ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กนิษฐ์  (มิตินันท์วงศ์) ศิริจันทร์
ศศ.บ. (ภาษาอังกฤษ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
อ.ม. (ปรัชญา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Ph.D. (Philosophy) University of Warwick
E-mail: Kanit.M@Chula.ac.th

แขนงวิชาที่เชี่ยวชาญ/สนใจ

อภิปรัชญา ปรัชญาภาษา ปรัชญาจิต ปรัชญาจิตวิทยา ปรัชญาการรับรู้ ตรรกวิทยา-การใช้เหตุผล/ ญาณวิทยา ปรัชญาปริชานศาตร์ ปรัชญาสังคมศาสตร์

ผลงานวิชาการ

บทความวิชาการที่ตีพิมพ์ (รวมที่กำลังจะตีพิมพ์)

  • Kanit (Mitinunwong) Sirichan (2021) “The Direct Reference Theory of Pejoratives in Hate Speech”, Philosophia: International Journal of Philosophy, Vol.22, No.2, June. 245-259.
  • Kanit (Mitinunwong) Sirichan (2020) “The Direct Reference of Hate Speech and Its Emptiness”, Conference Proceedings the 5th International Conference: Hate Speech in Asia: Challenges and Solutions, Asia Centre, Bangkok, Thailand, page 32-43. https://asiacentre.org/wp-content/uploads/Conference-Proceedings_Hate-Speech-In-Asia-Challanges-and-Solutions.pdf
  • กนิษฐ์ ศิริจันทร์ “การเปรียบเทียบ มโนทัศน์และปริชาน” (Analogy, Concept and Cognition) งานวิจัยในโครงการวิจัย “การคิด เทคโนโลยีและชีวิตที่ดี” (กำลังจะตีพิมพ์)
  • Kanit (Mitinunwong) Sirichan & Ernest Lepore (2015) “In Hate Hated”: Hate Speech and Its Content” ตีพิมพ์ใน Proceedings of the International Symposium “Philosophy in Dialogue: Bridging the Great Philosophical Divides” (26-28 March 2015, Department of Philosophy, Chulalongkorn University, Thailand)
  • Kanit (Mitinunwong) Sirichan (2012) “Reasoning and Its Limits” Philosophia OSAKA No.7
  • “ข้อสังเกตเรื่องเหตุผลในปรัชญาของมารค ตามไท: ช่องว่างระหว่างจิตกับใจ” วารสารสมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มีนาคม 2551
  • “Thinking Critically as an Examination of Thoughts” ตีพิมพ์ใน Proceedings of the XXII World Congress of Philosophy 37 (2008)
  • “ความสำคัญของมโนทัศน์“ความเงียบ”ในปรัชญาของวิตต์เก็นสไตน์” วารสารสมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย ฉบับที่ 2 ปีที่ 1 2549
  • “การทำตามกฎ:ข้อเสนอเกี่ยวกับการอ่านข้อโต้แย้งเรื่องการทำตามกฎของวิตต์เกนสไตน์” วารสารรัฐศาสตร์สาร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 24 ฉบับที่ 3 (2546).
  • Un’ontologia della practica’ (‘An Ontology of Practice’) ได้รับการแปลเป็นภาษาอิตาเลียน ตีพิมพ์ในวารสาร Discipline Filosofiche XIV I 2004 (119-138).

