รายชื่อวิทยานิพนธ์ของภาควิชาปรัชญา
คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

(แบ่งข้อมูลตามปีพ.ศ.ของวิทยานิพนธ์)

พ.ศ. 2516
1. ชเอิญศรี อิศรางกูร ณ อยุธยา. การศึกษาเชิงวิเคราะห์เรื่องอัตตาและอนัตตาในพุทธปรัชญาฝ่ายเถรวาท

 

พ.ศ. 2517
2.ปานทิพย์ ศุภนคร. ปัญหาความชั่วร้ายในปรัชญาคริสต์
3.สิวลี ศิริไล. ปัญหาการมีอยู่ของพระเจ้า
4.อุกฤษฎ์ แพทย์น้อย. พัฒนาการของทฤษฎีอีโมทีฟในวิชาจริยศาสตร์

 

พ.ศ. 2519
5.ฉาทนี จันทนยิ่งยง. ทรรศนะเรื่องความหลุดพ้นในพุทธปรัชญาเถรวาท
6.ดวงดาว กีรติกานนท์. การวิจัยเชิงเปรียบเทียบเรื่องอันติมสัจจ์ในอภิปรัชญาของสปีโนซาและของ เวทานตะ
7.บุหลัน รัตนกฤษฎาธาร. วิเคราะห์ปัญหาเรื่องความแปลกหน้าในหนังสือต้นฉบับเรื่องเศรษฐกิจและปรัชญา ของคาร์ล มาร์กซ์
8.ประทุม อังกูรโรหิต. การศึกษาเชิงวิเคราะห์ความคิดของวิตต์เกนสไตน์เกี่ยวกับความหมายของปรัชญา
9.ปรีชา ช้างขวัญยืน. การศึกษาจริยศาสตร์สังคมในพุทธศาสนาในเชิงวิจารณ์
10.วิจิตร เกิดวิสิษฐ์. ปรัชญาการศึกษาของพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาท
11.สุพจน์ จิตสุทธิญาณ. เกณฑ์ตัดสินความดีของพุทธศาสนา
12.สุมาลี ฉิมตระกูล, เรือโทหญิง. ทรรศนะเรื่องศุนยตาของนาครชุน
13.สุรีย์ สุวรรณปรีชา. ความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎีความรู้และทฤษฎีการเมืองของปอบเปอร์

พ.ศ. 2520

14.นวนิต ประถมบูรณ์. ทรรศนะเรื่องความหลุดพ้นในปรัชญาอินเดีย
15.ปรีชา เพชรรงค์. ปัญหาทางจริยธรรมอันเกี่ยวเนื่องกับการทำแท้ง
16.พิชิต ชัยเสรี. ความคิดเรื่องวิวัฒนาการในปรัชญาของเตยารด์ เดอ ชาร์แดง
17.ภัทรพร สิริกาญจน. บทบาทของเหตุผลในงานเขียนของค้านท์
18.ศักดิ์ชัย นิรัญทวี. วิวัฒนาการความคิดเรื่องเสรีภาพและความรับผิดชอบในปรัชญาของซารตร์
19.สมพิศ ศรีประไพ. วิเคราะห์ปัญหา “ประจักษนิยมแบบจัด” ของวิลเลี่ยม เจมส์
20.สุนัย ครองยุทธ. คาร์ล ปอปเปอร์กับการแก้ปัญหาความขัดแย้งระหว่างเจตจำนงกับลัทธิเหตุวิสัย

พ.ศ. 2521
21.กัลยา รักหลวง. วิเคราะห์ปัญหาเรื่องจิตในประชญาของเบอร์ทรันด์ รัสเซล
22.จักรแก้ว ตนุนาถ. การวิเคราะห์ปรัชญากระบวนการของอัลเฟรด นอร์ธ ไวท์เฮด
23.ณรงค์ หลงสมบุญ, เรือโท. ปัญหาจิต-กายในทรรศนะของกิลเบอร์ต ราย์ล
24.ปรีชา คุณาวุฒิ. พุทธปรัชญาเรื่องกรรมและการให้ผลของกรรม
25.พวงแก้ว ลิมปิสุรีย์. ทัศนะเรื่อง “ประสบการณ์” ในปรัชญาของจอห์น ดิวอี้
26.เพิ่ม รัฐไชย. การศึกษาเชิงวิจารณ์เรื่องหลักปฏิจจสมุทปบาท
27.มรกต สิงหแพทย์. การวิเคราะห์ลักษณะประชาธิไตยในพุทธศาสนา
28.รุ่งทิพย์ กิจทำ. การศึกษาเปรียบเทียบทรรศนะเรื่องกรรมในพุทธปรัชญาและปรัชญาเชน
29.รุ่งธรรม ศุวิธรรมรักษ์. การศึกษาเชิงวิเคราะห์เรื่องความมุ่งหมายของการลงโทษ
30.สตีเวน อาร์ สมิดท. วิครหภาวะและการแปล
31.อรรถจินดา ดีผดุง. การศึกษาแนวคิดปรัชญาการเมืองของเบอร์ทรัน รัสเซล
32.อำนวย ยัสโยธา. การวิเคราะห์แนวคิดของนิตเช่เรื่อง “เจตจำนงสู่อำนาจ”
33.อุดร รัตนภักดิ์. แนวความคิดเรื่องโลกในปรัชญาอินเดียสายอาสติกะ


