตาย:
    ลักษณะเหนือจริงในสังคมทุนนิยมหลังสมัยใหม่ในนวนิยายของ
    ฮารุกิ มุราคามิ
  • ภาณุมาศ  อิสริยศไกร. เกมคือโลก โลกคือเกม: การช่วงชิงอำนาจในวรรณกรรมเยาวชนร่วมสมัยแนวดิสโทเปีย
  • อรรถพล ปะมะโข. ปัญญาประดิษฐ์ในบันเทิงคดีแนววิทยาศาสตร์กับจิตวิญญาณของทศวรรษ 1960

2555

  • สโรชยา จิรรุ่งเรืองวงศ์. นรกสมัยใหม่: การประกอบสร้างใหม่ของภาพนรกแบบคลาสสิก
  • ชุติมา  เกตุพงษ์ชัย. การเล่าเรื่อง “บ้าน” ในงานเขียนร่วมสมัยของนักเขียนเยอรมันและนักเขียนเยอรมันเชื้อสายเติร์ก
  • อจินไตย  เฮงรวมญาติ. ผู้หญิงกับความอ้วน: เรือนร่างของผู้หญิงกับการประกอบสร้างอัตลักษณ์ในนวนิยายชิคลิต   
  • ไทวิกา  อิงสันเทียะ. บริโภคนิยมและวิกฤตความเป็นชาย
    ในนวนิยายอเมริกันร่วมสมัย   
  • กิติยา  วิทยาประพัฒน์. สถานภาพและบทบาทสตรีในครอบครัวไทยเชื้อสายจีนในนวนิยายไทยแนวชีวิตครอบครัว 
    ปี พ.ศ.2538-2546
  • วยากร  พึ่งเงิน. เรื่องเล่าของตัวตนในนวนิยายเชิงอัตชีวประวัติเรื่องเงาสีขาว ของแดนอรัญ แสงทอง
  • วิทยา  วงศ์จันทา. การประกอบสร้าง “ความเป็นลาว” ในวรรณกรรมและสื่อภาพยนตร์ไทยร่วมสมัย

2554

  • วรพล    ผสมทรัพย์. การนำเสนอภาพลักษณ์ใหม่ของพระนางซูสีไทเฮาในนวนิยาย  เอ็มเพรส ออร์คิด  และ 
    เดอะ ลาสท์ เอ็มเพรส   
  • เกตุวลี  บัวตูม. วิถีชีวิตผู้หญิงสังคมเมืองในนวนิยายไทยร่วมสมัย ระหว่าง พ.ศ. 2545-2552
  • ทรรศพร หล่อธราประเสริฐ. หนังสือภาพชุด เดอะ เทลส์ ของ
    บีทริกซ์ พ็อตเตอร์ ในฐานะวรรณกรรมเด็ก
  • มนัสวี  พรหมสุทธิรักษ์. อายุ เพศสถานะ ชนชั้นและชาติพันธุ์:
    การศึกษาเปรียบเทียบเรื่องชุดนักสืบหญิงหมายเลขหนึ่ง
    คุณป้ามาธูร และสโมสรนักสืบ
  • สุกุลภา  วิเศษ. วรรณกรรมเยาวชนชุด เซ็นจูรี 
    ของปิแอร์โดเมนิโค บัคคาลาริโอ: วรรณกรรมแนวแฟนตาซีกับนิเวศน์สำนึก

2553

  • อนัญญา วารีสอาด. อัตลักษณ์กับบริบททางสังคมใน
    นิยายโรมานซ์แนวข้ามภพชาติของไทย
  • ปราโมทย์  ระวิน. กวีนิพนธ์ว่าด้วยกวีนิพนธ์ ในกวีนิพนธ์ไทย
    ร่วมสมัย
  • รัตนาภรณ์ เหล่ายิ่งเจริญ. อดีตที่เล่าใหม่: การวิพากษ์สังคมและการเมืองจีนในนวนิยายยุคหลังการปกครองของเหมา เจ๋อ ตง
  • รัญวรัชญ์  พูลศรี. ความสุขของสตรีสูงวัยในนวนิยายไทยระหว่าง พ.ศ. 2525-2552

