รองศาสตราจารย์ ดร.หนึ่งฤดี โลหผล

คุณวุฒิ

  • อักษรศาสตรบัณฑิต ภาษาอิตาเลียน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2535
  • Certificate (Etching and Drawing) Academy of Fine Arts of Florence พ.ศ. 2536
  • Master of Arts (Italian) Middlebury College พ.ศ. 2539
  • Dottorato di Ricerca (Ph.D. in History, Institutions and International Relations) Università di Pisa พ.ศ. 2550

ตำแหน่งทางวิชาการ

รองศาสตราจารย์ ดร.

แขนงวิชาที่เชี่ยวชาญ/ สนใจ

  • ศิลปินและศิลปะอิตาเลียนในสยาม/ ประวัติศาสตร์ศิลปะอิตาเลียน
  • ความสัมพันธ์สยาม-อิตาลี/ อิตาเลียน-ไทยศึกษา / การอนุรักษ์เอกสารทางประวัติศาสตร์
งานบริหาร
  • หัวหน้าสาขาวิชาภาษาอิตาเลียนและหัวหน้าภาควิชาภาษาตะวันตก (พฤศจิกายน 2550 – ปัจจุบัน)
  • กรรมการบริหารหลักสูตรอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการแปลและการล่าม (1 ตุลาคม 2550 – ปัจจุบัน)
  • หัวหน้าภาควิชาภาษาตะวันตก (ตุลาคม 2551 – ตุลาคม 2555 / พฤศจิกายน 2555 – ตุลาคม 2557)
  • กรรมการบริหารหลักสูตรอักษรศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอิตาเลียน
  • กรรมการร่างหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาล่ามชุมชน (2551)
  • หัวหน้าสาขาวิชาภาษาอิตาเลียน (6 ตุลาคม 2546 – 4 พฤษภาคม 2547)
  • กรรมการบริหารหลักสูตรอักษรศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอิตาเลียน (1 เมษายน 2545 – 31 มีนาคม 2547)
  • กรรมการวิชาการคณะอักษรศาสตร์ (พฤศจิกายน 2545 – ตุลาคม 2546 / ตุลาคม 2550 – ตุลาคม 2551)

ผลงานวิชาการ

หนังสือ

  • อาคารนิทรรศการสยาม ณ งานเอ็กซ์โปเมืองตูริน ๒๔๕๔. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับบลิชชิ่ง, 2555.
  • ภราดามหามิตร ไทย-อิตาลี Buon Fratello e Amico Thailandia-Italia. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับบลิชชิ่ง, 2553.
  • กาลิเลโอ คีนิ จิตรกรสองแผ่นดิน [Galileo Chini. Painter of Two Kingdom]. หนึ่งฤดี โลหผล (บรรณาธิการ). กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับบลิชชิ่ง, 2551.