พ.ศ. 2522

34.ชวลี ไชยธีรพันธ์. อหิงสาในความคิดของมหาตมะคานธี
35.ณัฏฐพร ชินะโชติ, ร้อยเอก. การศึกษาวิเคราะห์แนวคิดเรื่องอัตตาในปรัชญาอินเดีย
36.พงษ์ศักดิ์ ภานุรัตน์. การศึกษาเชิงวิเคราะห์ทฤษฎีจริยศาสตร์ของอาร์. เอ็ม. แฮร์
37.พรทิพา บรรทมสินธุ์. การวิเคราะห์ความคิดเรื่องความยุติธรรมในอุตมรัฐของเพลโต้
38.วนิดา คุตตวัส. ความสัมพันธ์ระหว่างทัศนะเรื่องนิจวัฏกับการวิจารณ์จริยศาสตร์ของนิทเช่
39.วนิดา ธนศุภานุเวช. มนุษย์ตามทรรศนะของพุทธปรัชญา
40.วนิดา เปรมวุฒิ. การศึกษาวิเคราะห์ปรัชญาในศิลปะของไมเคิล แองเจลโล
41.วันดี ศรีสวัสดิ์. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ฉัน-ท่านในปรัชญาของมาร์ติน บูเบอร์
42.ศรีนวล ศรีจินดาภรณ์. การศึกษาเปรียบเทียบเรื่องความหลุดพ้นตามทรรศนะพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทและนิกายเซ็น
43.สมชาย คอนศรี. การศึกษาเชิงวิเคราะห์จริยศาสตร์แบบ “พันธนิยม” ของเซอร์วิลเลียม เดวิด รอส
44.สวัสดิ์ สุวรรณสังข์. ปัญหาปรัชญาในตรรกวิทยาโมดัล

 

พ.ศ. 2523
45.จีรวรรณ ชินะโชติ. การเปรียบเทียบหลักคำสอนเรื่องกรรมในพุทธศาสนาและศาสนาฮินดู
46.ปาริชาต นนทกานนท์. แนวความคิดเกี่ยวกับสตรีในพุทธปรัชญา
47.พรทิพย์ ชูศักดิ์. วิเคราะห์ความคิดเรื่องความทุกข์ของโชเปนฮาวเออร์
48.ศิริวรรณ โอสถานนท์. การวิจัยเชิงเปรียบเทียบทรรศนะเรื่องตัวตนในพุทธปรัชญากับปรัชญาของเดวิด ฮูม
49.สุธิดา ชัยรุ่งเรือง. การศึกษาเปรียบเทียบปรัชญาจิตนิยมเชิงอัตวิสัยของเบอร์คเลย์กับโยคาจาร

พ.ศ. 2524
50.นิรมล ทัพเวช. การวิเคราะห์เชิงปรัชญาเรื่องไตรภูมิพระร่วง
51.ปกรณ์ ลิมปนุสรณ์. ปรัชญาเกี่ยวกับมนุษย์ของจูซี
52.พัชราภรณ์ คชสังข์สีห์. ทรรศนะเรื่องการติดข้องและความหลุดพ้นในปรัชญาเชน
53.พีระพล คดบัว. “การดื้อแพ่งกับการลงโทษ” การวิเคราะห์เชิงปรัชญา