2552

  • โนรี พรรคพิบูลย์. อโฟรไดติ: จากตำนานสู่วรรณกรรม
  • อาจารีย์ สุทธิโรจน์. ซินเดอเรลลา: จากเทพนิยายสู่วรรณกรรม
  • วีรี เกวลกุล. “ใต้เงาแห่งอดีต”: การศึกษาเปรียบเทียบการสร้างภาพแทนแบบกอทิกในงานเขียนของ จินตวีร์ วิวัธน์ กับ
    พงศกร จินดาวัฒนะ
  • ชุติมณฑน์ ตรีอำนรรค. เรื่องเล่าความเจ็บป่วย: การนำเสนอตัวตนของผู้ป่วยในสังคมหลังสมัยใหม่
  • อลิสา สันตสมบัติ. ความจริง อัตลักษณ์ เรื่องเล่า และเขาวงกต: การแสวงหาแบบหลังสมัยใหม่ในนวนิยาย โต้ขนบสืบสวนสอบสวน
  • วชิรกรณ์ อาจคุ้มวงษ์. ภาพแทนตัวละครและวัฒนธรรมเกอิชาใน เมมัวร์ส์ ออฟ อะ เกอิชา และ เกอิชา อะ ไลฟ์
  • กฤษฎา ขำยัง. วิถีเมืองในงานเขียนของปราบดา หยุ่น

2551

  • ศรัณย์ มหาสุภาพ. การสร้างอัตลักษณ์เกย์ในงานเขียนแนวอัตชีวประวัติเกย์ร่วมสมัย

2550

  • กัญญา วัฒนกุล. สัจนิยมมหัศจรรย์และสหบทในนวนิยายเรื่อง 
    คาฟกา ออน เดอะ ชอร์ ของฮารูกิ มูราคาม
  • ณัชพล บุญประเสริฐกิจ .มนุษย์กับเทคโนโลยีในบันเทิงคดีแนววิทยาศาสตร์กลุ่มไซเบอร์พังก์ของวิลเลียม กิบสัน
  • ปาจรีย์ กลิ่นชู .การประยุกต์ใช้ทฤษฎีมายาคติของ
    โรลองด์ บาร์ตส์ กับวรรณกรรมชุดแฮร์รี พอตเตอร์
  • อภิสรา แสงหัตถวัฒนา. การสร้างเรื่องเล่าในนวนิยาย
    เชิงอัตชีวประวัติของนักเขียนสตรีพลัดถิ่น:
    การศึกษาเปรียบเทียบ เดอะ เมมัวรส์ ออฟ อะ เซอร์ไวเวอร์ กับเดอะ เฮาส์ ออฟ เดอะ สปิริตส

2549

  • ขวัญนภา วัจนรัตน์. นวนิยายชุดบูรูควอเท็ตของ
    ปรามูดยา อานันตา ตูร์: การวิพากษ์สังคมและการเมือง
    ของอินโดนีเซียในยุคอาณานิคม
  • จารุรัตน์ เทศลำใย. สำนึกทางการเมืองและสังคมอินเดียใน
    นวนิยายของนยันตารา ซาห์คัล
  • ไพโรจน์ นุชพะเนียด. พัฒนาการของผู้หญิงในบริบทของ
    ความหลากหลายทางวัฒนธรรม
  • สุวิชญ์ หาญดำรงค์รักษ์. บันทึกความทรงจำชิวิตนักโทษในรัสเซียสมัยสตาลิน
  • อัญชลี เกิดพันธ์. นวนิยายชุด เดอะ โรซาเลส ซากะ
    ของฟรานซิลโก ซิโอนิล โฆเซ่: การศึกษาสภาพสังคม และการเมืองของฟิลิปปินส์
  • พัณณิดา ภูมิวัฒน์. การใช้เรื่องเล่าและตำนานในการสร้าง
    อัตลักษณ์ในวรรณกรรมเยาวชนของนักเขียน อเมริกันเชื้อสายจีนร่วมสมัย

