การร่วมเรียนรายวิชาของภาควิชาภาษาศาสตร์ ภาคการศึกษาปลาย ปีการศึกษา 2565

ภาควิชาภาษาศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดรับบุคคลภายนอกเข้าร่วมเรียนรายวิชาที่ภาควิชาเปิดสอนในภาคการศึกษาปลาย ปีการศึกษา 2565 ดังต่อไปนี้วิชาระดับบัณฑิตศึกษา 2209531 อรรถศาสตร์ (Semantics) – จันทร์ 9.00-12.00 น.สัญญะและการสื่อสัญญะ ประเภทและระดับของความหมายและความกากวม ความสัมพันธ์ระดับคาศัพท์และระดับประโยค เงื่อนไขความจริงและคาจากัดความ การจัดประเภทและลาดับชั้นของประเภท ความหมายเชิงไวยากรณ์ ความหมายเชิงเปรียบเทียบ ความหลากหลายและการเปลี่ยนแปลงทางความหมาย 2209621 ทฤษฎีภาษาศาสตร์ (Linguistic Theories) – อังคาร 13.00-16.00 น. (เรียนออนไลน์… Read more »

ตารางรายวิชาระดับปริญญาตรี และระดับบัณฑิต ภาคปลาย ปีการศึกษา 2565

วิชา Highlight วิชาใหม่ของเทอมนี้ คือ 2209612 Language, Gender, and Sexuality สอนโดยอาจารย์ภาวดี (วิชายังไม่อยู่ใน reg สามารถลงทะเบียนได้ภายหลัง) 2209642 Prosody สอนโดยอาจารย์พิทยาวัฒน์ 2209683 Quantitative Methods in Linguistics สอนโดยอาจารย์ณัฏฐนันท์ อาจารย์ Francesco และอาจารย์สิรีมาศ (กลับมาอีกครั้งตามคำเรียกร้อง)

NWAV-AP7

ภาควิชาภาษาศาสตร์ และหน่วยปฏิบัติการวิจัยภาษาศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จะจัดงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติ New Ways of Analyzing Variation – Asia Pacific 7 (NWAV-AP 7) ระหว่างวันที่ 14-16 ธ.ค. 2565 ณ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้สนใจสามารถดูรายละเอียดเกี่ยวกับการประชุมและการส่งบทคัดย่อได้ที่ http://www.arts.chula.ac.th/ling/nwavap7

การร่วมเรียนรายวิชาของภาควิชาภาษาศาสตร์ ภาคการศึกษาปลาย ปีการศึกษา 2564

ภาควิชาภาษาศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดรับบุคคลภายนอกเข้าร่วมเรียนรายวิชาที่ภาควิชาเปิดสอนในภาคการศึกษาปลาย ปีการศึกษา 2564 ดังต่อไปนี้ (นิสิตปัจจุบันสามารถลงทะเบียนเรียนผ่าน reg.chula.ac.th ได้โดยตรง) รายวิชาระดับปริญญาตรี 2209370 ภาษาและความคิด 2209379 ภาษากับเพศ 2296200 ภาษามนุษย์ (ประเมินผลแบบ S/U เท่านั้น) วิชาระดับบัณฑิตศึกษา 2209531 อรรถศาสตร์ 2209621 ทฤษฎีภาษาศาสตร์ 2209670 ภาษาศาสตร์คอมพิวเตอร์ บุคคลภายนอกสามารถเข้าร่วมเรียนรายวิชาของภาควิชาภาษาศาสตร์ในแต่ละภาคการศึกษาได้ไม่เกิน 3 รายวิชาสำหรับระดับปริญญาตรี… Read more »

รายละเอียดวิชา 2209757 Selected Topic in Linguistics ปี 2564

2209757 The Structure of Thai Noun Phrases Instructor: Khanin Chaiphet, Stony Brook University วิชานี้จะทำการเรียนการสอนเป็นภาษาไทย ผ่าน Zoom วันศุกร์ เวลา 9:30 – 12:30น. In this seminar, we will explore various syntactic theories… Read more »

การร่วมเรียนในรายวิชาของภาควิชาภาษาศาสตร์ ภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา 2564

ภาควิชาภาษาศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดรับบุคคลภายนอกเข้าร่วมเรียนในรายวิชาระดับบัณฑิตศึกษาที่ภาควิชาเปิดสอนในภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา 2564 ดังต่อไปนี้ 2209503 สัทศาสตร์และสัทวิทยา (Phonetics and Phonology) 2209521 วากยสัมพันธ์ (Syntax) 2209671 การเขียนโปรแกรมเพื่อการประมวลผลภาษาธรรมชาติ (Programming for Natural Language Processing) 2209673 ภาษาศาสตร์คลังข้อมูล (Corpus Linguistics) 2209675 ภาษาศาสตร์ภาษาตระกูลขร้า-ไท (Kra-Dai Linguistics)… Read more »

