รองศาสตราจารย์ ดร. ศิรประภา ชวะนะญาณ
Associate Professor Siraprapa Chavanayarn, PhD

ภาควิชาปรัชญา และศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม
คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ถนนพญาไท เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330
โทร. 0-2218-4754
E-mail: Siraprapa.C@Chula.ac.th 

แขนงวิชาที่สนใจ

ญาณวิทยา (Epistemology) ญาณวิทยาเชิงสังคม (Social Epistemology) ญาณวิทยาเชิงคุณธรรม (Virtue Epistemology) ตรรกวิทยา (Logic) ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence)

ประวัติการศึกษา

  • พ.ศ.2546 อักษรศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • พ.ศ.2552 อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ปรัชญา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประวัติทุนการศึกษา

  • พ.ศ.2549 – พ.ศ.2551 ทุนพัฒนาอาจารย์ (เพื่อศึกษาในระดับปริญญาเอก) จากสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา

งานบริหาร

  • พ.ศ. 2554 – ปัจจุบัน กรรมการบริหารหลักสูตรอักษรศาสตรบัณฑิต อักษรศาสตรมหาบัณฑิต และอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์
  • พ.ศ. 2554 – ปัจจุบัน กรรมการบริหารภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์
  • พ.ศ. 2554 – พ.ศ. 2561 กรรมการฝ่ายกิจการนิสิต คณะอักษรศาสตร์
  • พ.ศ. 2558 – พ.ศ. 2561 กรรมการฝ่ายพัฒนาความเป็นนานาชาติและส่งเสริมภาพลักษณ์องค์กร คณะอักษรศาสตร์
  • พ.ศ. 2559 – พ.ศ. 2561 ที่ปรึกษาคณะกรรมการกิจการพิเศษ คณะอักษรศาสตร์
  • พ.ศ. 2558 – พ.ศ. 2561 ผู้ช่วยคณบดีคณะอักษรศาสตร์ (รับผิดชอบงานประชาสัมพันธ์และสื่อสารองค์กร)
  • พ.ศ. 2562 – พ.ศ. 2565 ผู้ช่วยคณบดีคณะอักษรศาสตร์ (รับผิดชอบงานวิชาการ)
  • พ.ศ .2566 – ปัจจุบัน รองคณบดีคณะอักษรศาสตร์ (รับผิดชอบงานวิชาการ)

ผลงานวิชาการ

บทความภาษาไทย

  • ศิรประภา ชวะนะญาณ. “ผลกระทบของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ต่อเสรีภาพและความเสมอภาค” ใน สิริเพ็ญ พิริยจิตรกรกิจ และคณะ. มิติด้านญาณวิทยาและจริยศาสตร์ของงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์กับนัยของมิติเหล่านี้ในการกำหนดนโยบาย. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
  • ศิรประภา ชวะนะญาณ. ““การรู้เชิงสังคม” ไม่ขึ้นอยู่กับ “การรู้เชิงปัจเจกบุคคล” จริงหรือ?.” The Journal. 8, 2 (2012): 3-17.
  • ศิรประภา ชวะนะญาณ. “ข้อสังเกตต่อ “คุณค่าที่แท้จริง” ตามทัศนะของโกลด์แมน จากการพิจารณาประเด็นปัญหาในญาณวิทยาเชิงสังคมบางประการเกี่ยวกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต.” วารสารสมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย. 9,1 (มีนาคม 2557): 1-40.
  • ศิรประภา ชวะนะญาณ. 2560. “องค์ความรู้เรื่องคุณธรรม จริยธรรม วัฒนธรรม และระเบียบวินัยของคนไทย: ข้อพิจารณาผ่านงานวิจัยที่ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานสนับสนุนการวิจัย” ในโครงการสำรวจองค์ความรู้เรื่องคุณธรรม จริยธรรม วัฒนธรรม และระเบียบวินัยของคนไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
  • มิติทางญาณวิทยาบางประการเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่าง “สื่อ” และ “สังคม” (โครงการทุนวิจัยมหาบัณฑิต สกว. ด้านมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ 2557) แหล่งทุนสนับสนุน สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