2548

  • ฐิติมา กมลเนตร. สายสัมพันธ์ที่ตัดไม่ขาด: การศึกษาเปรียบเทียบความสัมพันธ์แม่-ลูกสาวในนวนิยาย ของนักเขียนสตรีอเมริกันเชื้อสายเอเชียและแอฟโฟร-คาริเบียน
  • ดนยา ทรัพย์ยิ่ง. บทละครโต้กลับ: การวิพากษ์วรรณกรรมเอกของยุโรป
  • ดวงฤทัย หอมทอง. นวนิยายของชินูอา อาเชเบ: จักรวรรดินิยมกับผลกระทบต่อสังคมดั้งเดิมของไนจีเรีย
  • นารีมา แสงวิมาน.นวนิยายของนะญีบ มะห์ฟูซ: ผลกระทบของ
    จักรวรรดินิยมที่มีต่อการเมืองและสังคมอียิปต์
  • พิสินี ฐิตวิริยะ.วรรณกรรมเยาวชนญี่ปุ่นกับสงครามโลกครั้งที่สอง
  • มนฤดี เย็นบุตร. ทาสสตรีผิวดำในนวนิยายอเมริกัน
  • รุ้งตะวัน อ่วมอินทร์. ความเปลี่ยนแปลงของชนบทในสังคมไทยภาคกลางในวรรณกรรมของวัฒน์ วรรลยางกูร
  • วิศิษย์ ปิ่นทองวิชัยกุล. เดอะ ไลท์ ออฟ เอเชีย 
    ของเซอร์ เอ็ดวิน อาร์โนลด์: ภูมิปัญญาตะวันออกในโลกตะวันตก
  • สุรชัย ใจสูงเนิน. ความเป็นมนุษย์ในนวนิยายของดอสโตเยฟสกี: การศึกษาแนวจิตวิเคราะห์
  • อัญชลี ไมตรี. ลิลิตเสด็จไปขัดทัพพม่าเมืองกาญจนบุรี: 
    ประวัติศาสตร์และสังคมสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น

2547

  • จิราภรณ์ อัจฉริยะประสิทธิ์. สตรีราชสำนักไทใหญ่ในเรื่องเล่าของนักเขียนสตรีร่วมสมัย: การศึกษาบทบาทของผู้หญิงใน
    พื้นที่สาธารณะและพื้นที่ส่วนตัว
  • นัยนา ครุฑเมือง. นวนิยายอิงประวัติศาสตร์ล้านนา:
    ภาพสะท้อนการเมืองและสังคม
  • นุสรัต รยะสวัสดิ์. ภาพลักษณ์สตรีเวียดนามใน ทวี้ เกี่ยว
  • ปัฐมาวดี บริสุทธิ์. ผลกระทบของสงครามและการเมืองต่อ
    สถาบันครอบครัวในนวนิยายของเซือง ทู เฮีอง
  • พรพันธ์ ชุมทอง. วิถีซามูไรในนวนิยายเรื่อง มุซะฌิ ของ
    โยะฌิกะวะ เอะอิจิ
  • วรมาศ ยวงตระกูล. วาทกรรมสงครามและสันติภาพในกวีนิพนธ์สงคราม
  • ศรัทธา พูลสวัสดิ์. “จีน” จากมุมมองตะวันตกในนวนิยายของ
    เพิร์ล เอส. บัก
  • อรุณี สำราญศาสตร์. ออร์เฟอุส: จากตำนานสู่วรรณกรรม
  • อัญญรัตน์ อำพันพงษ์. วรรณกรรมการกักกันของนักเขียน
    เชื้อสายญี่ปุ่นในอเมริกาเหนือ

2546

  • คลอพร ราซิดี. อิทธิพลของ เจน แอร์ ของชาร์ลอตต์ บรองเต และ
    รีเบกกา ของ ดาฟเน ดูโมริเย ที่มีต่อนวนิยายไทย
  • นิพนธ์ ศศิภานุเดช. ขุนเขาแห่งจิตวิญญาณของเกาสิงเจี้ยน: 
    ความสัมพันธ์ระหว่างตัวบทและทฤษฎีวรรณคดีของผู้ประพันธ์
  • สุธินี แจ่มอุทัย. กษัตริย์อาเทอร์และอัศวินโต๊ะกลมในนวนิยายเรื่อง อะ คอนเนกทิคัต แยงกี อิน คิง อาเทอร์ส คอร์ต ของ มาร์ก ทเวน และนวนิยายเรื่อง เดอะ วันส์ แอนด์ ฟิวเจอร์ คิง ของ ที.เอช.ไวต์.