พ.ศ. 2525
54.ณรงค์ วงษ์อุดม. การศึกษาเชิงวิจารณ์ความคิดเรื่องกรรมในปรัชญาอินเดียสายอาสติกะ
55.เนื่องน้อย บุณยเนตร. หน้าที่ทางจริยธรรมของมนุษย์ต่อสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ
56.ประวิทย์ วิกรัยพัฒน์. “ปัญหาเรื่องความชอบธรรมของการดื้อแพ่ง” การศึกษาวิจารณ์
57.พรศิริ เจริญฉันทวิทย์. การวิเคราะห์ความคิดเรื่องมนุษย์ตามทัศนะของเตยารด์ เดอ ชาร์แดง
58.ภัทราภรณ์ มูลสวัสดิ์. ความคิดแบบธรรมชาตินิยมในพุทธปรัชญา
59.มาลี ศรีเพชรภูมิ. การศึกษาเรื่องความดีในปรัชญาจีนโบราณ
60.อาภากร โรจน์วรรณสินธุ์. การศึกษาเปรียบเทียบความคิดทางการเมืองของขงจื้อกับเหมาเจ๋อตง
61.อนุมิตร จันทรประภาพ. การศึกษาแนวความคิดทางจริยปรัชญาของแรนด์ในเชิงวิจารณ์

พ.ศ. 2526
62.จงดี ยั่งยืน. การศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดทางอภิปรัชญาและจริยศาสตร์ในคัมภีร์ภควัทคีตาและคัมภีร์เต๋า เตอ จิง
63.ประสิทธิ์ ฤกษ์พิศุทธิ์. การตีความความคิดเกี่ยวกับระบบจิต-กายของเดส์การ์ตส์
64.สมพร ลำพุทธา. ความคิดเรื่องการติดข้องและการหลุดพ้นจากทุกข์ในพุทธปรัชญาเถรวาท
65.สิริเพ็ญ พิริยจิตรกรกิจ. ทฤษฎีเกี่ยวกับการอ้างเหตุผลสนับสนุนความเชื่อ : มูลฐานนิยมหรืออมูลฐานนิยม ( Theories of Belief Justification : Foundationalism or Nonfoundationalism )
66.โสภณ ศรีกฤษดาพร. การศึกษาเชิงวิเคราะห์ความคิดเรื่องกายและจิตในพุทธปรัชญาเถรวาท

พ.ศ. 2527
67.นฤมล มารคแมน. ปัญหาจริยธรรมอันเกี่ยวเนื่องกับการุณยฆาต
68.พรพิไล ถมังรักษ์สัตว์. การวิเคราะห์เชิงปรัชญาเรื่องปัญหาความเสมอภาคของสตรี
69.โพยม เรืองศรี. การวิเคราะห์ทัศนะของสำนักปฏิฐานนิยมเรื่องความจริงในวรรณคดี
70.ลัลนา อัศวรุ่งนิรันดร์. การศึกษาเชิงวิเคราะห์เรื่อง “สัจจะ” ในพุทธปรัชญาฝ่ายเถรวาท
71.ลุยง ตรัยไชยาพร. การศึกษาเปรียบเทียบความคิดเรื่องการเมืองในคัมภีร์อรรถศาสตร์ของเกาฏิลยะกับแนวความคิดในหนังสือเรื่องเจ้าของมาเคียเวลลิ
72.เอกศักดิ์ ยุกตะนันทน์. การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างประโยชน์สุขของปัจเจกบุคคลกับประโยชน์สุขของสังคมในทฤษฎีความยุติธรรมของจอห์น สจ๊วต มิลล์
73.บรรพต อึ๊งศรีวงษ์. การวิเคราะห์ปัญหาความเป็นเหตุผลของการเอาเปรียบสาธารณะในบางลักษณะ
74.เพ็ญแข กิตติศักดิ์. การศึกษาเชิงวิเคราะห์ความคิดเรื่องจักรวาลวิทยาในพุทธศาสนาตามที่ปรากฏในพระสุตตันตปิฎก
75.สรยุทธ ศรีวรกุล. ปัญหาของประสบการณ์นิยมในการเข้าใจประสบการณ์
76.สุขสันต์ จันทะโชโต. การศึกษาเปรียบเทียบเกณฑ์ตัดสินทางจริยะธรรมในพุทธปรัชญาและปรัชญาภัควัทคีตา
77.สุนัย เศรษฐบุญสร้าง. การประยุกต์แนวความคิดเรื่องเกมภาษาของวิตเกนสไตน์ในการอธิบายเรื่องความหมายในภาษาศาสนา ศึกษาเฉพาะกรณีภาษาของสำนักสันติอโศก

