รองศาสตราจารย์ ดร. ศริญญา อรุณขจรศักดิ์

ภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพฯ 10330
โทร. 0-2218-4754
E-mail: pook_sarinya@hotmail.comSarinya.a@chula.ac.th

ประวัติการศึกษา

  • พ.ศ. 2538 อ.บ. สาขาเอกภาษาไทย โทภาษาญี่ปุ่น มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • พ.ศ. 2542 อ.ม. สาขาปรัชญา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • พ.ศ. 2552 อ.ด. สาขาปรัชญา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประวัติทุนการศึกษา

  • พ.ศ. 2546-2548 ทุนพัฒนาอาจารย์ (เพื่อศึกษาในระดับปริญญาเอก) สาขาวิชาปรัชญาและ ศาสนา จากสำนักคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)

แขนงวิชาที่สนใจ:

ปรัชญาจีน, ปรัชญาศาสนา

งานบริหาร

  • พ.ศ. 2554 – ปัจจุบัน กรรมการบริหารหลักสูตรอักษรศาสตรบัณฑิต อักษรศาสตรมหาบัณฑิต และ อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์
  • พ.ศ. 2554 – ปัจจุบัน กรรมการบริหารภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์
  • พ.ศ. 2555 – 2558 เลขานุการ กรรมการบริหารภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย
  • พ.ศ 2557 – ปัจจุบัน กรรมการบริหารคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • พ.ศ 2557 – ปัจจุบัน กรรมการพิจารณากำกับวิทยานิพนธ์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ผลงานวิชาการ

บทความภาษาไทย:

  • 2547 “ภาษาและความเป็นจริงในคัมภีร์เต๋าเต๋อจิงและคัมภีร์จวงจื๊อ” ใน สุวรรณา สถาอานันท์ (บรรณาธิการ).ความเรียงใหม่รื้อสร้างปรัชญาตะวันออก,หน้า 244-287. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  • 2550 “อภิปรัชญาในคัมภีร์ขงจื๊อ” วารสารปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ มศว. ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (ก.ค-ธ.ค. 2550): 41-83.
  • 2553 “การศึกษาเบื้องต้นว่าด้วยการขัดเกลาจริยธรรมในปรัชญาของหวังหยังหมิง” ใน ปกรณ์ ลิมปนุสรณ์ (บรรณาธิการ). เหตุเกิดในราชหมิง, หน้า 90-121. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์ชวนอ่าน.
  • 2554 “อารมณ์และคุณธรรมหลักทั้งสี่ในจริยศาสตร์เมิ่งจื่อ.” ใน ชาญณรงค์ บุญหนุน และสุวรรณา สถาอานันท์ (บรรณาธิการ), อารมณ์กับจริยศาสตร์, หน้า 188-294. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์วิภาษา. (บทความวิจัยในโครงการ “อารมณ์กับจริยศาสตร์” ภายใต้ชุดโครงการเวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทย สนับสนุนโครงการโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.))
  • 2554 “การจัดการความปรารถนาในจริยศาสตร์ขงจื่อและไต้เจิ้น” ใน ปกรณ์ ลิมปนุสรณ์ (บรรณาธิการ). เหตุเกิดในราชชิง, หน้า 196-231. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์ชวนอ่าน.
  • 2555 “คุณธรรมความกตัญญูในจริยศาสตร์ขงจื่อ” (Filial Piety (xiao) in Confucian Ethics) หน้า 1-64. ในโครงการ “สร้างแผนที่จริยศาสตร์” ภายใต้ชุดโครงการเวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทย สนับสนุน โครงการโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

ผลงานรอตีพิมพ์เผยแพร่:

  • “จริยศาสตร์สำนักเต๋า: บทวิเคราะห์มิตรภาพในจวงจื่อ” โครงการจัดทำวารสารวิชาการด้าน ปรัชญาและศาสนา ฉบับพิเศษ
  • “ผีเสื้อกับโจวกง: ข้อเสนอทางปรัชญาว่าด้วยความฝัน ความหวัง และการแปรเปลี่ยนในปรัชญาขงจื่อ และจวงจื่อ.” หนังสือรวมบทความวิชาการ “เวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทย ครั้งที่ 7 ความกลัว ความหวัง จินตนาการ และการเปลี่ยนแปลง”