2545

  • จิรารัตน์ ประยูรวงษ์. ลิตเติล บุดดา: ตะวันออกในมุมมองตะวันตก
  • นพมาตร พวงสุวรรณ. ภาพโสเภณีในนวนิยายไทยกับ
    ความเป็นจริงทางสังคม
  • ปนัดดา สดุดีวิถีชัย. การศึกษาเปรียบเทียบวรรณกรรมเด็กแนวแฟนตาซีของ โรอัลด์ ดาห์ล กับ มิชาเอล เอนเดอ
  • ภัทรภร รักเรียน. ทฤษฎีละครแนวโศกนาฏกรรม
    ตั้งแต่สมัยกรีกจนถึงคริสต์ศตวรรษที่20
  • สรรควัฒน์ ประดิษฐพงษ์. การศึกษาเปรียบเทียบบทวิจารณ์วรรณกรรมเรื่อง เดอะ ดีไวน์ คอมเมดี ในคริสต์ศตวรรษที่ 20
  • สหะโรจน์ กิตติมหาเจริญ: แนวคิดเรื่องปัญญาใน
    อรรถกถาชาดก
  • สุระ อินตามูล. ภาพลักษณ์สังคมอังกฤษยุควิกตอเรียนใน
    บทละครคอเมดีออฟแมนเนอรส์ของออสคาร์ ไวลด
  • อัฏฐพล ส่งแสง. ภาพสะท้อนสังคมในเรื่องสั้นไทยระหว่างพุทธศักราช2538-2542
  • อิศราพร พร้อมเพรียงพันธุ์. ซาตานในวรรณกรรมตะวันตกและมารในวรรณกรรมไทย

2544

  • นาฏเฉลียว ชมธรณินทร์.สตรีกับศาสนาอิสลามในนวนิยายมาเลย์
  • นิภาภัทร อภิภัทรพาณิชย์. ตะวันออกในตะวันตก: ภาพลักษณ์
    ความเป็นจีนในนวนิยาย ของนักเขียนสตรีอเมริกันเชื้อสายจีน
  • ปริลักษณ์ กลิ่นช้าง. ผลกระทบของการละครเบรคชท์ที่มีต่อ
    ละครไทยร่วมสมัย: กรณีศึกษากลุ่มพระจันทร์เสี้ยว
  • ปิยนุช รัตนานุกูล . การศึกษาเปรียบเทียบบทละครสะท้อนสังคมของแอนตัน เชคอฟ กับ จอร์จ เบอร์นาร์ด ชอว์
    ระหว่างปี ค.ศ.1900 – 1920
  • วลัยลักษณ์ ตรงจิตติปัญญา.“ประวัติศาสตร์” ในนิยายวิทยาศาสตร์ชุด สถาบันสถาปนา ของไอแซค อาซิมอฟ
  • วาสนา นิ่มนวล. อิทธิพลของการปฏิวัติฝรั่งเศสใน
    บทละครเยอรมัน
  • ศศิธร เหลืองจินดา.การศึกษาเปรียบเทียบ แมกเบท กับ
    เดอะ ทรีเพนนี โอเปรา และ แมกเบิร์ด
  • ศิลปะ สุวรรณศักดิ์. ศิลปะภาพยนตร์ในซิเน-โรมอง ของ
    อแลง รอบบ์-กริเยต์
  • อังคณา สุขวิเศษ. นวนิยายแนวสืบสวนสอบสวน: อิทธิพลของ
    ชุดเชอร์ลอค โฮล์มส์ ที่มีต่อชุด ปัวโรต์ และนิทานทองอิน
  • อังสนา สมบุญ. อิทธิพลวรรณกรรมของคาลิล ยิบราน ที่มีต่อวรรณกรรมของระวี ภาวิไล
  • อุมารินทร์ ตุลารักษ์. บททำขวัญเรือและพิธีทำขวัญเรือของ
    ชาวไทยภาคใต้: การสร้างสรรค์และการถ่ายทอด

