โครงการและผลงานวิจัย

โครงการวิจัย

      ๑. โครงการวิจัยร่วม HCMR (Human-Chicken Multi Relationship Research Project – H.I.H Prince Akishino’s Research under the Patronage of H.R.H. Princess Maha Chakri Sirindhorn) เป็นโครงการวิจัยสหสาขา (ญี่ปุ่น – ไทย) ของเจ้าชายอะกิฌิโนะและในพระราชูปถัมภ์ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เริ่มโครงการที่ ๑ เมื่อเดือนสิงหาคม ๒๕๔๗ (๒๐๐๔) -–๒๕๕๐ (๒๐๐๗) ประกอบด้วยนักวิจัย ๔ สาขา ได้แก่ Biology and Ecology, Humanities, Economics and GIS ด้าน Humanities มี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ม.ร.ว. กัลยา ติงศภัทิย์ เป็นหัวหน้าโครงทีม โดยมีศูนย์คติชนวิทยา คณะอักษรศาสตร์ ดำเนินการวิจัยโดยได้เสนอโครงการวิจัยชุด “The Role of Chicken in Myth and Ritual in Northern Thailand” นักวิจัยได้แก่ รองศาสตราจารย์สุกัญญา สุจฉายา เป็นหัวหน้าโครงการร่วมกับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชมนาด ศีติสาร และอาจารย์พลวัฒ ประพัฒน์ทอง จากมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย ผลงานจากโครงการวิจัยร่วมนี้ ได้แก่

     – บทความวิจัย โดย รองศาสตราจารย์สุกัญญา สุจฉายา และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชมนาด ศีติสาร เรื่อง “Significance and Role of Chicken in the Akha Worldview” เสนอในที่ประชุม The First Tokyo International Congress on HCMR ที่กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ๒๗-๓๐ มีนาคม ๒๕๔๘ (๒๐๐๕)

– บทความวิจัยโดย รองศาสตราจารย์สุกัญญา สุจฉายา เรื่อง “The First Augury Chicken : An Interpretation from Tai Myth” เสนอในที่ประชุม The ๒๐๐๖ HMCR Congress in Tokyo ณ กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ๑๙-๒๐ มิถุนายน ๒๕๔๙ (๒๐๐๖)

 – บทความวิจัยโดย อาจารย์พลวัฒ ประพัฒน์ทอง เรื่อง “The Manuscript of Divination by Chicken bones at Huay Nam Kun Village,Mae Fah Luang District,Chiang Rai” เสนอในที่ประชุม The ๒๐๐๖ HMCR Congress in Tokyo

– บทความวิจัยโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชมนาด ศีติสาร เรื่อง “Study of Wild Chicken and Domestic Chicken from Cultural Perspective” เสนอในที่ประชุม The ๒๐๐๗ HMCR Congress ณ อุทยานวิทยาศาสตร์ กระทรวงวิทยาศาสตร์ ปทุมธานี ๑๖ มีนาคม ๒๕๕๐ (๒๐๐๗)

– หนังสือแปลโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชมนาด ศีติสาร ชื่อ “ไก่กับคน: จากมุมมองทางชีวชาติพันธุ์วิทยา” ของเจ้าชายอากิฌิโนะมิยะ ฟูมิฮิโตะและคณะ. กรุงเทพฯ: อมรินทร์,๒๕๕๐ (๒๙๘ หน้า)

      ๒. โครงการวิจัยภาคสนามการคุ้มครองภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ตามแผนพัฒนากฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา ปี ๒๕๕๐ (กิจกรรมที่ ๒)

      ศูนย์คติชนวิทยา โดย รองศาสตราจารย์สุกัญญา สุจฉายา หัวหน้าโครงการฯ ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากกรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ เป็นเงินจำนวน ๑,๖๕๐,๐๐๐ บาท (หนึ่งล้านหกแสนห้าหมื่นบาทถ้วน) ให้วิจัยภาคสนามเพื่อตรวจสอบกรอบความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิในท้องถิ่น ๔ ภูมิภาค เกี่ยวกับการคุ้มครองภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยมีระยะเวลาในการทำวิจัย ๔ เดือน (ธันวาคม ๒๕๔๙ – เมษายน ๒๕๕๐) โครงการวิจัยดังกล่าวเสร็จเรียบร้อยแล้ว และอยู่ในระหว่างดำเนินการจัดทำร่างกฎหมายต่อไป

      ๓. โครงการวิจัยเรื่อง “การสร้างสรรค์คติชนสมัยใหม่ในสังคมปัจจุบัน” โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ศิราพร ณ ถลาง และรองศาสตราจารย์สุกัญญา สุจฉายา ทุนวิจัยคณะอักษรศาสตร์

