Menu

กิจกรรมเผยแพร่ความรู้


๑. กิจกรรมที่หน่วยวิจัยเป็นผู้จัด


ปี พ.ศ.๒๕๖๒

๑)การนำเสนอผลงานวิจัย "วิทรรศน์วิจัยไทย-ลาว"  
  จัดโดย หน่วยปฏิบัติการวิจัย “ไทยวิทรรศน์” เพื่อการศึกษาภาษา วรรณคดี และคติชนไทย 
  ผู้นำเสนอผลงานวิจัย: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประไพพรรณ พึ่งฉิม, อาจารย์ ดร.ชัยรัตน์ พลมุข
  วันศุกร์ ที่ ๑๘ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๒ เวลา ๑๓.๐๐ - ๑๕.๐๐ น. 
  ณ ห้อง ๓๐๔ อาคารมหาจักรีสิรินธร คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
๒)นิทรรศการ “ເບິ່ງຮູບແຕ້ມ ແນມຮູບເງົາ ເລົ່າສັງຄົມ” (เบิ่งรูปแต้ม แนมรูปเงา เล่าสังคม)ศิลปะกับประวัติศาสตร์สังคมลาวตั้งแต่ทศวรรษ 1960-ปัจจุบัน"  
  จัดโดย หน่วยปฏิบัติการวิจัย “ไทยวิทรรศน์” เพื่อการศึกษาภาษา วรรณคดี และคติชนไทย
  ร่วมกับ โครงการสู่ความเป็นเลิศด้านภาษาและวรรณคดีไทย 
        ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
        Mekong Contemporary Art Foundation
        Mekong Art Initiative
  วันที่ ๓-๒๕ เมษายน ๒๕๖๒ ณ พิพิธภัณฑ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
๓)การประชุมวิชาการระดับชาติด้านภาษาไทย "วิวิธวิจัยภาษาไทย" ครั้งที่ ๒  
  หน่วยปฏิบัติการวิจัย “ไทยวิทรรศน์” เพื่อการศึกษาภาษา วรรณคดี และคติชนไทย
  ร่วมกับ ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 
       (โครงการสู่ความเป็นเลิศด้านภาษาและวรรณคดีไทย)   
       ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร   
       สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชาภาษาไทยและภาษาวัฒนธรรมตะวันออก คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  วันเสาร์ที่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๖๒ เวลา ๙.๐๐-๑๗.๐๐ น. ณ ห้อง ว.๑๑๔ ว.๑๑๕ ว.๒๑๔ ว.๒๑๕ และ ว.๒๑๖
  อาคารวชิรมงกุฎ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปี พ.ศ.๒๕๖๑

๑)การถ่ายทอดประสบการณ์ในหัวข้อ ภาษาไทยในปริบท “INTER”  
  จัดโดย หน่วยปฏิบัติการวิจัย “ไทยวิทรรศน์” เพื่อการศึกษาภาษา วรรณคดี และคติชนไทย  
  วิทยากร: อาจารย์ ดร.สุรีเนตร จรัสจรุงเกียรติ 
  (Nanyang Technological University, Singapore) 
  วันพฤหัสบดี ๑๕ มีนาคม ๒๕๖๑ เวลา ๑๓.๐๐-๑๖.๐๐ น. 
  ณ ห้อง ๓๐๔ อาคารมหาจักรีสิรินธร คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย1)
๒)การประชุมวิชาการระดับชาติด้านภาษาไทย "วิวิธวิจัยภาษาไทย" ครั้งที่ ๑
  จัดโดย ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 
       (โครงการสู่ความเป็นเลิศด้านภาษาและวรรณคดีไทย 
       และหน่วยปฏิบัติการวิจัย “ไทยวิทรรศน์” เพื่อการศึกษาภาษา วรรณคดี และคติชนไทย) 
       ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 
       สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชาภาษาไทยและภาษาวัฒนธรรมตะวันออก คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  วันเสาร์ ที่ ๒ มิถุนายน ๒๕๖๑ เวลา ๘.๓๐-๑๗.๐๐ น.
  ณ ห้อง ๓๐๑-๓๐๒ ๓๐๓-๓๐๔(ชั้น ๓) ๔๐๑/๑๘(ชั้น ๔) 
  และห้องอเนกประสงค์ ชั้น ๙ อาคารมหาจักรีสิรินธร คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
๓)การประชุมทางวิชาการ “มณีปัญญา” เนื่องใน "วันภาษาไทยแห่งชาติ ประจำปี ๒๕๖๑"
  จัดโดย ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 
  ร่วมกับ ศูนย์วิจัยภาษาและวรรณคดีไทย และหน่วยปฏิบัติการวิจัยไทยวิทรรศน์
  วันพฤหัสบดีที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๖๑ เวลา ๘.๓๐-๑๕.๓๐ น.
  ณ ห้องอเนกประสงค์ ชั้น ๙ อาคารมหาจักรีสิรินธร คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