พ.ศ. 2529
78.ฉวีวรรณ เสร็จกิจ. ลักษณะมนุษยนิยมในความคิดของมหาตมะคานธี
79.ชาญวิทย์ บัณฑิตเสาวภาคย์. มโนทรรศน์เรื่องมนุษย์ในปรัชญาเต๋าสมัยแรก
80.ดำรง วิเชียรสิงห์. ปัญหาทางจริยธรรมที่เกี่ยวกับการทำสงคราม
81.ประทีป มากมิตร. การศึกษาอัตวินิบากกรรมในแง่ที่เป็นปัญหาทางจริยธรรม
82.พนมเทียน บุญส่งเสริมสุข. ความคิดเกี่ยวกับพระเจ้าในพรหมสูตร
83.สุวรรณี ดาวสดใส. การวิเคราะห์จิตรกรรมจีนสมัยราชวงศ์ซ่ง

พ.ศ. 2530

84.บัญชา ศรีวัลลภานนท์. ข้อจำกัดทางญาณวิทยาแบบสัจนิยมทางวิทยาศาสตร์ในการพิสูจน์ความมีอยู่ของพระเจ้า (Limitations of Scientific Realists’ Epistemology in the Study on God’s Existence)
85.มงคล ศริวัฒน์. ทำไมฉันจึงควรเป็นคนมีศีลธรรม (The “Why Should I Be Moral?” Problem)
86.สมภาร พรมทา. กาลและอวกาศในพุทธปรัชญาเถรวาท

พ.ศ. 2531
87.จรูญ โกมุทรัตนานนท์. ความสัมพันธ์ระหว่างศิลปะกับศีลธรรม (The Relation of Art to Morals)
88.ดิเรก วังชากร. อภิปรัชญาของกฤษณมูรติ (Metaphysics of Krishnamurati)
89.บุญธรรม พูนทรัพย์. ศีลธรรมกับสิทธิมนุษยชนในพุทธปรัชญาเถรวาท (Morality and Human Rights in Teravada Buddhism)
90.บูรณ์ ธรรมชาติ. ปัญหาเรื่องความเป็นสาเหตุในปรัชญาตะวักตกร่วมสมัย (The Problems of Causation in Contemporary Western Philosophy)
91.วินัย มณีขาว. ปรัชญาการศึกษาของกฤษณมูรติ (Krishnamurati’s Philosophy of Education)
92.สุชาดา จุนทะเกาศัลย์. สถาวะทางจิตของผู้ที่เกิดในกามสุคติภพ รูปภพ และอรูปภพ ตามนัยแห่งพระอภิธัมมัตถสังคหะ (The Nature of Mind of the Beings Born in Kamasugati-Bhava, Rupa-Bhava and Arupa-Bhava According to the Abhidhammatihasanghaha)

พ.ศ. 2532
93.บุญส่ง ชัยสิงห์กานานนท์. ลักษณะของงานศิลป์ (The Nature of Works of Art)
94.ไพลิน เตชะวิวัฒนาการ. การศึกษาเปรียบเทียบเกณฑ์ตัดสินความดีในพุทธปรัชญาเถรวาทกับในปรัชญาของค้านท์ (The Criteria of Goodness in Theravada Buddhism and Kant’s Philosophy : A Comparative Study)
95.วิสิทธิ์ วิลัยวงศ์, ร้อยตรี. มโนทัศน์เรื่องความเป็นอนัตตาของนิพพานในพุทธปรัชญาเถรวาท
96.สุชาย อัศวพันธุ์ธนกุล. ความคิดเรื่องความเท่าเทียมกันในทฤษฎีความยุติธรรมของจอห์น รอล
97.องอาจ อิฐมอญ. เทคโนโลยีเป็นกลางหรือไม่

พ.ศ. 2533
98.ภัควดี วีระภาสพงษ์. การใช้คำแบบองค์รวมกับปัญหาความเป็นศาสตร์ของสังคมศาสตร์
99.รามิล กาญจันดา. พันธะทางศีลธรรมของประเทศร่ำรวยต่อประเทศยากจนที่ประสบทุพภิกขภัย
100.อุทัย ศรสวัสดิ์ (ญาณธโร), พระมหา. ปรัชญาสังคมของพุทธศาสนา : เสรีนิยมหรือสังคมนิยม

พ.ศ. 2534
101.กนิษฐ์ มิตินันท์วงศ์. ข้อถกเถียงเรื่องจินตภาพ (Arguments on Mental Images)
102.ธีรพจน์ ศิริจันทร์. วิตต์เกนสไตน์กับข้อถกเถียงเรื่องภาษาเฉพาะตัว (Wittgenstein and the Private Language Argument)
103.ปรินดา จินดาศักดิ์. สุนทรียะแห่งดนตรี (Beauty in Music)
104.มาฆะศรี คหัฏฐา. ความคิดเรื่องนรกและสวรรค์ในพุทธปรัชญาเถรวาท
105.สมภาร พรมทา. อัตถิตากับนัตถิตาในพุทธปรัชญาเถรวาท (ดุษฎีบัณฑิต)