      ๔. โครงการวิจัยเรื่อง “อาหารในงานบุญประเพณีที่เกี่ยวกับชีวิตของชาวมุสลิมกลุ่มแขกจาม ชวาและเปอร์เชียในสังคมไทย” โดย รองศาสตราจารย์สุกัญญา สุจฉายาและนักวิจัยเครือข่าย (๒๕๔๗) ทุนวิจัยคณะอักษรศาสตร์

      ๕. โครงการวิจัย “ที่มาของภาพจิตรกรรมลายรดน้ำที่เชิงบานหน้าต่างพระอุโบสถวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม” โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ศิราพร ณ ถลาง และรองศาสตราจารย์สุกัญญา สุจฉายา (๒๕๔๓) ทุนวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม

ผลงานวิจัย

๑. หนังสือ “คติชนในภาพเชิงบานหน้าต่างพระอุโบสถ วัดพระเชตุพน” โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ศิราพร ณ ถลาง และ รองศาสตราจารย์ สุกัญญา สุจฉายา

๒. รายงานวิจัยเรื่อง “การจัดทำรายชื่อวรรณกรรมท้องถิ่นภาคกลางเพื่อการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๔๔” โดย รศ.สุกัญญา สุจฉายา เสนอต่อ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ (๒๕๔๘)

๓. บทความวิจัยเรื่อง “บุญประเพณีที่เกี่ยวกับชีวิตของชาวมุสลิมกลุ่มแขกจาม ชวาและเปอร์เชียในสังคมไทย” เสนอในที่ประชุมวิชาการ “เรื่องกินเรื่องใหญ่ในไทยและเทศ” วันที่ ๒๑ มิถุนายน ๒๕๔๗

๔. บทความวิจัยเรื่อง “Significance and Role of Chicken in the Akha Worldview” by Sukanya Sujachaya and Chomnad Sithisarn. Manusya Special Issue No.๙ (๒๐๐๕) ปรับปรุงจาก proceeding of the First Tokyo International Congress (๒๗-๓๐ March ๒๐๐๕)

๕. รายงานการวิจัยเรื่อง “โครงการวิจัยภาคสนามการคุ้มครองภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย” โดย รองศาสตราจารย์สุกัญญา สุจฉายา รองศาสตราจารย์ ดร.ศิราพร ณ ถลาง และคณะ เสนอต่อกรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ (๒๕๕๐)

โครงการวิจัย

      ๑. โครงการวิจัยร่วม HCMR (Human-Chicken Multi Relationship Research Project – H.I.H Prince Akishino’s Research under the Patronage of H.R.H. Princess Maha Chakri Sirindhorn) เป็นโครงการวิจัยสหสาขา (ญี่ปุ่น – ไทย) ของเจ้าชายอะกิฌิโนะและในพระราชูปถัมภ์ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เริ่มโครงการที่ ๑ เมื่อเดือนสิงหาคม ๒๕๔๗ (๒๐๐๔) -–๒๕๕๐ (๒๐๐๗) ประกอบด้วยนักวิจัย ๔ สาขา ได้แก่ Biology and Ecology, Humanities, Economics and GIS ด้าน Humanities มี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ม.ร.ว. กัลยา ติงศภัทิย์ เป็นหัวหน้าโครงทีม โดยมีศูนย์คติชนวิทยา คณะอักษรศาสตร์ ดำเนินการวิจัยโดยได้เสนอโครงการวิจัยชุด “The Role of Chicken in Myth and Ritual in Northern Thailand” นักวิจัยได้แก่ รองศาสตราจารย์สุกัญญา สุจฉายา เป็นหัวหน้าโครงการร่วมกับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชมนาด ศีติสาร และอาจารย์พลวัฒ ประพัฒน์ทอง จากมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย ผลงานจากโครงการวิจัยร่วมนี้ ได้แก่

– บทความวิจัย โดย รองศาสตราจารย์สุกัญญา สุจฉายา และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชมนาด ศีติสาร เรื่อง “Significance and Role of Chicken in the Akha Worldview” เสนอในที่ประชุม The First Tokyo International Congress on HCMR ที่กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ๒๗-๓๐ มีนาคม ๒๕๔๘ (๒๐๐๕)

– บทความวิจัยโดย รองศาสตราจารย์สุกัญญา สุจฉายา เรื่อง “The First Augury Chicken : An Interpretation from Tai Myth” เสนอในที่ประชุม The ๒๐๐๖ HMCR Congress in Tokyo ณ กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ๑๙-๒๐ มิถุนายน ๒๕๔๙ (๒๐๐๖)