บทความ

  • The encounter between Italy and Siam at the dawn of the twentieth century: Italian artists and architects in the modernizing Kingdom of Siam. In Modern Italy. December 2019. 24. 4. 469-484. SJR Scimago.
  • การบูรณะพระบรมฉายาลักษณ์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว. ใน นิตยสารจามจุรี. ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 (กันยายน – ธันวาคม). กรุงเทพฯ. 2561.
  • Galileo Chini alla corte del re del Siam.” In Orizzonti d’acqua tra Pittura e Arti Decorative Galileo Chini e altri protagonisti del primo Novecento, edited by Maurizia Bonatti Bacchini and Filippo Bacci di Capaci. Bandecci & Vivaldi, 2018.
  • “Sulla via della diplomazia culturale tra Italia e Thailandia.” In Relazioni internazionali e International political economy del Sud-Est asiatico, vol. 3, no.3, September 2018.
  • โครงการคลังข้อมูลดิจิทัลตระกูล Chini (ภายใต้โครงการคลังข้อมูลของแผ่นดิน สยามยุครัชกาลที่ 5 และรัชกาลที่ 6). 2560. (http://www.repertoriogalileochini.it/collaboratori.asp)
  • “ช่างเขียนคีนิ” กับเมืองสยาม. ในหนังสือ กาลิเลโอ คีนิ จิตรกรสองแผ่นดิน. บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับบลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน). กรุงเทพฯ 2551 [ตีพิมพ์เป็นภาษาไทย และอังกฤษ]
  • กาลิเลโอ คีนิ กับสีสันแห่งตะวันออก [Galileo Chini and The Colors of Asia]. สูจิบัตรนิทรรศการทางศิลปะ จัดที่หอศิลป์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ กรุงเทพฯ. บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับบลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน). กรุงเทพฯ 2547. [ตีพิมพ์เป็นภาษาไทย อิตาเลียน และอังกฤษ]
  • การตกแต่งสถาปัตยกรรมโดยกาลิเลโอ คีนิ ในกรุงเทพฯ [Monumental Decorations of Galileo Chini in Bangkok]. ในหนังสือ “Ad Vivendum: Galileo Chini. La stagione dell’Incanto”. สำนักพิมพ์ Maschietto Editore. Pistoia 2545 [ตีพิมพ์เป็นภาษาอิตาเลียน]
  • สยามกับตะวันตก: กาลิเลโอ คีนิ. ใน วารสารเมืองโบราณ. ปีที่ 28 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม-กันยายน). กรุงเทพฯ. 2545.
  • พระที่นั่งอนันตสมาคม จิตรกรชาวอิตาเลียนกับภาพพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. ใน บุษบาบรรณ หนังสือรวมบทความทางวิชาการและบทแปลวรรณกรรมตะวันตก. กรุงเทพฯ : ภาควิชาภาษาตะวันตก คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2544
  • พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับกลุ่มศิลปินชาวฟลอเรนซ์. ใน วารสารอักษรศาสตร์. ปีที่ 28 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน) 2542
  • จุดเริ่มต้นของคติฟิวเจอริสซึมในศิลปะและวรรณคดีอิตาเลียน. ใน สาราภิรมย์ หนังสือรวมบทความวิชาการของคณาจารย์ภาควิชาภาษาตะวันตก คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ. 2542
  • แด่พระบรมสาทิสลักษณ์รัชกาลที่ 6 (พ.ศ. 2457-2490). ใน วารสารเมืองโบราณ. ปีที่ 24. ฉบับที่ 2 (เมษายน-มิถุนายน) กรุงเทพฯ. 2541
  • ประติมากรหนุ่ม คอร์ราโด เฟโรชิ ก่อนเดินทางสู่สยามในปีพ.ศ. 2467. ใน วารสารเมืองโบราณ. ปีที่ 24. ฉบับที่ 2 (เมษายน-มิถุนายน) กรุงเทพฯ. 2541

บทความนำเสนอในที่ประชุมระดับชาติ/นานาชาติ

  • Toward cross-regional language education cooperation for high-end talent training: perspective from a Thai university context, paper presented in The APEC Education Forum on World Language Education and Talents Cultivation, 9-11 September 2012, at Beijing Language and Culture University, Beijing, China.
  • The Journey of King Chulalongkorn to Italy: a Dialogue on Art [การเสด็จเยือนอิตาลีของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว: วาทกรรมทางศิลปะ], in P. Watanangura, ed. Proceedings of the International Symposium on The Visit of King Chulalongkorn to Europe in 1907: Reflecting on Siamese History: September 18-23, 2007, Congress Center, Bad Homburg (Germany), 103-113, Bangkok: Centre for European Studies, Chulalongkorn University, 2008.
  • พระเจ้าแผ่นดินแห่งสยามเยือนประเทศอิตาลี: การเสด็จพระราชดำเนินอย่างเป็นทางการครั้งแรกในประวัติความสัมพันธ์สยาม-อิตาลี. การประชุมนานาชาติด้านวัฒนธรรมไทยและความสัมพันธ์ไทย-อิตาลี. ศูนย์การประชุมแห่งเมืองตูริน [Centro Congressi Torino Incontra]. เมืองตูริน ประเทศอิตาลี. พฤษภาคม 2547. [ตีพิมพ์เป็นภาษาอิตาเลียน]
  • “King Chulalongkorn” กับการเสด็จพระราชดำเนินเยือนอิตาลี: มิติทางการเมืองและวัฒนธรรม. สัมมนาทางวิชาการ “สยามกับตะวันตกในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว”. อาคารมหาจุฬาลงกรณ์. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 29 มีนาคม 2547 [ในโอกาสที่คุณเปาลา โปลิโดรี คีนิ ได้นำชุดพิมพ์เขียวต้นฉบับพระที่นั่งอนันตสมาคมขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ]
  • การเสด็จพระราชดำเนินเยือนประเทศอิตาลีของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. (ในโครงการวิจัยเรื่อง การเสด็จพระราชดำเนินเยือนประเทศยุโรปของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว: ภาพฉายประวัติศาสตร์สยามในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว). การประชุมทางวิชาการเพื่อเสนอผลงานวิจัยเนื่องในวโรกาสเฉลิมพระเกียรติ 150 ปี วันพระบรมราชสมภพพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. อาคารมหาจุฬาลงกรณ์. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 19 กันยายน 2546.
  • การเสด็จพระราชดำเนินเยือนประเทศอิตาลีของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. (ในโครงการวิจัยเรื่อง การเสด็จพระราชดำเนินเยือนประเทศยุโรปของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว: ภาพฉายประวัติศาสตร์สยามในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว). การประชุมทางวิชาการ “การเสด็จพระราชดำเนินเยือนประเทศในเอเชียและยุโรป: ภาพฉายประวัติศาสตร์สยามในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว” เนื่องในวโรกาสเฉลิมพระเกียรติ 150 ปี วันพระบรมราชสมภพพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. ห้องประชุมสารนิเทศ. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 18 พฤศจิกายน 2546.
  • การเสด็จพระราชดำเนินเยือนนครรัฐวาติกันของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. (ในโครงการวิจัยเรื่อง การเสด็จพระราชดำเนินเยือนประเทศยุโรปของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว: ภาพฉายประวัติศาสตร์สยามในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว). การประชุมทางวิชาการ “การเสด็จพระราชดำเนินเยือนประเทศในเอเชียและยุโรป: ภาพฉายประวัติศาสตร์สยามในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว” เนื่องในวโรกาสเฉลิมพระเกียรติ 150 ปี วันพระบรมราชสมภพพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. ห้องประชุมสารนิเทศ. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 18 พฤศจิกายน 2546.
  • วิศวกรอี. โจวันนิ กอลโลกับผลงานที่ได้อุทิศแด่วงการศิลปะและสถาปัตยกรรมตะวันตกในสยาม. การประชุมทางวิชาการหัวข้อ พันเอก ยี. อี. เยรินี และวิศวกร กอลโล: ข้าราชการไทย. ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร กรุงเทพฯ. กุมภาพันธ์ 2543. [ตีพิมพ์เป็นภาษาไทย]
  • การเสด็จพระราชดำเนินเยือนอิตาลีของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและกลุ่มศิลปินชาวฟลอเรนซ์ในราชอาณาจักรสยาม : จากภาพกลุ่มมัคคิไอโยลิถึงศิลปะลิเบอร์ติ. การประชุมทางวิชาการ
  • นานาชาติอิตาเลียน-ไทยศึกษาครั้งที่ 1. พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ. กรุงเทพฯ. พฤศจิกายน 2540. [ตีพิมพ์เป็นภาษาไทย อิตาเลียน และอังกฤษ]

