Subject Guide

เป็นรูปแบบหนึ่งของการบริการ ของศูนย์สารนิเทศฯ ที่ทำหน้าที่รวบรวมทรัพยากรในแต่ละหัวเรื่อง เพื่อเป็นแนวทางการเข้าถึงสารสนเทศสำหรับผู้ใช้บริการ การแบ่งหัวเรื่องใน Subject Guide มีหลากหลายเช่น แบ่งตามหัวเรื่อง ตามประเภทของสื่อ เป็นต้น

รวบรวมแหล่งข้อมูลออนไลน์ แยกตามสาขา

  1. E-Book
  2. E-Journal
  3. วิทยานิพนธ์/รายงานการวิจัย
  4. เครื่องมือสำหรับงานวิจัย

    Endnote     โปรแกรมช่วยในการจัดเอกสารอ้างอิง จัดการทางบรรณานุกรม (Bibliography or reference) ทั้งการจัดเก็บและการใส่รายการอ้างอิง (Citation) สำหรับการทำรายงาน วิทยานิพนธ์ และต้นฉบับบทความวิจัย

    Turnitin  ฐานข้อมูลที่ให้บริการตรวจสอบเพื่อป้องกันการละเมิดลิขสิทธิ์สิ่งพิมพ์ออนไลน์ (Plagiarism Checking) พร้อมทั้งชี้แหล่งข้อมูล ที่ปรากฏว่าซ้ำ (จากการคัดลอกและดัดแปลงจากงานผู้อื่น) โดยแสดงรายการเป็นแถบสี และระดับเปอร์เซ็นต์การเทียบซ้ำ ซึ่งรายงานต้นฉบับ (Originality Report) สามารถทำให้ผู้สอนสามารถติดตาม และแปลผล เพื่อประกอบการประเมินผลงานชิ้นนั้นได้อย่างสะดวก

    อักขราวิสุทธิ์ โปรแกรม/การตรวจสอบการลอกเลียนงานวรรณกรรมด้วยระบบอักขราวิสุทธิ์ เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับใช้ตรวจสอบการลอกเลียนงานวรรณกรรมผลงานต่าง ๆ เช่น วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ รายงานการวิจัย วารสารและเอกสารอิเล็กทรอนิกส์อื่น ๆ โปรแกรม

    อักขราวิสุทธิ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้พัฒนาขึ้นโดย ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับศูนย์วิจัยการประมวลผลภาษาและวัจนะคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อตรวจสอบการคัดลอกภาษาไทยโดยเฉพาะ และมีการพัฒนาต่อเนื่องให้สามารถตรวจสอบภาษาอังกฤษได้ด้วย การเข้าใช้งานสามารถเข้าถึงข้อมูลฐานข้อมูลวิทยานิพนธิ์จากมหาวิทยาลัยที่ร่วมลงนามความร่วมมือ ฯ และฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์จากสำนักงานคณะกกรรมการอุดมศึกษา (สำนักวิจัย ฯ มหาวิทยาลัยสวนดุสิตร่วมลงนาม)

  5. แหล่งข้อมูลสารสนเทศ Asian Collections
  6. แหล่งข้อมูลที่อื่นๆ

    • แหล่งข้อมูลเกี่ยวกับ PDPA
          
    – พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562

          – กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
          – กฎหมาย PDPA ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล เรื่องใกล้ตัวที่ทุกคนควรรู้
          – การปฏิรูปกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของไทยเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
             = The Personal Data Protection Law Reform for ASEAN

          – ปัญหากฎหมายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลในบริบทอิเล็กทรอนิกส์
          – 9 ขั้นตอนทำ PDPA ยังไงให้ผ่านเกณฑ์
          – Thailand Data Protection Guidelines 3.0Extension : แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
          – Thailand Data protection guidelines 3.2 : แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคสำหรับ
             การวิจัยและสถิติ

          – ผลกระทบที่เกิดจากการบังคับใช้พระราชบบัญญัติคุ้มครอง ข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
    • ข้อมูลเกี่ยวกับการคัดลอกผลงานทาวิชาการ (Plagiarism)
          
    – บทความวิชาการเรื่อง การคัดลอกผลงานทางวิชาการ จริยธรรมพื้นฐานที่สำคัญ
             Plagiarism important basic ethics.

          – ผลกระทบจาการการลอกเลียนงานทางวิชาการของนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการสารสนเทศ
             คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช

คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

254 ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

Privacy Policy 
© Faculty of Arts – All Rights Reserved 2020