 – บทความวิจัยโดย อาจารย์พลวัฒ ประพัฒน์ทอง เรื่อง “The Manuscript of Divination by Chicken bones at Huay Nam Kun Village,Mae Fah Luang District,Chiang Rai” เสนอในที่ประชุม The ๒๐๐๖ HMCR Congress in Tokyo

– บทความวิจัยโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชมนาด ศีติสาร เรื่อง “Study of Wild Chicken and Domestic Chicken from Cultural Perspective” เสนอในที่ประชุม The ๒๐๐๗ HMCR Congress ณ อุทยานวิทยาศาสตร์ กระทรวงวิทยาศาสตร์ ปทุมธานี ๑๖ มีนาคม ๒๕๕๐ (๒๐๐๗)

– หนังสือแปลโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชมนาด ศีติสาร ชื่อ “ไก่กับคน: จากมุมมองทางชีวชาติพันธุ์วิทยา” ของเจ้าชายอากิฌิโนะมิยะ ฟูมิฮิโตะและคณะ. กรุงเทพฯ: อมรินทร์,๒๕๕๐ (๒๙๘ หน้า)

      ๒. โครงการวิจัยภาคสนามการคุ้มครองภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ตามแผนพัฒนากฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา ปี ๒๕๕๐ (กิจกรรมที่ ๒)

      ศูนย์คติชนวิทยา โดย รองศาสตราจารย์สุกัญญา สุจฉายา หัวหน้าโครงการฯ ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากกรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ เป็นเงินจำนวน ๑,๖๕๐,๐๐๐ บาท (หนึ่งล้านหกแสนห้าหมื่นบาทถ้วน) ให้วิจัยภาคสนามเพื่อตรวจสอบกรอบความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิในท้องถิ่น ๔ ภูมิภาค เกี่ยวกับการคุ้มครองภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยมีระยะเวลาในการทำวิจัย ๔ เดือน (ธันวาคม ๒๕๔๙ – เมษายน ๒๕๕๐) โครงการวิจัยดังกล่าวเสร็จเรียบร้อยแล้ว และอยู่ในระหว่างดำเนินการจัดทำร่างกฎหมายต่อไป

      ๓. โครงการวิจัยเรื่อง “การสร้างสรรค์คติชนสมัยใหม่ในสังคมปัจจุบัน” โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ศิราพร ณ ถลาง และรองศาสตราจารย์สุกัญญา สุจฉายา ทุนวิจัยคณะอักษรศาสตร์

      ๔. โครงการวิจัยเรื่อง “อาหารในงานบุญประเพณีที่เกี่ยวกับชีวิตของชาวมุสลิมกลุ่มแขกจาม ชวาและเปอร์เชียในสังคมไทย” โดย รองศาสตราจารย์สุกัญญา สุจฉายาและนักวิจัยเครือข่าย (๒๕๔๗) ทุนวิจัยคณะอักษรศาสตร์

      ๕. โครงการวิจัย “ที่มาของภาพจิตรกรรมลายรดน้ำที่เชิงบานหน้าต่างพระอุโบสถวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม” โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ศิราพร ณ ถลาง และรองศาสตราจารย์สุกัญญา สุจฉายา (๒๕๔๓) ทุนวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม

ผลงานวิจัย

๑. หนังสือ “คติชนในภาพเชิงบานหน้าต่างพระอุโบสถ วัดพระเชตุพน” โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ศิราพร ณ ถลาง และ รองศาสตราจารย์ สุกัญญา สุจฉายา

๒. รายงานวิจัยเรื่อง “การจัดทำรายชื่อวรรณกรรมท้องถิ่นภาคกลางเพื่อการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๔๔” โดย รศ.สุกัญญา สุจฉายา เสนอต่อ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ (๒๕๔๘)

๓. บทความวิจัยเรื่อง “บุญประเพณีที่เกี่ยวกับชีวิตของชาวมุสลิมกลุ่มแขกจาม ชวาและเปอร์เชียในสังคมไทย” เสนอในที่ประชุมวิชาการ “เรื่องกินเรื่องใหญ่ในไทยและเทศ” วันที่ ๒๑ มิถุนายน ๒๕๔๗

๔. บทความวิจัยเรื่อง “Significance and Role of Chicken in the Akha Worldview” by Sukanya Sujachaya and Chomnad Sithisarn. Manusya Special Issue No.๙ (๒๐๐๕) ปรับปรุงจาก proceeding of the First Tokyo International Congress (๒๗-๓๐ March ๒๐๐๕)

๕. รายงานการวิจัยเรื่อง “โครงการวิจัยภาคสนามการคุ้มครองภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย” โดย รองศาสตราจารย์สุกัญญา สุจฉายา รองศาสตราจารย์ ดร.ศิราพร ณ ถลาง และคณะ เสนอต่อกรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ (๒๕๕๐)