บทความภาษาอังกฤษ:

  • 2009 “Ethics of Timeliness in Confucianism.” Manusya: Journal of Humanities 12, No. 2 (2009): 46-62.
  • 2016 “Political Implications of Compassion in Mencius” (Forth coming)

บทความแปล:

  • 2554 “ความเข้าใจประชาธิปไตยขงจื่อในมุมมองนักปฏิบัตินิยม” ใน อุกฤษฏ์ แพทย์น้อย (บรรณาธิการ).ปรัชญากับอนาคตของประชาธิปไตย, หน้า 245-312. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์คบไฟ. [แปลจาก Roger T. Ames and David L.Hall. “A Pragmatist Understanding of Confucian Democracy,” in Daniel A. Bell and Hahm Chaibong, eds., Confucianism for the Modern World. (Cambridge: Cambridge UP, 2003), pp. 124-160]

สารานุกรมออนไลน์:

  • ศริญญา อรุณขจรศักดิ์, ผู้เรียบเรียง. “อเทวนิยม (Atheism)” สารานุกรมปรัชญาออนไลน์ฉบับ สังเขป สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) สนับสนุนโครงการ <URL: http://www.philospedia.net/atheism.html>
  • ศริญญา อรุณขจรศักดิ์, ผู้เรียบเรียง. “ปรัชญาสำนักขงจื่อ (Confucianism)” สารานุกรมปรัชญาออนไลน์ ฉบับสังเขป สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) สนับสนุนโครงการ  <URL: http://www.philospedia.net/confucianism.html>
  • ศริญญา อรุณขจรศักดิ์, ผู้เรียบเรียง. “ปรัชญาสำนักเต๋า (Daoism)” สารานุกรมปรัชญาออนไลน์ ฉบับสังเขป สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) สนับสนุนโครงการ <URL: http://www.philospedia.net/daoism.html>

การเข้าร่วมงานประชุมวิชาการระดับชาติ

  • 2550 “คำถามเรื่องจักรวาลวิทยาในหลุนอี่ว์.” 13 หน้า. เสนอในการประชุมสัมมนาทางวิชาการเรื่อง “ปรัชญาขงจื๊อในสังคมไทย” จัดโดย ภาควิชาปรัชญา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภาควิชาปรัชญาและ ภาควิชาภาษาจีน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และอาศรมสยาม-จีนวิทยา ณ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 2551 “จักรวาลวิทยาในปรัชญาขงจื่อ.” 14 หน้า. เสนอในงานสัมมนาทางวิชาการประจำปี 2551 ของสมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย 21-22 ตุลาคม 2551 ณ คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • 2553 “การศึกษาเบื้องต้นว่าด้วยการขัดเกลาจริยธรรมในปรัชญาของหวังหยังหมิง” เสนอในงานประชุม ทางวิชาการระดับชาติ ในงานสัมมนาทางวิชาการเรื่อง “เหตุเกิดในราชวงศ์หมิง” จัดโดย โครงการจีน ศึกษา สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา ร่วมกับโครงการปริญญาโทวัฒนธรรมจีนศึกษา คณะศิลปะ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 5 กุมภาพันธ์ 2553 ณ หอประชุมหุตะสิงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 2554 “การจัดการความปรารถนาในจริยศาสตร์ขงจื่อและไต้เจิ้น” เสนอในงานประชุมทางวิชาการ ระดับชาติ ในงานสัมมนาทางวิชาการเรื่อง “เหตุเกิดในราชวงศ์ชิง” จัดโดย โครงการจีนศึกษาและ ศูนย์การเรียนรู้จีนศึกษาบรมราชกุมารี สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา ร่วมกับโครงการปริญญาโท วัฒนธรรมจีนศึกษา คณะศิลปะศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 9 กันยายน 2554 ณ หอประชุมหุตะสิงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 2556 “จริยศาสตร์สำนักเต๋า: บทวิเคราะห์มิตรภาพในจวงจื่อ” 14 หน้า. เสนอในงานประชุมสัมมนาทาง วิชาการด้านปรัชญาและศาสนา “การเปลี่ยนแปลงของความรู้และอำนาจเชิงจารีตประเพณี ศาสนา และจริยธรรมในโลกยุคใหม่” จัดโดยภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 14- 15 สิงหาคม 2556 ณ ห้อง 115 อาคารวชิรมงกุฎ คณะอักษรศาสตร์ ม.ศิลปากร สนามจันทร์
  • 2556 “ปรัชญาของจูซี: การอ่านกับการขัดเกลาจริยธรรม” 17 หน้า. ในงานประชุมทางวิชาการ “เหตุ เกิดในราชวงศ์ช่ง” จัดโดย โครงการจีนศึกษาและศูนย์การเรียนรู้จีนศึกษาบรมราชกุมารี สถาบัน เอเชียตะวันออกศึกษา ร่วมกับโครงการปริญญาโทวัฒนธรรมจีนศึกษา คณะศิลปะศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ณ ห้องประชุม ประกอบ หุตะสิงห์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่า พระจันทร์ วันที่ 28 มิถุนายน 2556
  • 2557 “ผีเสื้อกับโจวกง: ข้อเสนอทางปรัชญาว่าด้วยความฝัน ความหวัง และการแปรเปลี่ยนในปรัชญา ขงจื่อและจวงจื่อ.” หน้า 357-379. หนังสือประมวลผลการประชุมทางวิชาการ (Proceedings) ในงานประชุมทางวิชาการระดับชาติ เวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทย ครั้งที่ 7 ความกลัว ความหวัง จินตนาการ และการเปลี่ยนแปลง ณ อาคารปฏิบัติการเทคโนโลยีและการพัฒนานวัตกรรม มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ จังหวัดนครศรีธรรมราช จัดโดยสำนักศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ วันที่ 23-24 มกราคม 2557.