บทความนำเสนอในที่ประชุมระดับชาติ/นานาชาติ (ไม่ได้ตีพิมพ์)

  • การเสด็จประพาสอิตาลีของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. สัมมนาวิชาการนานาชาติในวโรกาสครบรอบ 100 ปีแห่งการเสด็จประพาสยุโรปครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ. 2450. อาคารมหาจุฬาลงกรณ์. วันที่ 14 มกราคม 2551.
  • สถาปัตยกรรมสยาม-อิตาเลียนในกรุงเทพฯ ยุคต้นศตวรรษที่ 20: เวทีแห่งโอกาสและพื้นที่ทางปัญญา. การประชุมทางวิชาการครั้งที่ 2 Italian-Thai Mosaic of Genius Conference on Siamese Studies “Siamese Mind and Body: Retrospect and Revival of Literary Cannon and Historical Ruins”. อุทยานประวัติศาสตร์เขาพระนครคีรี จังหวัดเพชรบุรี. 1 – 3 มีนาคม 2549
  • Galileo Chini alla Corte di Re del Siam [กาลิเลโอ คีนิ ณ ราชสำนักของพระเจ้าแผ่นดินแห่งสยาม]. การประชุมทางวิชาการและการนำเสนอภาพยนตร์สารคดีเนื่องในโอกาสครบรอบ 50 ปีแห่งการจากไปของศิลปินกาลิเลโอ คีนิ. โรงละคร Tredici เมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี. วันที่ 13 มกราคม 2549 (ไม่ได้ตีพิมพ์)
  • Il Liberty dal Mugello al Siam: Le decorazioni di Galileo Chini nella Sala del Trono di Bangkok [ศิลปะอาร์ทนูโวจาก มูเจลโล สู่กรุงสยาม: กาลิเลโอ คีนิ กับการตกแต่งท้องพระโรงที่กรุงเทพฯ]. การประชุมทางวิชาการ “ศิลปะอาร์ทนูโวจาก มูเจลโล สู่ กรุงสยาม“. วิลล่าเปโคริ จีรัลดิ เมืองบอร์โก ซาน ลอเร็นโซ (ฟลอเรนซ์) ประเทศอิตาลี. วันที่ 25 มิถุนายน 2548 (ไม่ได้ตีพิมพ์)
  • Affreschi di Galileo Chini al Palazzo del Trono Ananta Samakhom a Bangkok [จิตรกรรมปูนเปียกของกาลิเลโอ คีนิ ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม ในกรุงเทพฯ]. การประชุมทางวิชาการ ณ อาคารที่ว่าการเมืองมอนเตคาตีนี แตร์เม ประเทศอิตาลี. มีนาคม 2545 (ไม่ได้ตีพิมพ์)
  • Galileo Chini nel Siam: Palazzo Ananta Samakhom[กาลิเลโอ คีนิ ในสยาม: พระที่นั่งอนันตสมาคม]. การประชุมทางวิชาการ ณ อาคารแตร์เม แบร์ซิเยรี เมืองซัลโซมัจจอเร ประเทศอิตาลี. มีนาคม 2545 (ไม่ได้ตีพิมพ์)