พ.ศ. 2535
106.ลักษณ์วัต ปาละรัตน์. ญาณวิทยาในพุทธปรัชญาเถรวาทเป็นประสบการณ์นิยมหรือไม่
107.วิทยา เศรษฐวงศ์. แนวความคิดของซาร์ตว่าด้วยความรับผิดชอบ (ดุษฎีบัณฑิต)

พ.ศ. 2537
108.ขนิษฐา ศรีไพบูลย์. ปัญหาจริยธรรมการรับตั้งครรภ์ (Ethical Problems of Mother Surrogacy)
109.เดือนฉาย อรุณกิจ. การศึกษาเชิงวิเคราะห์มโนทัศน์เรื่องโลกในพุทธปรัชญาเถรวาท  (An Analytical Study of the Concept of the World in Theravada Buddhism)
110.ประสิทธิ์ ธัญญพงศ์ชัย. ความคิดเห็นของข้าราชการมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ที่มีต่อจริยธรรมของนักการเมือง
111.พงษ์ชาย เอี่ยวพานทอง. ปัญหาปฏิสัมพันธ์ในทฤษฎีทวินิยมแบบสวภาวะ (ดุษฎีบัณฑิต) (The Problem of Interaction in Substance Dualism)
112.วรกร สูตะบุตร. ปัญหาจริยธรรมของการค้าประเวณี
113.วิไลลักษณ์ สายเสน่ห์. การศึกษาเปรียบเทียบทรรศนะเกี่ยวกับการตายและการเกิดใหม่ในพุทธศาสนานิกายเถรวาทกับนิกายวัชรยาน
114.สิริเพ็ญ พิริยจิตรกรกิจ. การเปลี่ยนแปลงในวิทยาศาสตร์และการเพิ่มพูนของความรู้ ( Scientific Change and the Growth of Knowledge ) (ดุษฎีบัณฑิต)
115.สุภาพ พิทักษ์วงศาโรจน์. ปรัชญาการศึกษาของไสบาบา
116.อัครยา สังขจันทร์. คาร์ล มาร์กซ์ ปฏิเสธระบบตลาดหรือไม่

พ.ศ. 2538
117.กิติ ยิ่งยงใจสุข. มโนทัศน์เรื่องความตายในคัมภีร์จวงจื๊อ (The Concept of Death in the Chuang Tzu)
118.นฤมล นิตย์จินต์. สังคมศาสตร์มีกฎทั่วไปได้หรือไม่ (Can There Be General Law in the Social Sciences?)
119.นัยนา เกิดวิชัย, พันตำรวจตรีหญิง. ความสัมพันธ์ระหว่างความคิดเรื่องบุญกับนิพพานในพุทธปรัชญาเถรวาท (The Relationship Between the Concept of Merit and Nibbana in Theravada Philosophy)
120.ไพรัชน์ เขียนวงศ์, พระมหา. พุทธจริยศาสตร์เถรวาทเป็นอัตนิยมหรือไม่ (Is Theravada Buddhist Ethics an Egoist Theory?)
121.สุภาวดี นัมคณิสรณ์. ธุรกิจกับพุทธจริยศาสตร์

พ.ศ. 2539
122.โกเมนทร์ ชินวงศ์, พระมหา. การศึกษาเปรียบเทียบความคิดเรื่องอนัตตาและสุญญตาในพุทธปรัชญาเถรวาทกับในปรัชญาของนาคารชุน (A Comparative Study of the Concepts of Anatta and Suññata in Theravada Philosophy and the Philosophy of Nagarjuna)
123.นภาเดช กาญจนะ. พหุนิยมทางศาสนาของจอห์น ฮิก กับปัญหาเกี่ยวกับการหาความจริง (John Hick’s Religious Pluralism and the Question of Reality)
124.วรยุทธ ศรีวรกุล. ทรรศนะของฮาร์ต ซอร์น เกี่ยวกับพระเจ้า : การอ้างเหตุผลสนับสนุน (ดุษฎีบัณฑิต)