2543

  • กมลวรรณ สิงหทองพูน. อินเดียในวรรณกรรมของรัดยาร์ด คิปลิง
  • คึน เฮ ซิน. การศึกษาเปรียบเทียบวรรณกรรมคำสอนสตรีของไทยและเกาหลี
  • ญาณินี สังโยคะ. วิถีชีวิตแบบอเมริกัน ” ยุคดนตรีแจ๊ส” จากนวนิยายของเอฟ. สกอตต์ ฟิตซ์เจอรัลด์
  • นพวรรณ รองทอง.กำเนิดและพัฒนาการของ
    นวนิยายสัจนิยมแนวมหัศจรรย์
  • ปริศนา แหล่งรัศมี. ความแปลกแยกของคนผิวดำในนวนิยายของโทนี มอร์ริสัน
  • พรรณพงา จุฬานนท์. วรรณกรรมล้างเผ่าพันธุ์ชาวยิว
  • พิณอำไพ สิริปูชกะ.ภาพลักษณ์ชนกลุ่มน้อยในนวนิยายไทย
  • ภัคภรรณ ทิพยมนตรี. สัญลักษณนิยมและประวัติศาสตร์วัฒนธรรมในวรรณกรรมของนิคม รายยวา
  • ภัทริยา กัลยานาม. ตำนานและศาสนาใน วอต ดรีมส์ เมย์ คัม:
    การศึกษาเปรียบเทียบนวนิยายกับภาพยนตร์
  • วิภาวี สุวรรณอาสน์. การศึกษาวิเคราะห์สการ์เลตต์ โอฮารา ใน
    วิมานลอย” ด้วยทฤษฎีจิตวิทยา
  • อัจฉราวรรณ ภู่สิริวิโรจน์. พัฒนาการละครเพลงของรพีพร
  • ฮิเดกิ ฮิรามัทสึ. อัตถิภาวนิยมในวรรณกรรมของเค็นสะบุโร โอเอะ กับชาติ กอบจิตติ

2542

  • กัณวีย์ สันติกูล. อาหรับนิทานของเสฐียรโกเศศ: การศึกษาข้ามวัฒนธรรม
  • จารุวรรณ เชาว์นวม . นิทานพื้นเมืองลาว: ลักษณะเด่นและ
    ความสัมพันธ์กับสังคม
  • นลินธร วรานุภาพกุล.วรรณกรรมต่อต้านสงครามของไฮนริช เบิล
  • วาทินี สุนทรา. เดอะ ดีไวน์ คอมเมดี ของดันเต: ความสัมพันธ์กับศาสนาและสังคม
  • ศิริพร ศรีวรกานต์. การศึกษาเปรียบเทียบทิลล์ ออยเลน ชะปีเกลกับศรีธนญชัยในฐานะนิทานมุขตลก
  • สุภัททิรา รอดบุญธรรม. ดอน กีโฆเต้ เด ลา มันช่า และอิทธิพลที่มีต่อบทละครเพลงอเมริกันเรื่อง แมน ออฟ ลา มันช่า และบทละครเพลงไทยเรื่อง สู่ฝันอันยิ่งใหญ่

2541

  • จารุอนงค์ เรืองสุวรรณ. นวนิยายสงครามของเออร์เนสต์ เฮมมิงเวย์ และจอห์น ดอส ปาสสอส: อิทธิพลของสงครามโลกครั้งที่หนึ่งที่มีต่อนวนิยาย
  • พิมลาพร วงศ์ชินศรี. อิทธิพลของพุทธศาสนานิกายเซนที่ปรากฏในวรรณกรรมของ ติช นัท ฮันห์
  • วิยะดา พรหมจิตต์. พัฒนาการเรื่องสั้นลาว: ความสัมพันธ์กับสังคม
  • วิไลพรรณ สุคนธทรัพย์. โพรมีทิอุส: จากตำนานสู่วรรณกรรม
  • ศุภารัตน์ ศุภภัคว์รุจา. นวนิยายแนวผจญภัย: จาก คิง โซโลมอนส์ ไมนส์ ล่องไพร ถึง เพชรพระอุมา (ภาคหนึ่ง)

2540

  • จงจิต อนันต์คูศรี. มโนทัศน์สตรีนิยมในนวนิยายของ
    ซีโมน เดอ โบวัวร์, ซิลเวีย พลาธ, บิรกิตเทอะ ชไวเกอร์
    และศิเรมอร อุณหธูป
  • วราภรณ์ วงษ์แสงจันทร์. แนวคิดเรื่องสันติภาพในเรื่องสั้นของนักเขียนกลุ่มกบฏสันติภาพ
  • ศศิธร ลิ้มอภิบาล. การศึกษาเปรียบเทียบกวีนิพนธ์ของ
    พจนา จันทรสันติ กับกวีนิพนธ์ไฮกุของญี่ปุ่น
  • สุรัยยา เบ็ญโส๊ะ. แนวคิดสันติวิธีในเรื่อง พระเจ้าช้างเผือก
    ของปรีดี พนมยงค์
  • อรพินท์ คำสอน.สุนทรียศาสตร์แห่งความพ่ายแพ้ : การศึกษาเปรียบเทียบนวนิยายของกึนเทอร์ กราสส์กับชาติ กอบจิตต

