Education 教育
Ph.D. University of Tsukuba, Japan
(History and Anthropology : Japanese Folklore)
筑波大学博士課程 歴史・人類学研究科修了
博士(学術)
M.A. University of Tsukuba, Japan (Japanese Studies)
筑波大学修士課程 地域研究科修了 (日本研究)
B.A. Tsukuba University , Japan (Comparative Culture)
筑波大学第二学群比較文化学類卒業(アジア研究)
Specialty 専門分野
Japanese Folklore
日本民俗学
Theses and works 論文及び研究業績
Thesis and Dissertation
「神事相撲の民俗学的研究」(Ph.D.)
Duties
- รองคณบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนา คณะอักษรศาสตร์ 2551-2558
文学部計画・発展担当副学部長(2008-2015) - หัวหน้าภาควิชาภาษาตะวันออก 2560-ปัจจุบัน
東洋言語学科長(2017ー現在) - นายกสมาคมญี่ปุ่นศึกษาแห่งประเทศไทย 2565-ปัจจุบัน
日本研究学会長(2022ー現在)
Research and Academic Papers and Books
- 「相撲と農耕儀礼」第48回日本民俗学会(1996年10月)
- 「相撲と収穫儀礼」第17回歴史人類学会(1996年10月)
- 「相撲と収穫祭の関係をめぐってー奈良市の事例を中心にー」『日本文化研究』8号(1997)
- 「宮本常一の『教育論』雑感」『高桑ゼミ民俗論集Ⅱ』(1998)
- 「相撲行事の総合的な捉え方式論」『都市と境界の民俗』筑波大学民俗学研究室編吉川弘文館(2001年)
- 「大学における日本文化教育の現状と課題」『日本研究概況調査―タイ―』国際交流基金(2004年)
- 「相撲文化の重層性」『学術月報』第60巻第3号2007年
- 「タイにおける日本研究」『東アジア比較文化研究』第6号/特集「世界における日本学」2007年6月
- 「タイの漫画事情」国立民族学博物館『月刊みんぱく』2007年12月
- 「タイ国における日本研究の現状と課題と今後の展望」『タイ国日本研究国際シンポジウム2007 論文報告書』2008年3月
- 「タイ人にいかに日本文化を伝えるか―翻訳小説による文化伝達を中心に―」大阪大学日本語日本文化教育研究会『間谷論集』第2号2008年3月
- 「チュラーロンコーン大学の日本語教育」大阪大学日本語・日本文化タイ日国際シンポジウム『研究者・高度職業人育成における日本語教育の役割 論文報告書』2008年
- 「『鶏と人』の翻訳を振り返る」『家禽資源研究会報』2008年第10号
- 「闘牛・くも合戦に自然と人間の交流を見る」『をちこち』No.27 2009年2・3月号
- “ซูโม่ในวัฒนธรรมพื้นบ้านญี่ปุ่น” วารสารอักษรศาสตร์ ปีที่ 28 ฉบับพิเศษ(กันยายน 2542)
- “การศึกษาคติชนในประเทศญี่ปุ่น สมัยเอโดะถึงสงครามโลก ครั้งที่ 2”วารสารอักษรศาสตร์ ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มิ.ย.45)
- “การศึกษาเรื่องเพศทางคติชนในประเทศญี่ปุ่น ประเพณีโยะบะอิกับการแต่งงาน” วารสารอักษรศาสตร์ ปีที่ 32 ฉบับที่ 1 (ม.ค. – มิ.ย.46)
- “การศึกษาของสตรีญี่ปุ่น ภายหลังการรับวัฒนธรรมจีนจนถึงต้นศตวรรษที่ 20” วารสารอักษรศาสตร์ ฉบับสตรี สังคม อุดมศึกษา ปีที่ 39 ฉบับที่ 1
- “วิวัฒนาการอาหารญี่ปุ่นในประเทศไทย” ชมนาด ศีติสารและวรวุฒิ จิราสมบัติ บรรณาธิการ โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ลำดับที่ 105 พ.ศ.2548”
- “ไก่” ในวัฒนธรรมของชาวญี่ปุ่น” วารสารอักษรศาสตร์ ปีที่ 35 ฉบับที่ 2 (ก.ค.-ธ.ค.2549)
- Sukanya Sujachaya and Chomnard Setisarn. “Significance and Role of the Chiken in the Akha Worldview”, Manusaya Special Issue No.9, 2005
- 「野鶏-家鶏をめぐる文化の諸問題」”ไก่ป่า-ไก่บ้านกับมิติทางวัฒนธรรม” Proceeding of the 2007 HCMR Congress in Bangkok (on March 16,2007 at Science Park Convention Hall)
- “Relationship between Human and Bulls on Tokunoshima Island” at the International Conference on Asian Folklore(ICAF2009), Miracle Grand Convention Hotel, Bangkok July2-3,2009.