บทความภาษาอังกฤษ

  • Siraprapa Chavanayarn. (2010). “Does Apriority Involve Necessity?,” Prajna Vihara: Journal of Philosophy and Religion. 11, 1: 107-122.
  • Siraprapa Chavanayarn. (2013). “A Dilemma of Some Reductionist Arguments concerning Testimony,” Yongbong Journal of Humanities (Yongbong nonch’ong: inmun kwahak yŏn’gu). 43, 2: 41-68.
  • Siraprapa Chavanayarn. (2016). “An Epistemic Status of Rumor,” Proceedings of the International Symposium “Philosophy in Dialogue: Bridging the Great Philosophical Divides  (26-28 March 2015, Department of Philosophy, Chulalongkorn University, Thailand)
  • Chavanayarn, Siraprapa. (2018). “The Epistemic Value of Open Science,” Open Science Journal. 3, 3: 1-8.
  • Chavanayarn, Siraprapa. (2021). “Epistemic Injustice as an Important Barrier to Establishing an Open Science Culture in Thailand,” The International Journal of Interdisciplinary Civic and Political Studies. 16 (1): 17-27. doi:10.18848/2327-0071/CGP/v16i01/17-27.
  • Chavanayarn, Siraprapa. (2022). “The Importance of Different Contexts in Mitigating Fake News Problems: A case study of fake news about COVID-19 in Thailand,” The 8th online meeting of the Asian Epistemology Network. (13 March 2021).
  • Chavanayarn, S. (2023). Navigating Ethical Complexities Through Epistemological Analysis of ChatGPT. Bulletin of Science, Technology & Society, 43(3,4). https://doi.org/10.1177/02704676231216355

หนังสือ/ตำรา

  • ศิรประภา ชวะนะญาณ. 2564. มิติเชิงสังคมของความรู้: ญาณวิทยาเชิงสังคม. กรุงเทพ. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

งานวิจัยฉบับสมบูรณ์

  • วิธีการของปรัชญาวิเคราะห์: การทำปรัชญาในช่วง Naturalistic Turn
    (สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) สนับสนุนโครงการ)
  • ศิรประภา ชวะนะญาณ. 2563.  มิติเชิงจริยศาสตร์และญาณวิทยาของคนไทย: การพิจารณาผ่านข้อขัดแย้งเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม วัฒนธรรมและระเบียบวินัยในสื่อสังคมออนไลน์
    (สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) สนับสนุนโครงการ)

ผลงานรอตีพิมพ์/เผยแพร่:

  • “ข้อสังเกตต่อความเข้าใจวิทยาศาสตร์ตามข้อเสนอของบาร์เชลาร์ดและทัศนะแบบคูห์น”  มรรคาแห่งความรู้ (รวมบทความวิชาการทางปรัชญาและศาสนาเพื่อเป็นเกียรติแด่ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สิริเพ็ญ พิริยจิตรกรกิจ เนื่องในวาระอายุครบ 60 ปี)
  • การให้เหตุผลสนับสนุนความเชื่อที่มีพื้นฐานมาจากการค้นหาข้อมูลผ่านเว็บไซต์กูเกิ้ล (โครงการวิจัย “การคิด เทคโนโลยี และชีวิตที่ดี” เนื่องในวโรกาสการเฉลิมฉลองวาระ 60 พรรษาสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)

สารานุกรม

  • ศิรประภา ชวะนะญาณ, ผู้เรียบเรียง. “ก่อนประสบการณ์ – หลังประสบการณ์ (A Priori – A Posteriori),” สารานุกรมปรัชญาออนไลน์ฉบับสังเขป. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) สนับสนุนโครงการ. <URL: http://www.parst.or.th/philospedia/a%20priori%20and%20a%20posteriori.html>
  • ศิรประภา ชวะนะญาณ, ผู้เรียบเรียง. “การให้เหตุผลสนับสนุนความเชื่อ (Epistemic Justification),” สารานุกรมปรัชญาออนไลน์ฉบับสังเขป. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) สนับสนุนโครงการ. <URL: http://www.parst.or.th/philospedia/epistemic%20justification.html>
  • ศิรประภา ชวะนะญาณ, ผู้เรียบเรียง. “ความรู้ (Knowledge),” สารานุกรมปรัชญาออนไลน์ฉบับสังเขป. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) สนับสนุนโครงการ. <URL: http://www.parst.or.th/philospedia/knowledge.html>