๒. กิจกรรมที่บุคลากรในหน่วยวิจัยไปเผยแพร่ความรู้


ปี พ.ศ.๒๕๖๒

๑)ชัยรัตน์ พลมุข. “Texture of Memory: On Lao Diasporic Practices” 
  การบรรยายในฐานะองค์ปาฐก (keynote speaker) ในงาน Elevation Laos Symposium 
  วันที่ 10 พฤศจิกายน 2561 ณ นครหลวงเวียงจันทน์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 
 
๒)ชัยรัตน์ พลมุข. “Vannakhadi is Dead: Reading Lao Literature in Turbulent Times” 
  การบรรยายในงานประชุมวิชาการ The Sixth International Conference on Lao Studies 
  วันที่ 13-15 มิถุนายน 2562 ณ Cornell University ประเทศสหรัฐอเมริกา
   
๓)ชัยรัตน์ พลมุข. “Translation and the Making of an Urban Landscape in Laos”  
  การบรรยายในงานประชุมวิชาการ The Eighth International Association of Translation and Cultural Studies Regional Workshop 
  วันที่ 31 สิงหาคม – 1 กันยายน 2562 ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 
   
๔)ประไพพรรณ พึ่งฉิม. "การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์" 
  การบรรยายวิชาการจัดโดย สถาบันภาษาไทยสิรินธร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 
  วันศุกร์ที่ 19 กรกฎาคม 2562 ณ อาคารจุฬาวิชช์ 1 สถาบันภาษาไทยสิรินธร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 
 
๕)อาทิตย์  ชีรวณิชย์กุล. "พูนพระยศเฉลิมเสริมศักดิ์ศรี: ความหมายของการเฉลิมพระยศเจ้านายและแบบแผนราชาศัพท์" 
  การบรรยายพิเศษเนื่องในวันภาษาไทยแห่งชาติ พุทธศักราช 2562 
  จัดโดย งานวิจัยและภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 
  วันที่ 25 กรกฎาคม 2562 ณ ห้องอเนกประสงค์ชั้น 9 อาคารมหาจักรีสิรินธร คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  
๖)ประไพพรรณ พึ่งฉิม. “ภาษาพาพ้นวิกฤต? : การศึกษากลวิธีการกู้ภาพลักษณ์จากมุมมองทฤษฎีการสื่อสารและภาษา”. 
  นำเสนอในการนำเสนอผลงานวิจัย “วิทรรศน์วิจัยไทย-ลาว”    
  จัดโดย หน่วยปฏิบัติการวิจัยไทยวิทรรศน์ เพื่อการศึกษาภาษา วรรณคดี และคติชนไทย  
  ณ ห้องอเนกประสงค์ ชั้น ๙ อาคารมหาจักรีสิรินธร คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ 26 กรกฎาคม 2561
๗)ชัยรัตน์ พลมุข.เถ้าธุลีคืออีกนามหนึ่งของประวัติศาสตร์: ภูมิทัศน์ผัสสารมณ์ของซากปรักสงครามในวรรณกรรรมและวัฒนธรรมทัศนาการลาวร่วมสมัย”.
  นำเสนอในการนำเสนอผลงานวิจัย “วิทรรศน์วิจัยไทย-ลาว”   จัดโดย หน่วยปฏิบัติการวิจัยไทยวิทรรศน์ เพื่อการศึกษาภาษา วรรณคดี และคติชนไทย  
  ณ ห้องอเนกประสงค์ ชั้น ๙ อาคารมหาจักรีสิรินธร คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๖๑