พ.ศ. 2540
125.คะนอง เชาว์ทองหลาง, พระมหา. วิถีสู่การบรรลุธรรมตามทัศนะของพุทธปรัชญาเถรวาทและรินไซเซน (Ways Toward Enlightenment in Theravada and Rinzai Zen Buddhism)
126.ชาญณรงค์ บุญหนุน. ทฤษฎีความจริงในพุทธปรัชญาเถรวาท (Theory of Truth in Theravada Buddhism) (ดุษฎีบัณฑิต)
127.ปกรณ์ สิงห์สุริยา. ความจริงของเรื่องเล่าทางศาสนา (The Truth of Religious Narratives) (ดุษฎีบัณฑิต)
128.ปรีชา มานะวาณิชเจริญ. จิตว่างในทัศนะของท่านพุทธทาส

พ.ศ. 2541
129.วันวร จะนู. มโนทัศน์เรื่องความยุติธรรมในพุทธปรัชญาเถรวาท
130.สุมาลี มหณรงค์ชัย. อาลยวิชญาณในพุทธปรัชญานิกายโยคาจาร
131.สุวรรณา ปรมาพจน์. ทัศนะของฟาย อาเบนด์ เกี่ยวกับฐานะของวิทยาศาสตร์ในสังคม
132.อรรถ อดุลย์อารยะรังษี. ปฏิจจสมุปบาทในทัศนะของท่านพุทธทาสภิกขุ

พ.ศ. 2542
133.ฐิติรัตน์ รัตนจรัสโรจน์. สุนทรียศาสตร์ในคัมภีร์นาฏยศาสตร์ (Aesthetics in the Natyasastra)
134.เทพทวี โชควศิน. นามนิยมแบบทฤษฎีโทรป : การศึกษาเชิงวิจารณ์ (Trope Theory Nominalism : A Critical Study)
135.ศริญญา อรุณขจรศักดิ์. ภาษาและความเป็นจริงในคัมภีร์เต๋าเต๋อจิงและคัมภีร์จวงจื๊อ (Language and Reality in the Tao Te Ching and Chuangtzu)
136.สุทัศน์ ปึงศิริวัฒนา. เจตจำนงเสรีและเหตุวิสัยในพุทธปรัชญาเถรวาท (Free Will and Determinism in Theravada Buddhism)

พ.ศ. 2543
137.รอบทิศ ไวยสุศรี. วิธีการเข้าใจปริศนาธรรมในพุทธปรัชญานิกายเซน (Way to Understand Koan in Zen Buddhism)
138.เวทิน ชาติกุล. การเปลี่ยนความเชื่อ (Belief Revision)
139.ศุภสิทธิ์ เสร็จประเสริฐ. แบบจำลองจิตในทรรศนะของแพทริเซีย สมิท เชิร์ชแลนด์ (Patricia Smith Churchland’s Model of Mind)
140.สำราญ เทพจันทร์. ข้อโต้แย้งของฝ่ายชุมชนนิยมต่อมโนทัศน์ของจอห์น รอลส์ เรื่องบุคคลและชุมชน (Communitarian Arguments Against John Rawls’ Conceptions of the Person and Community)

พ.ศ. 2544
141. ธน วงศ์เครือมั่น. ทรรศนะของวิตต์เกนสไตน์เกี่ยวกับจิตของสัตว์ (Wittgenstein On Animal Minds)
142.นวชัย เกียรติก่อเกื้อ. การประเมินการตีความตามตัวบทตามแนวทางพุทธศาสนาเถรวาท (Assessment of Textual Interpretation in Theravada Buddhism)
143.นารท ศรียามินธน์. มโนทัศน์เรื่องความแปรเปลี่ยนในปรัชญาจวงจื่อ (Chuang-Tzu’s Concept of Transformation)
144.ปิยฤดี ไชยพร. ทฤษีความเสมอภาคของโรนัวด์ ดอร์คิน (Ronald Dworkin’s Theory of Equality)
145.รชฎ สาตราวุธ. จารีตในคัมภีร์ขงจื๊อในฐานะสิ่งปลดปล่อยมนุษย์สู่อิสรภาพ (Rite in the Analects As Liberation)
146.วัชระ งามจิตรเจริญ. นิพพานในพุทธศาสนาเถรวาท : อัตตาหรืออนัตตา (Nibbana in Theravada Buddhist Philosophy: Self or Non-Self) (ดุษฎีบัณฑิต)
147.วีรยุทธ เกิดในมงคล. การสื่อความหมายของงานทัศนศิลป์ (Conveying Meanings in Visual Arts)