2539

  • ปวีณา ร่าเริง. รามเกียรติ์: ความสัมพันธ์ระหว่างวรรณกรรมกับทัศนศิลป์
  • รังสิมา กุลพัฒน์. แผลเก่า: จากนวนิยายสู่ภาพยนตร์
  • วัฒนา มุลเมืองแสน. นวนิยายอิงพุทธศาสนาของไทย:
    วรรณกรรมคำสอนร่วมสมัย
  • เสาวรส มิตราปิยานุรักษ์. นวนิยายอิงประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นของ
    เจมส์ คลาเวลล์: การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างวรรณคดีกับประวัติศาสตร์
  • สุรพล บัณฑุเศรณี. อารมณ์ขัน ใน พล นิกร กิมหงวน ของ
    ป.อินทรปาลิต
  • นุสรณ์ อุณโณ. การวิเคราะห์ชาตกัฏฐกถาด้วยทฤษฎีมานุษยวิทยาสัญลักษณ์

2538

  • แพรวพราว จีระวิพูลวรรณ. การศึกษาเปรียบเทียบอารมณ์ขันในนวนิยายหกเรื่องของชาร์ลส์ ดิคเกนส์ กับมาร์ค ทเวน
  • มุกริน วิโรจน์ชูฉัตร. มาดามบัตเตอร์ฟลาย : ศึกษาเปรียบเทียบฉบับต่าง ๆ และอิทธิพลที่มีต่อวรรณกรรมไทย
  • รุ่งทิพย์ วณิชาภิชาติ.การศึกษาเปรียบเทียบนวนิยาย
    แนวกระแสสำนึกของเวอร์จิเนีย วูลฟ์ และ วิลเลียม โฟล์คเนอร์
  • อัมพร เสงี่ยมวิบูล. จากนวนิยายสู่ภาพยนตร์ : กรณีศึกษาเรื่อง”ฟรอม เอ็มเพอร์เรอร์ ทู ซิติเซ็น” และเรื่อง “เดอะ ลาสท์ เอ็มเพอร์เรอร์”
  • อารียา หุตินทะ. ภาพลักษณ์สังคมเมืองในเรื่องสั้นไทยร่วมสมัยระหว่างพุทธศักราช 2534 – 2536

2537

  • ภัทรพร หงษ์ทอง. การศึกษาแนวคิดสตรีนิยมในนวนิยายของทมยันตี ระหว่างพุทธศักราช 2506 – 2534

2536

  • จารุกัญญา เรือนคำ. การศึกษาเปรียบเทียบวรรณกรรมกอธิค
    อังกฤษและอเมริกาในยุคเริ่มแรก
  • พัชรี วราศรัย. นวนิยายไทยที่เสนอภาพสังคมจีนในเมืองไทย
  • สร้อยสน สกลรักษ์. นวนิยายอัตชีวประวัติของโจเซฟ คอนราด : การวิเคราะห์ตามแนวจิตวิเคราะห์ของฟรอยด์

2535

  • กิตติศักดิ์ เกิดอรุณสุขศรี. การศึกษาเชิงวิเคราะห์พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เรื่อง สาวิตรี ในฐานะนาฏวรรณกรรม
  • บุษบา บัวสมบูรณ์. การศึกษาเปรียบเทียบนวนิยายแนวคิดสังคมอุดมคติในเรื่อง อะ โมเดิร์น ยูโทเปีย เรื่อง เมืองนิมิตร และ
    เรื่องวอลเด็น ทู
  • สัมฤทธิ์ ทองสิมา. อาหรับในนวนิยายของลักษณวดี โสภาค สุวรรณ และ ประภัสสร เสวิกุล

2534

  • นวมน ยูเด็น. อัตวินิบาตกรรมในนวนิยายไทยปี พ.ศ.2520-2530

2533

  • ปัทมา จันทร์เจริญสุข. วิเคราะห์แนวคิดและกลวิธีของนวนิยาย
    แนวการเมืองและสังคมของ”ดวงใจ” ในช่วงพ.ศ.2513 – 2523
  • พรวิภา วัฒรัชนากูล.การศึกษาบทบาทผู้หญิงในอรรถกถาชาดกกับชาดกที่แต่งในประเทศไทย
  • รินรัตน์ นฤภัยพิทักษ์. การศึกษาพฤติกรรมตัวละครวัยรุ่นในนวนิยายของ”สีฟ้า” ตั้งแต่ พ.ศ. 2505 – 2531
  • วีรวรรณ ศรีสำราญ. สถานภาพสตรีไทยในนวนิยายของ
    กฤษณา อโศกสิน(พ.ศ.2497 – 2530)
  • สายวรุณ น้อยนิมิตร. ลักษณะเซอเรียลิสม์ในกวีนิพนธ์ของ
    อังคาร กัลยาณพงศ์