ปี พ.ศ.๒๕๖๑

๑) ธานีรัตน์ จัตุทะศรี. ชมสาร อ่านศิลป์: ลักษณะเด่นและความสำคัญของวรรณคดีประกอบคู่ทัศนศิลป์ไทย. 
   บทความนำเสนอในการประชุมวิชาการระดับชาติเรื่อง “โลกกับธรรม: ภูมิปัญญาความรู้ในงานพุทธศิลป์อีสาน” 
   จัดโดย โครงการวิวัฒน์ไทยศึกษานานาชาติเพื่อการพัฒนาสังคมไทย : ENITS สถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 
   สาขาวิชาภาษาและวรรณคดีตะวันออก คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
   ณ โรงแรมพูลแมน ขอนแก่น ราชา ออคิด จังหวัดขอนแก่น วันที่ ๒๒-๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑.
๒) อาทิตย์ ชีรวณิชย์กุล. นิบาตชาดกพากย์ไทย: วรรณกรรมแปลสามรัชกาลกับคุณูปการต่อการศึกษาชาดกในประเทศไทย. 
   บทความนำเสนอในงานเสวนาจุฬาลงกรณ์ราชบรรณาลัย ครั้งที่ ๔ “๑-๑๐๑ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สืบสานพระราชปณิธานด้วยศาสตร์และศิลป์” 
   จัดโดยสำนักงานวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ ๒๐ มีนาคม ๒๕๖๑.
๓) Pattaratorn Chirapravati and Arthid Sheravanichkul. 
   Reflections on the Boundary Markers of the Early Rattanakosin Period (1782-1868): ‘Temples of the Reign’ and the New Buddhist Lineage. 
   Paper presented at the Theravada Civilisations Conference “Emerging Themes in Theravada Studies” 
   in the Association for Asian Studies Annual Conference 2018, 22-25 March 2018, Washington DC. 
   (Panel: Simas: History, Practices, and Politics). [บทความจะตีพิมพ์ใน Proceeding].
๔) Arthid Sheravanichkul. Chanting under royal patronage: The Thai chanting tradition as nurtured by the kings of the Chakri dynasty. 
   Paper presented at the Third International Pali Studies Week 2018. 11-14 June 2018, Sorbonne, Ecole Pratique des Hautes Etudes. 
   (ได้รับทุนสนับสนุนจาก Ecole Pratique des Hautes Etudes, Khyentse Foundation และหน่วยปฏิบัติการวิจัย “ไทยวิทรรศน์”ฯ)
๕) ณัฐพร พานโพธิ์ทอง และ ศิริพร ภักดีผาสุข.รักษาความสัมพันธ์หรือมุ่งพันธกิจ?: การวิเคราะห์วิถีไทยในการสนทนา. 
   นำเสนอในการประชุมทางวิชาการ “มณีปัญญา” เนื่องในวันภาษาไทยแห่งชาติ ประจำปี ๒๕๖๑ 
   จัดโดยภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับศูนย์วิจัยภาษาและวรรณคดีไทย และหน่วยปฏิบัติการวิจัยไทยวิทรรศน์ 
   ณ ห้องอเนกประสงค์ ชั้น ๙ อาคารมหาจักรีสิรินธร  คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๖๑.
๖) ธานีรัตน์ จัตุทะศรี. ความสำคัญของเรื่องปันหยี/อิเหนาในสมัยรัชการที่ ๕: หัวเลี้ยวแห่งวัฒนธรรมอิเหนาของไทย. 
   นำเสนอในการประชุมทางวิชาการ “มณีปัญญา” เนื่องในวันภาษาไทยแห่งชาติ ประจำปี ๒๕๖๑ 
   จัดโดยภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับศูนย์วิจัยภาษาและวรรณคดีไทย และหน่วยปฏิบัติการวิจัยไทยวิทรรศน์ 
   ณ ห้องอเนกประสงค์ ชั้น ๙ อาคารมหาจักรีสิรินธร  คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๖๑.