พ.ศ. 2545
148.พรเทพ สหชัยรุ่งเรือง. มโนทัศน์เรื่องการเดินทางข้ามเวลา (The Concept of Time Travel)
149.วุฒิ เลิศสุขประเสริฐ. ญาณวิทยาเชิงธรรมชาติของไควน์ (Quine’s Naturalized Epistemology)
150. ณัฏฐรี บุญกิตติเจริญ.  ความสำคัญของการเวียนว่ายตายเกิดในพุทธจริยศาสตร์เถรวาท ( The Importance of Rebirth in Theravada Buddhist Ethics )
151. สุภัทรา วงสกุล.  มโนทัศน์เรื่องการลงโทษในพุทธศาสนาและคริสต์ศาสนา  ( The Concept of Punishment in Buddhism and Christianity )
152. วรเทพ ว่องสรรพการ.  การอ้างเหตุผลสนับสนุนการมีอยู่ของพระเจ้าตามทฤษฎีสหนัยนิยม ( A Coherentist Justification of The Existence of God )

พ.ศ. 2548

153. พระมหาพนอม  บุญเลิศ. ความสัมพันธ์ระหว่างจิตกับกายในพุทธปรัชญาเถรวาท (THE MIND-BODY RELATION IN THERAVADA BUDDHISM)
154. นายพิพัฒน์ สุยะ. ทัศนะของไควน์เรื่องการไม่สามารถกำหนดได้ของการแปล (QUINE ON INDETERMINACY OF TRANSLATION)
155. นายไพรินทร์ กะทิพรมราช. พุทธปรัชญาเถรวาทกับปัญหาเรื่องความรู้เกี่ยวกับโลกภายนอก (THERAVADA BUDDHISM AND THE PROBLEM OF KNOWLEDGE OF THE EXTERNAL WORLD)
156. พระมหาเกียติศักดิ์  บังเพลิง. มโนทัศน์เรื่องพระเจ้าของพุทธทาสภิกขุ (BUDDHADASA BHIKKHU’S CONCEPT OF GOD)
157. นางสาวเพชรวิภา  คงอ่ำ. ปฎิทรรศน์คนโกหกกับทฤษฎีเชิงบริบท (LIAR PARADOX AND CONTEXTUAL THEORY)

พ.ศ. 2549

158. นายจักรพันธ์  แสงทอง. ความเข้าใจเรื่องภูมิปัญญาไทย (AN UNDERSTANDING OF THAI LOCAL WISDOM)
159. นายจักเรศ อิฐรัตน์. วิบากกับการกระทำตามหน้าที่ในพุทธปรัชญาเถรวาท (VIPAKA AND DUTY-BASED ACTION IN THERAVADA BUDDHISM)
160. นางสาวบุษราคัม กัญยวงศ์หา. ทัศนะแบบมาร์กซ์เรื่องความยุติธรรมในการจัดสรรในสังคมคอมมิวนิสต์ (A MARXIST CONCEPTION OF DISTRIBUTIVE JUSTICE IN COMMUNIST SOCIETY)
161. นางสาวพจมาน  บุญไกรศรี. ทรรศนะเรื่องเสรีภาพของคาร์ล มาร์กซ์ (KARL MARX’S CONCEPTION OF FREEDOM)
162. นางสาวไพลิน  ปิ่นสำอาง. ชื่อที่ไม่มีสิ่งรองรับในทฤษฎีความหมายแบบเฟรเก้ (EMPTY NAMES IN THE FREGEAN THEORY OF MEANING)
163. นางสาวลลิตา  ถิรวัฒนกุล. การผสานแนวคิดเรื่องพรหมัน-อาตมันในคัมภีร์อุปนิษัทสำคัญ (A SYNCRETIC ANALSIS OF BRAHMAN-ATMAN IN THE PRINCIPAL UPANISHADS)
164.  นางสาวศากุน  ภักดีคำ. บทบาทของอารมณ์ในจริยศาสตร์ของขงจื๊อ (THE ROLE OF EMOTION IN CONFUCIUS’ ETHICS)

พ.ศ. 2550 

165. นายคงกฤช  ไตรยวงศ์. แนวคิดอัตลักษณ์เชิงเล่าเรื่องของพอล ริเคอร์ (PAUL RICOEUR ON NARRATIVE IDENTITY)
166. นางสาวมุจลินท์  เสถียรมาศ. ความแตกต่างทางเพศกับการบรรลุเสรีภาพทางศีลธรรมในทัศนะของรุสโซ (SEXUAL DIFFERENCE AND THE ATTAINMENT OF MORAL FREEDOM IN ROUSSEAU’S THOUGHT)
167. นายคมกฤช อุ่ยเต๊กเค่ง. มายากับสถานภาพของความดี-ความชั่วในปรัชญาเวทนาตะของศังกราจารย์ (MAYA AND THE STATUS PF GOOD OR EVIL IN SAMKARA’ SVEDDANTA)

พ.ศ. 2551
168. ศรียุดา อนุวรรณะวิภาค. แนวคิดเรื่องการทำงานคือการปฏิบัติธรรมของท่านพุทธทาส.
169. เจิด บรรดาศักดิ์. มโนทัศน์แอบเสิร์ดในปรัชญาของธอมัส เนเกล.