การเข้าร่วมประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ

  • เสนอบทความเรื่อง “A Problem of Some Reductionist Arguments concerning Testimony“ ในการประชุม XXIII World Congress of Philosophy ณ มหาวิทยาลัยเอเธนส์ กรีซ, 2013 (ได้รับการสนับสนุนทุนบางส่วนจาก ทุนพัฒนาอาจารย์ใหม่/นักวิจัยใหม่ กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช
  • วิทยากรอบรมเรื่อง “เทคโนโลยีเครือข่ายอินเตอร์เน็ตกับประเด็นปัญหาในญาณวิทยาเชิงสังคม” ในการอบรมวิชาการประจำปี 2557 สมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย ร่วมกับคณะปรัชญาและศาสนา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ เรื่อง “ปรัชญาเทคโนโลยี กับสังคมและการเมือง” วันที่ 19-20 กรกฎาคม 2557
  • เสนอบทความเรื่อง “An Epistemic Status of Rumor” ในการประชุม International Symposium “Philosophies in Dialogue : Bridging the Great Philosophical Divides” คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (26-28 มีนาคม 2558)
  • เสนอบทความเรื่อง “An Epistemic Value of Open Science” ในการประชุม The 13th International Conference ASIALICS 2016 โรงแรมเซนทารา แกรนด์ เซ็นทรัล ลาดพร้าว (3-4 ตุลาคม 2559)
  • วิทยากรเรื่อง “เครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Network) กับการลงโทษทางสังคม” ในการสัมมนาวิชาการประจำปี 2559 ของสมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย มหาวิทยาลัยบูรพา (23-24 ธันวาคม 2559)
  • วิทยากรนำเสวนาหัวข้อ “ประเด็นทางญาณวิทยาเกี่ยวกับผู้เชี่ยวชาญ จากกรณีโควิด 19”  ของสมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย (9 พฤษภาคม 2563)
  • วิทยากรเรื่อง “มิติทางจริยศาสตร์และญาณวิทยาจากความขัดแย้งในสื่อสังคมออนไลน์” ในการเสวนาของภาควิชาวรรณคดีเปรียบเทียบ จุฬาฯ หัวข้อ The Social Question: จริยศาสตร์กับโซเชียลมีเดีย วันที่ 11 พฤศจิกายน 2563 เผยแพร่ผ่านทาง Facebook Live ของเพจวรรณคดีเปรียบเทียบ (เข้าถึงได้ที่: https://www.facebook.com/108676750712268/videos/505238253785055)
  • วิทยากรเรื่อง “ญาณวิทยากับข่าวปลอม : ปัจเจกชน กลุ่มคน และวิทยาศาสตร์เปิด ในฐานะแนวทางบรรเทาปัญหา” ในการสัมมนาวิชาการประจำปี 2563 ของสมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย (14-15 ธันวาคม 2563)
  • วิทยากรเรื่อง “เรื่องเล่า อัตลักษณ์ การแปลและการสลายความขัดแย้ง : วิธีการศึกษาปรัชญาตะวันตกสมัยใหม่เพื่อเข้าใจชีวิตและสังคม“</strong> คน คิด ความรู้ ครั้งที่ 2 (วันที่ 12 มีนาคม 2565 เวลา 14.00-16.00 น.)
    (เข้าถึงได้ที่: https://www.youtube.com/watch?v=O5s1pTACU0g)
  • วิทยากรเรื่อง “Epistemic Injustice” ในโครงการ Feminist AI Hackathon (วันที่ 12 มีนาคม 2566) (เข้าถึงได้ที่: https://www.youtube.com/watch?v=OnW_m8eDxOw)
  • วิทยากรเรื่อง “ประเด็นจริยธรรมของ ChatGPT ที่ควรใส่ใจ เพื่อการใช้ AI อย่างสร้างสรรค์“โดย ศูนย์นวัตกรรมการเรียนรู้ และ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยที่ (25 สิงหาคม พ.ศ. 2566 ณ อาคาร 3 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
    (เข้าถึงได้ที่: https://www.facebook.com/LicChula/videos/705525321408711)

งานวิจัยที่กำลังทำ

  • โครงการวิจัย “f<a+i>r Knowledge to Action Incubating Feminist AI”  (https://aplusalliance.org/fair-south-east-asia/)
  • โครงการสำรวจภูมิทัศน์แห่งความรู้ด้านมนุษยศาสตร์ไทย (แหล่งทุนสนับสนุน: สำนักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา)
  • การส่งเสริม OCS ผ่านเว็บเครือข่ายสังคมออนไลน์ในสังคมไทย: ข้อเสนอจากมุมมองทางญาณวิทยาเชิงสังคม (โครงการวิจัยเรื่อง การสร้างบรรยากาศที่สนับสนุน “วิทยาศาสตร์เปิด” ในประเทศไทย) แหล่งทุนสนับสนุน ทุนเมธีวิจัย จุฬาฯ กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช ระยะเวลา 3 ปี (ตุลาคม 2558 – กันยายน 2560)
  • มิติทางญาณวิทยาบางประการเกี่ยวกับมนุษยศาสตร์ดิจิทัล

งานบริการวิชาการ

  • พ.ศ. 2555 – 2557 กรรมการและเลขานุการสมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย
  • พ.ศ. 2554 – 2562 อาจารย์พิเศษวิชาปรัชญาและตรรกวิทยา วิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย
  • พ.ศ. 2560 – 2563 อาจารย์พิเศษวิชาปรัชญาเบื้องต้น วิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • พ.ศ. 2556 – ปัจจุบัน สมาชิกกองบรรณาธิการวารสารสมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย
  • พ.ศ.2563 – 2564 กรรมการบริหารสมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย
  • พ.ศ.2564 – 2566 อาจารย์พิเศษ คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

https://ppid.fis.unp.ac.id/