การเข้าร่วมประชุมวิชาการระดับนานาชาติ

  • 2556 “Normativity of Filial Piety in Early Confucian Ethics” เสนอในงานประชุมทางวิชาการ 23rd World Congress of Philosophy: Philosophy as Inquiry and Way of Life จัดโดย University of Athens, School of Philosophy และ International Federation of Philosophical Societies ระหว่างวันที่ 4-10 สิงหาคม 2556 ณ มหาวิทยาลัยเอเธนส์ เมืองเอเธนส์ ประเทศกรีซ
  • 2558 “Political Implications of Compassion in Mencius” เสนอในงานประชุมทางวิชาการ นานาชาติ Philosophies in Dialogue: Bridging the Great Philosophical Divides จัด โดยภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ International Federation of Philosophical Societies ระหว่างวันที่ 26-28 มีนาคม 2558 ณ คณะ อักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร

งานวิจัยในปัจจุบัน

  • “บทวิเคราะห์การสำรวจองค์ความรู้เรื่องคุณธรรม จริยธรรม วัฒนธรรม และระเบียบวินัยของคนไทย ในแบบเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- มัธยมศึกษาปีที่ 6 ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 และ พ.ศ. 2551” (โครงการวิจัยเรื่อง สำรวจองค์ความรู้เรื่องคุณธรรม จริยธรรม วัฒนธรรม และระเบียบวินัยของคนไทย) แหล่งทุนสนับสนุน สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ระยะเวลา 1 ปี (กันยายน 2557 – ตุลาคม 2558)
  • “จินตนาการกับการให้เหตุผลทางศีลธรรมในจริยศาสตร์เมิ่งจื่อ” (โครงการวิจัย “การคิด เทคโนโลยี และชีวิตที่ดี” เนื่องในวโรกาสการเฉลิมฉลองวาระ 60 พรรษาสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) แหล่งทุนสนับสนุน มูลนิธิมหาจักรีสิรินธรเพื่อคณะอักษรศาสตร์
  • “การสร้างพลังแห่งตนในปัจเจกชน: การวิพากษ์ภาวะผู้นำในปรัชญาสำนักเต๋า” (Self-Empowerment in Individuals: A Critique of Leadership in Daoism) (โครงการวิจัย “ภาวะผู้นำในภูมิปัญญาตะวันออก”) แหล่งทุนสนับสนุน “โครงการผู้นำแห่งอนาคต” คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ระยะเวลา 8 เดือน (กรกฎาคม 2558 – กุมภาพันธ์ 2559)

https://ppid.fis.unp.ac.id/