พ.ศ. 2552

ศริญญา  อรุญขจรศักดิ์. จักรวาลวิทยาและจริยศาสตร์ในปรัชญาสำนักขงจื่อ (COSMOLOGY AND EHTICS IN CONFUCIANISM)(ดุษฎีบัณฑิต)
เวทิน ชาติกุล. ข้อปกป้องแนวคิดอนิยัตินิยมเชิงเทคโนโลยี (A DEFENSE OF TECHNOLOGICAL INDETERMINISM) (ดุษฎีบัณฑิต)
นายเทพทวี  โชควศิน. แนวคิดเชิงปฎิบัตินิยมว่าด้วยการทำให้เป็นปัจเจกในความคิดหลังอภิปรัชญา (A PRAGMATIC CONCEPTION OF INDIVIDUATION IN POSTMETAPHYSICAL) (ดุษฎีบัณฑิต)
ศิรประภา ชวะนะญาณ. การให้เหตุผลสนับสนุนความรู้ก่อนประสบการณ์. (A Justification of A Priori Knowledge) (ดุษฎีบัณฑิต)
ถาปกรณ์ กำเนิดศิริ. มโนทัศน์เรื่องพุทธภาวะในฐานะรากฐานทางจริยธรรมในพุทธปรัชญามหายาน. (The Concept of Buddha Nature as a Ground of Ethics in Mahayana Buddhism)
ณฐิกา ครองยุทธ. แนวคิดเรื่องเกณฑ์กำหนดความหมายจากภายนอกในทัศนะของพัทนัม. (Semantic Externalism in Putnam)

พ.ศ. 2553

นายวิสิทธิ์  ตออำนวย. แนวคิดเรื่อง ซู่ ใน หลุ่นอี่ว์ (THE CONCEPT OF SUN IN THE ANALECTS)
นายชญานิน  นุ้ยสินธิ์. ปัญหาเรื่องการบรรลุชีวิตที่ดีในรัฐอนุดมคติในกรอบความคิดของอริสโตเติล (THE PROBLEM OF THE GOOD LIFE IN A NON-IDEAL STATE IN ARISTOTLE’S CONCEPTUAL FRAMEWORK)
นางสาวอภิญญา ปัญญไพโรจน์. มิติด้านเวลาในจริยศาสตร์ขงจื่อ (TEMPORAL DIMENSION IN CONFUCIUS’ ETHICS)
นายพิชยพงศ์  ทรัพยสิทธิ. การอ้างเหตุผลของญาณวิทยาชาติพันธุ์เกี่ยวกับความรู้ (THE ARGUMENT OF ETHNO-EPISTEMOLOGY ON KNOWLEDGE)
นายเฉลิมวุฒิ  วิจิตร. สถานะทางจริยธรรมของสัตว์ในทรรศนะของพุทธศาสนาเถรวาท (THE MORAL STATUS OF ANIMALS IN THERAV ADA BUDDHIST PERSPECTIVE)
นายอุทัช  เกสรวิบูลย์. อัตตาณัติในหลุนอี่ว์ : บทวิเคราะห์ไจ๋หว่อ (AUTONOMY IN THE ANALECTS : AN ANALYSIS OF ZAI WO)

พ.ศ.2554

นางสาวนุชรี  วงศ์สมุท. ความตึงแย้งในความกลมเกลียว (เหอ) ในจริยศาสตร์ขงจื่อ (TENSION WITHIN HARMONY (HE) CONFUCIUS’ ETHICS)
นายวิศรุต  ภู่ไหมทอง. ปัญหาว่าด้วยกฎแห่งการไร้ความขัดแย้ง (AN INQUIRY INTO THE LAW OF NON-CONTRADICTION)

พ.ศ. 2556

นางปิยฤดี  ไชยพร. โทมัส สแคนลอนกับทางออกแบบพันธสัญญาของปัญหาพหุนิยมทางคุณค่า (THOMAS SCANLON AND A CONTRACTUALIST SOLUTION TO THE PROBLEM OF VALUE PLURALISM)

https://ppid.fis.unp.ac.id/