บทแปล

  • การเสด็จประพาสยุโรปครั้งที่ 1 ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พ.ศ. 2440. รวมพระราชหัตถเลขาและเอกสารการเสด็จประพาสยุโรปครั้งที่ 1 ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว2440. ฉบับภาษาอิตาเลียนแปลโดย หนึ่งฤดี โลหผล ลุโชะ นาเลซินิ และสมศรี พบพิพักตร์. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ 2546
  • กาลิเลโอ คีนิ ณ กรุงเทพฯ. แปลจากบทความทางวิชาการของ ฟาบิโอ เบ็นซิ. วารสารเมืองโบราณ. ปีที่ 28 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม-กันยายน). กรุงเทพฯ. 2545
  • ความทรงจำแห่งสยาม (แปลโดยหนึ่งฤดี โลหผล Lucio Nalesini ศรัณย์ ทองปาน และชฎารัตน์ คนรู้). แปลจาก “Ricordi del Siam” ของกาลิเลโอ คีนิ (ค.ศ.1949). วารสารเมืองโบราณ. ปีที่ 28 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม-กันยายน). กรุงเทพฯ. 2545. [ปรับปรุงจากฉบับที่ตีพิมพ์ในสูจิบัตรนิทรรศการภาพถ่ายและบันทึกทางประวัติศาสตร์ของ Galileo Chini. 16 – 31 มกราคม 2545]

บรรยายพิเศษ (สารคดีโทรทัศน์/ภาพยนตร์สารคดี)

  • มกราคม 2565
    ในภาพยนตร์สารคดี Me and The Magic Door ผลงานสร้างสรรค์จากความร่วมมือระหว่างสถานเอกอัครราชทูตอิตาลีประจำประเทศไทย หอการค้าไทย-อิตาเลี่ยน (TICC) บริษัท Max Image จำกัด และหน่วยปฏิบัติการวิจัย The Arc of Memory จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถ่ายทำที่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประเทศไทย
  • 21 มิถุนายน 2549
    ในสารคดีเรื่อง Decorative and artistic symbols at the monumental tomb of Antonio De Grassi. จัดทำโดย Capodistria Television Authority (Republic of Slovenia). ถ่ายทำที่สุสานประวัติศาสตร์ เมืองคาโปดิสเทรีย ประเทศสโลเวเนีย
  • 19 ธันวาคม 2548
    ในภาพยนตร์สารคดี กาลิเลโอ คีนิ. เพื่อระลึกถึง 50 ปีแห่งการจากไปของศิลปินกาลิเลโอ คีนิ. ถ่ายทำที่เมืองลิโด ดิ คาไมยอเร ประเทศอิตาลี [ภาพยนตร์นำเสนอครั้งแรกที่โรงละคร Teatro Tredici เมืองฟลอเรนซ์]
  • 18 พฤษภาคม 2548
    ในสารคดีเรื่อง The monumental Tomb of Antonio De Grassi in Thai style. จัดทำโดย Capodistria Television Authority (Republic of Slovenia). ถ่ายทำที่สุสานประวัติศาสตร์ เมืองคาโปดิสเทรีย ประเทศสโลเวเนีย

งานบริการวิชาการ

การเข้าร่วมประชุมทางวิชาการ/ อบรม
  • Courses (Drawing and Etching) at the Scuola Libera del Nudo, Accademia di Belle Arti, Florence, 1992
    (Scholarship of the Italian Ministry of Foreign Affairs 1992-1993)
  • Courses (History of Art and History of Language) at the Faculty of Arts, University of Florence, 1992 (Scholarship of the Italian Ministry of Foreign Affairs 1992-1993)
  • Training course for tourist guide at the Faculty of Archeology, Silpakorn University, 1992 (First Prize award)
  • Course of Italian language at the School for foreigners of Siena, Siena, 1990 (Scholarship of the School for foreigners of Siena, 1990)