LOT logo

ตราสัญลักษณ์ประจำการแข่งขันภาษาศาสตร์โอลิมปิกแห่งประเทศไทยตราสัญลักษณ์ประจำการแข่งขันภาษาศาสตร์โอลิมปิกแห่งประเทศไทยมีองค์ประกอบหลัก 3 องค์ประกอบ ได้แก่ ภาพนามธรรมของศิลาโรเซตตา (Rosetta Stone) อักษรย่อภาษาอังกฤษ LOT และอักษรย่อภาษาไทย ภอท.ศิลาโรเซตตา จารขึ้นโดยใช้อักขระสามชนิด คือใช้อักขระไฮโรกลิฟิก (Hieroglyphic) และอักขระดิมอติก (Demotic) เพื่อจารภาษาอียิปต์ และใช้อักขระกรีกเพื่อจารภาษากรีก เมื่อมีการค้นพบศิลาโรเซตตานั้น ยังไม่มีผู้ใดอ่านอักขระไฮโรกลิฟิกได้ แต่เพราะการจารเนื้อความเดียวกันในสองภาษาด้วยอักขระสามชนิดจึงทำให้สามารถถอดรหัสอักขระไฮโรกลิฟิกได้การแข่งขันภาษาศาสตร์โอลิมปิกในต่างประเทศมักมีโจทย์ปัญหาประเภทศิลาโรเซตตามาให้ผู้เข้าแข่งขันแก้อยู่เสมอ โจทย์ปัญหาประเภทศิลาโรเซตตาคือโจทย์ปัญหาสองภาษา ภาษาหนึ่งเป็นภาษา (หรือระบบสัญลักษณ์ที่คล้ายภาษา) ที่ผู้แก้โจทย์ไม่ทราบ และอีกภาษาหนึ่งคือภาษาแม่ของผู้แก้โจทย์ (“Solverese”) โจทย์ประเภทนี้อาจให้ผู้แก้โจทย์แปลภาษาหนึ่งเป็นอีกภาษาหนึ่ง หรือแก้โจทย์อื่นๆ เกี่ยวกับภาษาที่ผู้แก้โจทย์ไม่ทราบในส่วนของตัวย่อภาษาอังกฤษของการแข่งขันภาษาศาสตร์โอลิมปิกแห่งประเทศไทย… Read more »

เปิดตัว ภาษาศาสตร์โอลิมปิกแห่งประเทศไทย

ภาควิชาภาษาศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ขอเชิญร่วมงานเปิดตัว “ภาษาศาสตร์โอลิมปิกแห่งประเทศไทย” (ภอท.) (Thailand Linguistics Olympiad (LOT)) ในวันศุกร์ที่ 19 กุมภาพันธ์ 2564 เวลา 13.30-15.00 น. ผ่านทาง Facebook ของภาควิชาภาษาศาสตร์ https://www.facebook.com/LingChula พบกับการแนะนำข้อมูลและถามตอบเกี่ยวกับภาษาศาสตร์โอลิมปิกแห่งประเทศไทย พร้อมการเฉลยตัวอย่างข้อสอบ ผู้สนใจสามารถลองทำข้อสอบล่วงหน้าได้ที่ http://bit.ly/2MVpWyV

การร่วมเรียนในรายวิชาของภาควิชาภาษาศาสตร์ ภาคการศึกษาปลาย ปีการศึกษา 2563

ภาควิชาภาษาศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดรับบุคคลภายนอกเข้าร่วมเรียนในรายวิชาที่ภาควิชาเปิดสอนในภาคการศึกษาปลาย ปีการศึกษา 2563 ดังต่อไปนี้ รายวิชาระดับปริญญาตรี 2209305 ความหมายในภาษา (Meaning in language) 2209371 ภาษาศาสตร์ภาษาโรมานซ์เบื้องต้น (Introduction to Romance linguistics) 2296200 ภาษามนุษย์ (Human language) รายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา 2209531  อรรถศาสตร์ (Semantics) 2209611  ภาษาศาสตร์เชิงประวัติ (Historical… Read more »

ขอเชิญผู้สนใจเข้าร่วมงาน “บทบาทในแวดวงสำคัญและวิถีแห่งการสร้างความสมดุลของภาษาในประเทศกลุ่มอาเซียน”

ภาควิชาภาษาศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยร่วมกับโครงการวิจัยทุนศาสตราจารย์วิจัยดีเด่น สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ขอเชิญผู้สนใจเข้าร่วมงาน”บทบาทในแวดวงสำคัญและวิถีแห่งการสร้างความสมดุลของภาษาในประเทศกลุ่มอาเซียน” ในวันพฤหัสบดีที่ 8 ตุลาคม 2563 เวลา 8.30-17.00 น. ณ ห้องอเนกประสงค์ ชั้น 9 อาคารมหาจักรีสิรินธร คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดูกำหนดการได้ที่ https://bit.ly/2ZCqLQQ ลงทะเบียนนี้เพื่อเข้าร่วมงานที่คณะอักษรศาสตร์ จุฬาฯ ได้ที่ https://forms.gle/SoCxe2RnAcNf6cwJ9 งานนี้ไม่มีค่าใช้จ่ายในการเข้าร่วม แต่สามารถรับผู้เข้าร่วมงานที่คณะอักษรศาสตร์ได้ในจำนวนจำกัด เนื่องจากต้องจัดที่นั่งแบบเว้นระยะห่าง ระบบลงทะเบียนจะปิดเมื่อมีผู้ลงทะเบียนครบแล้ว ท่านที่เข้าร่วมงานที่คณะอักษรศาสตร์จะได้รับหนังสือที่เป็นผลผลิตของโครงการวิจัยจำนวน… Read more »