การเสนอบทความวิชาการในที่ประชุมระดับชาติและนานาชาติ

  • “The Direct Reference of Hate Speech and Its Emptiness” ร่างบทความวิชาการเสนอในการประชุม “The International Conference on Hate Speech in Asia” จัดโดย Asia Centre, Bangkok, Thailand, 7-9 ตุลาคม 2563.
  • “What is the content of hate speech?” : ร่างบทความวิชาการเสนอในงานสัมมนาเชิงปฏิบัติการหัวข้อ “Hate Speech: an International Perspectives in and for Asian Region” จัดโดย Prof. Taro Mochizuki ที่ Tayonaka Campus มหาวิทยาลัยโอซาก้า ประเทศญี่ปุ่น วันที่ 15 ธันวาคม 2561
  • “What is it for a group to have a thought?”: ร่างบทความวิชาการเสนอในกลุ่มย่อยหัวข้อ “Potentiality of Southeast Asian Philosophy” จัดโดย Prof. Yasuo Deguchi (Kyoto University) ในการประชุมนานาชาติ The Fourth Conference on Contemporary Philosophy in East Asia (CCPEA 2018) ที่มหาวิทยาลัย National Chengchi ประเทศสาธารณรัฐจีน(ไต้หวัน) วันที่ 9-11สิงหาคม 2561
  • “Reference and Collective Intentionality: from Philosophy of Language and Mind to Philosophy of Social Sciences”: บรรยายในงานสัมมนาเชิงปฏิบัติการ “Shanxi University Workshop on the Development Trend of the Philosophy of Social Science” งานสัมมนาทางวิชาการเพื่อสนับสนุนเครือข่ายทางปรัชญาสังคมศาสตร์แห่งเอเชีย (“The Asian Network for the Philosophy of the Social Sciences” (ANPOSS)), ที่มหาวิทยาลัย Shanxi ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน วันที่ 20-23 มีนาคม 2561
  • “What is intentionality about?” – นำเสนอร่างบทความสำหรับการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ An International Workshop on Dialetheism and Related Issues in Analytic Asian Philosophy ที่มหาวิทยาลัยเกียวโต ประเทศญี่ปุ่น วันที่ 23-24 มิถุนายน 2560
  • เสนอบทความวิจัยเรื่อง “Analogy, Concept and Cognition” ในการประชุมนานาชาติ Chulalongkorn University – Osaka University International Joint Conference: Frontiers of Philosophical Investigation in Asia  วันที่ 17 กรกฎาคม 2559  ภาควิชาปรัชญา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • เสนอบทความวิจัยเรื่อง “In Hate Hated”: Hate Speech and Its Content” ในการประชุมนานาชาติ International Symposium “Philosophy in Dialogue: Bridging the Great Philosophical Divides” 26-28 มีนาคม 2558 ภาควิชาปรัชญา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • เสนอบทความเรื่อง “Problems of Teaching Critical Thinking” (19-20 ธันวาคม 2556) ในการประชุมนานาชาติ Roundtable on Critical Thinking and Philosophical Practice, ภาควิชาปรัชญา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โครงการจัดประชุมนานาชาติร่วมกับโครงการ “Philosophical Practice for Peace Building” มหาวิทยาลัยโอซาก้า ประเทศญี่ปุ่น
  • เสนอบทความเรื่อง   “A Wittgensteinian Conception of Practice and Teaching Critical Thinking in Southeast Asian Context” และร่วมประชุมโครงการวิจัย   “Philosophical Practices for Peace Building”  ของ Prof. Taro Mochizuki (Osaka University) ณ  Paññāsāstra University of Cambodia  ประเทศกัมพูชา วันที่ 24 พฤศจิกายน – 29  พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
  • เสนอบทความเรื่อง “Reasoning and Its Limits” ในการประชุมนานาชาติ An International Forum on Critical Thinking, Reasoning and Philosophical Practice ภาควิชาปรัชญา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับมหาวิทยาลัยโอซาก้า ประเทศญี่ปุ่น
  • เสนอบทความเรื่อง “Thinking Critically as an Examination of Thoughts” ในการประชุม The World Congress of Philosophy ครั้งที่ 22 ที่ Seoul National University กรุงโซล ประเทศเกาหลี วันที่ 30 กรกฎาคม – 5 สิงหาคม 2551
  • เสนอบทความเรื่อง “ความเป็นเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมมีจริงหรือ?” ในที่ประชุมประจำปีของสมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย มหาวิทยาลัยขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น วันที่ 16-18 ตุลาคม
  • เสนอบทความเรื่อง “การทำตามกฎ: ข้อเสนอเกี่ยวกับการอ่านข้อโต้แย้งเรื่องการทำตามกฎของ วิตต์เกนสไตน์”   ในที่ประชุมประจำปีของสมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี วันที่ 24-25 ตุลาคม 2545

งานวิจัยที่กำลังทำ

  • งานเขียนรำลึกอาจารย์วิทย์ วิศทเวทย์ เรื่อง “กรรมร่วม…ปริศนาของความเป็น “เรา”: คิดต่อจากเรื่อง “อนัตตา” ในทัศนะของวิทย์ วิศทเวทย์”
  • บทความวิจัยในหัวข้อ Collective Intentionality/ Social Ontology
  • ปรับปรุงตำรา “ปัญหาอภิปรัชญาร่วมสมัยแนวปรัชญาวิเคราะห์”
  • โครงการแปลหนังสือ Philosophical Investigations โดย Ludwig Wittgenstein
  • โครงการเขียนตำราปรัชญาชุดความรู้พื้นฐาน “แนะนำปรัชญาจิต” (“A Very Short Introduction to Philosophy of Mind”) (2558 -2561)