2532

  • ก่องเพชร นิติกุล. เมืองในงานเขียนของชาร์ลส์ ดิคเกนส์และ
    ธีโอดอร์ ไดรเซอร์
  • ชลลดา ทองทวี. การศึกษาเปรียบเทียบการใช้ตำนานแอนทิโกนี
    เพื่อเสนอทัศนะทางสังคมและการเมืองในบทละครของ

    โซโฟคลิส บทละครของอานุย และบทละครของมัทนี รัตนิน กับ สุชาวดี ตัณฑวณิช
  • สุทธิชัย บุณยะกาญจน. การศึกษาเชิงวิเคราะห์นิยายวิทยาศาสตร์อเมริกันแนวดีสโทเปียในช่วง ค.ศ.1950 ถึง ค.ศ.1972
  • อังคณา กมลเพ็ชร. สภาพสังคมชนบทเวสเสกซ์ของอังกฤษในช่วงปี ค.ศ.1872-1896 จากนวนิยาย 7 เรื่องของโทมัส ฮาร์ดี้

2531

  • ปรียาภรณ์ หนูสนั่น.การสะท้อนปัญหาสังคมชนบทในนวนิยายไทย (2519 – 2529)
  • พรรณี บุตรบำรุง. พุทธปรัชญาในนวนิยายของเเฮร์มัน เฮสเส
  • ศิริพร วิมานศักดิ์. สิ่งพิมพ์ต้องห้ามทางการเมืองกับสังคมไทย: การศึกษาเฉพาะ ระหว่างปี พ.ศ.2520 – 2523

2529

  • อัลภา อัลภาชน์. พุทธปรัชญาเรื่องกรรมในนวนิยายของ กฤษณา อโศกสิน

2528

  • สายสมร เฉยตรองการ. สถานภาพทางสังคมของผู้หญิง
    (ในช่วงปี พ.ศ.2475 – 2493) ในนวนิยายของดอกไม้สด และ ก.สุรางคนางค์

2527

  • จินตนา ดิษฐแย้ม. ปัญหาสังคมเกี่ยวกับยาเสพติดในนวนิยายของสุวรรณี สุคนธา
  • อรทัย สายเพ็ญ.ศึกษาเปรียบเทียบนิทานพื้นบ้านชาวไทยพื้นราบและชาวไทยภูเขาเผ่ามูเซอจังหวัดตาก

2526

  • กาญจนา ประสงค์เงิน. การศึกษาเรื่องสั้นไทยที่เสนอปัญหาสังคมชนบทอีสาน: 2501 – 2505
  • สุมัณฑนา จันทโรจวงศ์. การศึกษาเปรียบเทียบการใช้
    ความอ่อนไหวของประสาทความรู้สึก ในงานเขียนของโกแล็ตและสุวรรณี สุคนธา
  • อริน พินิจวรารักษ์. การใช้เรื่องรักร่วมเพศในนวนิยายไทย พ.ศ.2516 – พ.ศ.2525

2525

  • วัฒนา ณ นคร. ลักษณะร่วมของเรื่องพระมาลัยในวรรณกรรมพื้นบ้านและพระมาลัยคำหลวง

2521

  • ดาราวรรณ เด่นอุดม. อิทธิพลของวรรณกรรมฝรั่งเศสที่มีต่อ
    ร้อยกรองและนวนิยายของออสการ์ ไวลด์
  • เอมอร นิรัญราช. ทัศนะทางสังคมในนวนิยายไทยสมัยรัชกาลที่ 7
  • นันทกา พลอยแก้ว. อิทธิพลของการละครตะวันตกในบทละครพูดพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

2520

  • กอบกุล อิงคุทานนท์. การศึกษาเปรียบเทียบเรื่องตำนานอิเลกตราในบทละครคลาสสิคและบทละครปัจจุบัน