Menu

ผลงานวิจัย


ผลงานตีพิมพ์  


หนังสือ

ธานีรัตน์ จัตุทะศรี. 2562. อิเหนาวิวิธ: รวมบทความว่าด้วยเรื่องอิเหนาฉบับแปลกใหม่. 
     กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ศิริพร ภักดีผาสุข. 2561. ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับอัตลักษณ์และแนวทางการนำมาศึกษาภาษาไทย. 
     กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วารสารระดับชาติ

วารสารในฐานข้อมูลศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI)

   ปี พ.ศ.2563

1) รดารัตน์ ศรีพันธ์วรสกุล และณัฐพร พานโพธิ์ทอง. 2563. การศึกษาวัจนกรรมการแสดงความเห็นแย้งของผู้เรียนภาษาไทยชาวจีนตามแนววัจนปฏิบัติศาสตร์อันตรภาษา: 
       กรณีศึกษานักศึกษาชาวจีนจากมณฑล ยูนนานและกวางสี. วารสารวจนะ 8,1 (มกราคม–มิถุนายน): 1-26.


   ปี พ.ศ.2562

1) ณัฏฐพล เขียวเสน และธานีรัตน์ จัตุทะศรี. 2562. การสืบทอดและการดัดแปลงเรื่องพระอภัยมณีของสุนทรภู่เป็นบทละครรำของกรมศิลปากร. วารสารดำรงวิชาการ 18,1: 173-200.

2) ธีระยุทธ สุริยะ และ ณัฐพร พานโพธิ์ทอง. 2562. ภาพตัวแทนของชาวโรฮิงญาในสื่อออนไลน์ภาษาไทย. วารสารภาษาและวรรณคดีไทย 36,1: 169-219.

3) สุจิตรา แซ่ลิ่ม และ ศิริพร ภักดีผาสุข. 2562. ภาพตัวแทนของผู้ชุมนุมทางการเมืองในเหตุการณ์ชุมนุมทางการเมืองช่วงปี พ.ศ. 2556-2557 ในพาดหัวข่าวในหนังสือพิมพ์ภาษาไทย: 
       การศึกษาตามแนววาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์. วารสารภาษาและวรรณคดีไทย 36,1: 104-168.

4) ธานีรัตน์ จัตุทะศรี. 2562. บทละครเรื่องดาหลังฉบับหมื่นจำเนียร: เรื่องดาหลังสำนวนเก่าที่เพิ่งพบ. วารสารอักษรศาสตร์ 48, 2 (ก.ค.-ธ.ค.): 146-173.

5) ธานีรัตน์ จัตุทะศรี. 2562. บทละครเรื่องดาหลังฉบับสมุดไทยเลขที่ 516/1: เรื่องดาหลังสำนวนแปลก. วารสารภาษาและวรรณคดีไทย 36, 2 (ธันวาคม): 67-109.

6) เสาวภาคย์ ขันมั่น และปรมินท์ จารุวร. 2562. ท้าวหิรัญพนาสูร: บทบาทและความสัมพันธ์กับเรื่องเล่าเกี่ยวกับทุ่งพญาไท. วารสารภาษาและวรรณคดีไทย 36, 2 (ธันวาคม): 164-198.

7) อารยา ตั้งพิทักษ์มงคล และศิริพร ภักดีผาสุข. 2562. คำคมร่วมสมัยในสื่อสังคมออนไลน์ : การศึกษาแนวคิดและกลวิธีทางภาษา. วารสารภาษาและวรรณคดีไทย 36, 2 (ธันวาคม): 34-66.

  
   ปี พ.ศ.2561

1) ณัฐพร พานโพธิ์ทอง และ ศิริพร ภักดีผาสุข. 2561. การสนทนาแบบเน้นภารกิจในภาษาไทยกับปัจจัยสังคมวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้อง: กรณีศึกษาข้อมูลชุด Mister O ภาษาไทย. 
       วารสารภาษาและภาษาศาสตร์ 36,(ฉบับพิเศษ): 1-30. 