๗) ปรมินท์ จารุวร. พลวัตของการเล่นสักวาในสังคมไทย: พินิจในเชิงคติชนกับวรรณคดี.  
   นำเสนอในการประชุมทางวิชาการ “มณีปัญญา” เนื่องในวันภาษาไทยแห่งชาติ ประจำปี ๒๕๖๑ 
   จัดโดยภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับศูนย์วิจัยภาษาและวรรณคดีไทย และหน่วยปฏิบัติการวิจัยไทยวิทรรศน์ 
   ณ ห้องอเนกประสงค์ ชั้น ๙ อาคารมหาจักรีสิรินธร  คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๖๑.
๘) อาทิตย์ ชีรวณิชย์กุล. หนทางและที่พึ่งพิง: พืชพันธุ์แห่งพุทธะในท้องทุ่งมโนทัศน์ กวีนิพนธ์ของอังคาร จันทาทิพย์ พุทธประวัติในกวีนิพนธ์ไทยร่วมสมัย. 
   บทความนำเสนอในการประชุมวิชาการ “มณีปัญญา” เนื่องในวันภาษาไทยแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๖๑ จัดโดยภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 
   จัดโดยภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับศูนย์วิจัยภาษาและวรรณคดีไทย และหน่วยปฏิบัติการวิจัยไทยวิทรรศน์ 
   ณ ห้องอเนกประสงค์ ชั้น ๙ อาคารมหาจักรีสิรินธร  คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๖๑.
   (ชุดโครงการวิจัย ๑๐๐ ปี ภาควิชาภาษาไทย ได้รับทุนสนับสนุนจากฝ่ายวิจัย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
๙) ณัฐพร พานโพธิ์ทอง. วิจัยภาษาไทยในมิติสังคมและวัฒนธรรม.  
   นำเสนอในการเสวนาทางวิชาการ “พลังของภาษา ปัญญาสังคมไทย”เนื่องในวันภาษาไทยแห่งชาติ ประจำปี ๒๕๖๑ 
   จัดโดยคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกระทรวงวัฒนธรรม  ณ หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๑.
๑๐) ศิริพร ภักดีผาสุข. การสร้างสรรค์และการเล่นกับภาษาไทย. 
    นำเสนอในการเสวนาทางวิชาการ “พลังของภาษา ปัญญาสังคมไทย”เนื่องในวันภาษาไทยแห่งชาติ ประจำปี ๒๕๖๑
    จัดโดยคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกระทรวงวัฒนธรรม  ณ หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๑.
๑๑) อาทิตย์ ชีรวณิชย์กุล. พลังของภาษา: “พระสัจจบารมี” ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ . 
    นำเสนอในการเสวนาทางวิชาการ “พลังของภาษา ปัญญาสังคมไทย”เนื่องในวันภาษาไทยแห่งชาติ ประจำปี ๒๕๖๑ 
    จัดโดยคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกระทรวงวัฒนธรรม  ณ หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๑.
๑๒) อาทิตย์ ชีรวณิชย์กุล. การสวดมนต์ในพระบรมราชูปถัมภ์จากอดีตถึงปัจจุบัน. 
    นำเสนอในงานสัมมนาวิชาการ “อักษรศาสตร์พุทธศาสน์ศึกษา” 
    จัดโดยฝ่ายพัฒนาความเป็นนานาชาติฯ ภาควิชาภาษาไทย และสาขาวิชาภาษาเอเชียใต้ ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 
    ร่วมกับ Khyentse Foundation ณ ห้อง ๗๐๗ อาคารบรมราชกุมารี วันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๖๑.

 


หน่วยปฏิบัติการวิจัย “ไทยวิทรรศน์” เพื่อการศึกษาภาษา วรรณคดี และคติชนไทย   ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Thaivithat Research Unit for Thai Language, Literature and Folklore.  Department of Thai, Faculty of Arts, Chulalongkorn University.