งานบริการวิชาการ

  • “What is It for a Group to have a Thought?: a Comment on Pettit’s Argument for Collective Consciousness” : an online presentation for Professor Napoleon Mabaquiao’s Professorial Chair Lecture, Department of Philosophy, De La Salle University, Philippines, September 12, 2020.
  • กรรมการพัฒนาหลักสูตร Intercultural Studies and Languages (International Program) วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล 2562, 2563
  • วิทยากรรายการอักษรพาที วิทยุจุฬาฯ เรื่องความหมายและความเงียบ: เนื้อหาของประทุษวาจา ตุลาคม 2562
  • อาจารย์พิเศษรายวิชา “Introduction to Philosophy” หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (นานาชาติ) สาชาวิชาวัฒนธรรมนานาชาติศึกษาและภาษา (Philosophy, Economics and Ethics) วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล (ภาคการศึกษาที่สอง 2561)
  • กรรมการพิจารณากลั่นกรองหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (นานาชาติ) สาชาวิชาวัฒนธรรมนานาชาติศึกษาและภาษา (Philosophy, Economics and Ethics) วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล (2556-2557)
  • บรรยายพิเศษ The School of Letters, Department of Philosophy, Osaka University ประเทศญี่ปุ่น, Spring Term 2009 รายวิชาPhilosophical Conceptions of Critical Reasoning: Historical and Contemporary Perspectives” เรื่อ’
    1. What is a thought? – A Fregean Conception of Thoughts
    2. Can we have an empty thought? – Russell’s Theory of Descriptions
    3. What is it for one to follow a rule? – Wittgenstein: Rule-Following Argument
  • วิทยากรอบรมเรื่อง “ปรัชญาภาษาของวิตเกนสไตน์” ในการอบรมวิชาการประจำปี 2551
    สมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทยร่วมกับคณะปรัชญาและศาสนา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ เรื่อง ภาษา, ความหมาย, ความ(ไม่)จริง: วิตเกนสไตน์, แดริดา, เฮอร์เมนูติกส์ และการปรับใช้ในวิชาศึกษาทั่วไป วันที่ 22–24 พฤษภาคม 2551
  • วิทยากรบรรยาย วิชา Philosophy of Nursing Science คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ วิชาPhilosophy of Science and Theoretical Perspectives คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล (2547-2552)
  • วิทยากรอบรมเรื่อง “การปฏิบัติเชิงสังคม” (Social Practices) ในการอบรมวิชาการประจำปี 2547 ของสมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย ร่วมกับคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ เรื่อง ปรัชญาสังคมศาสตร์ วันที่ 20 – 22 พฤษภาคม 2547
  • กรรมการสอบวิทยานิพนธ์ภายนอก มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (Thiery, Michel. (2004). Critique of Popper’s Falsification Theory : A Phenomenological Approach.)
  • วิทยากรรายการอักษรพาที วิทยุจุฬา เรื่อง ปัญหาอภิปรัชญาร่วมสมัยแนวปรัชญาวิเคราะห์ วันที่ 30 กรกฎาคม 2554 เวลา 30 – 08.55 น.
  • อาจารย์พิเศษรายวิชา TU 110 Integrated Humanities ภาคการศึกษา 1/2554  วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์  มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

งานบริหาร

หัวหน้าภาควิชาปรัชญา (ตุลาคม 2555 – มิถุนายน 2559)

Visiting Scholar

  • 1-30 เมษายน 2561 ปฏิบัติงานวิจัยที่ภาควิชาปรัชญา มหาวิทยาลัยอินเดียน่า (Bloomington) ประเทศสหรัฐอเมริกา (Host Professor: Kirk Ludwig)
  • 14 มกราคม – 3 มีนาคม 2555  ปฏิบัติงานวิจัย ณ Center for Cognitive Science, Rutgers University, New Brunswick ประเทศสหรัฐอเมริกา

ประวัติทุนการศึกษา

  • 2537-40:  ทุน DAAD จากรัฐบาลประเทศเยอรมันนี ให้ศึกษาระดับปริญญาเอก  สาขาปรัชญา  Bielefeld University   ประเทศเยอรมันนี
  • 2540-46: ทุนการศึกษาขั้นสูงจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ให้ศึกษาระดับปริญญาเอก สาขาปรัชญา University of Warwick ประเทศอังกฤษ

(ปรับปรุงข้อมูล – กรกฎาคม 2564)

https://ppid.fis.unp.ac.id/