2) ธานีรัตน์ จัตุทะศรี. 2561. เมื่อเกิดมาเป็นสตรี จะสงวนประเวณีให้แจ่มใส": การนำเสนอตัวละครหญิงเพื่อสอนหญิงในเรื่องดาหลังพระราชนิพนธ์รัชกาลที่ 1. 
       วารสารไทยศึกษา 2,(มิถุนายน-ธันวาคม): 151-198.

3) รัมภ์รดา กองช้าง และ ณัฐพร พานโพธิ์ทอง. 2561. กลวิธีการตอบถ้อยคำนัยผกผันแบบประชดประชันในภาษาไทย: กรณีศึกษาคู่สนทนาที่มีสถานภาพเท่ากัน. 
       บทความตีพิมพ์ในรายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ"วิวิธวิจัยภาษาไทยครั้งที่ 1": 143-160.

4) สุนทรี โชติดิลก และ ณัฐพร พานโพธิ์ทอง. 2561. เด็กดีต้องทำบุญ” ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับอุดมการณ์ในวาทกรรมสื่อสำหรับเด็กที่ผลิตโดยวัดพระธรรมกาย. 
       วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 40,1:85-123.

5) อัญมาศ ภู่เพชร และ ศิริพร ภักดีผาสุข. 2561. พลวัตในนิทานเรื่องศรีธนญชัยในสื่อสิ่งพิมพ์ร่วมสมัย. 
       วารสารภาษาและวรรณคดีไทย 35,1(มิถุนายน): 150-208. 


   ปี พ.ศ.2560

1) ณัฐพร พานโพธิ์ทอง และ ศิริพร ภักดีผาสุข. 2560. การพูดเล่นและการหยอกล้อคู่สนทนา: ลักษณะเด่นของการสนทนาแบบเน้นภารกิจในภาษาไทย. 
       วารสารภาษาและวรรณคดีไทย 34,2(ธันวาคม): 1-40.

2) ทัดดาว รักมาก และ ณัฐพร พานโพธิ์ทอง. 2560. กลวิธีการตอบการแสดงความไม่พอใจของผู้โดยสาร:กรณีศึกษาพนักงานบริการผู้โดยสารภาคพื้นสายการบินไทย.  
       วารสารภาษาและวรรณคดีไทย 34,2(ธันวาคม): 41-81.

3) ประไพพรรณ พึ่งฉิม. 2560.  กลวิธีการกู้ภาพลักษณ์ในปริจเฉทการแถลงข่าวอื้อฉาวของบุคคลในวงการบันเทิงไทย.  
       วารสารภาษาและวรรณคดีไทย 34,2(ธันวาคม): 82-139.


วารสารระดับนานาชาติ

Arthid Sheravanichkul. 2018. Unahitwichai Kham Lilit: A Thai poem based on the Pali Uṇhissavijayasūtra. 
       In Claudio Cicuzza (ed.), Katā me rakkhā, katā me parittā: protecting the protective manuscripts. 
       Proceedings of the Second International Pali Studies Week, Paris 2016, Fragile Palm Leaves Foundation 
       and Lumbini International Research Institute, Bangkok and Lumbini. [Forthcoming].

 


ผลงานสร้างสรรค์ต่อยอดจากงานวิจัย 


ผลงานสร้างสรรค์ต่อยอดจากโครงการวิจัย “สืบ สร้าง สายสัมพันธ์ไทย-คาสี ผ่านคติชน”
ดำเนินการโดย รศ.ดร.ปรมินท์ จารุวร และนิสิตสายคติชน


หน่วยปฏิบัติการวิจัย “ไทยวิทรรศน์” เพื่อการศึกษาภาษา วรรณคดี และคติชนไทย   ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Thaivithat Research Unit for Thai Language, Literature and Folklore.  Department of Thai, Faculty of Arts, Chulalongkorn University.