- “Beliefs and Rituals about Chicken in Various Ethnic Groups in Chiang Rai” Chickens and Humans in Thailand: Their Multiple Relationships and Domestication, Siam Society 2010
- “Working Poor: โรคร้ายใหม่ที่บั่นทอนสังคมญี่ปุ่น” ในหนังสือ สู่ศตวรรษที่ 21 ของสังคมญี่ปุ่น สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552
- “ความสัมพันธ์ระหว่างคนกับวัวบนเกาะโทะกุโนะฌิมะ” ในวารสาร jsn Journal ปีที่1 ฉบับที่ 1 ตุลาคม 2554
- “The Internationalization of Chulalongkorn University and its Problems: A Case Study of the Bachelor of Arts Program in Language and Culture (BALAC)” in Research Project “Attitudes and Behaviours of University Students towards Studying Abroad and Institutional Policies: A Case Study in Research-oriented Universities in Japan, China, and Thailand” The Annual APAIE 2013 Conference and Exhibition, The Chinese University of Hong Kong, March11 – 13, 2013
- 「チュラーロンコーン大学の国際化と課題―文学部言語と文化学士カリキュラム(BALAC)の事例を中心に―」京都大学河合淳子代表「現代大学生の留学志向に関する国際比較研究」(科学研究費補助金 基礎研究C 課題番号22530916 平成22年度―平成24年度)
- อิกิเรียว วิญญาณคนเป็นในวรรณกรรมญี่ปุ่น . วารสารเครือข่ายญี่ปุ่นศึกษา 10,1 (มิถุนายน 2563): 105-108.
- (ร่วมกับ สาโรจน์ เจียระคงมั่น). ลักษณะความเป็นไทยที่สะท้อนในการชนไก่ของชาวไทย. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. Vol. 6 No. 1 January – June 2003 (May 2023): 1-40. Tier 2
Books and Translations
- “ธรณีเทพกับหมาจิ้งจอก” จาก 宮沢賢治「土神ときつね」ตีพิมพ์ใน เรื่องสั้นญี่ปุ่น๖ อักษร-จุฬา 2543
- “สารวัตรนักเบื่อปลา” จาก 宮沢賢治「毒もみのすきな署長さん」ตีพิมพ์ใน เรื่องสั้นญี่ปุ่น ๖ อักษร-จุฬา 2543
- แรงรักจากปรภพ จาก坂東眞砂子『死国』สำนักพิมพ์ BLISS ตุลาคม 2547 (รางวัลเหรียญทองแดง APPA Books Awards)
- แมลงมรณะ จาก坂東眞砂子『蟲』สำนักพิมพ์ BLISS มีนาคม 2548
- นิยายชุดคินดะอิจิยอดนักสืบ บทเพลงปีศาจ จาก横溝正史『悪魔が来りて笛を吹』สำนักพิมพ์ BLISS ตุลาคม 2548
- นิยายชุดคินดะอิจิยอดนักสืบ ฆาตกรรมบนเกาะโกะกุมน จาก横溝正史『獄門島』สำนักพิมพ์ BLISS มีนาคม 2549
- นิยายชุดคินดะอิจิยอดนักสืบ เพลงเล่นลูกบอลปีศาจ จาก横溝正史『悪魔の手毬唄』สำนักพิมพ์ BLISS ตุลาคม 2549
- นิยายชุดคินดะอิจิยอดนักสืบ อย่าออกมาเดินตอนกลางคืน จาก横溝正史『夜歩く』สำนักพิมพ์ BLISS มีนาคม 2550
- ไก่กับคน จากมุมมองชีวชาติพันธุ์วิทยา จาก 『鶏と人』เจ้าชายอะกิฌิโนะทรงประพันธ์และทรงเป็นบรรณาธิการ สำนักพิมพ์อมรินทร์ มีนาคม 2550
- นิยายชุดคินดะอิจิยอดนักสืบ ในห้องที่ปิดตาย จาก横溝正史『本陣殺人事件』สำนักพิมพ์ BLISS ตุลาคม 2550
- เรื่องสั้น “จมูก” จาก 芥川竜之介「鼻」 ใน ราโชมอนและเรื่องสั้นอื่น ๆ สำนักพิมพ์สมมติ กุมภาพันธ์ 2551
- นิยายชุดคินดะอิจิยอดนักสืบ ผึ้งนางพญา จาก 横溝正史『女王蜂』สำนักพิมพ์ BLISS ตุลาคม 2551
- นิยายชุดคินดะอิจิยอดนักสืบ เกาะวิญญาณอาถรรพณ์ 1และ2 จาก 横溝正史『悪霊島』上・下สำนักพิมพ์ BLISS ตุลาคม 2552
- นิยายชุดคินดะอิจิยอดนักสืบ ข้างหลังบานประตู จาก 横溝正史『扉の影の女』สำนักพิมพ์ BLISS ตุลาคม 2553
- นิยายชุดคินดะอิจิยอดนักสืบ ขาวกับดำ จาก 横溝正史『白と黒』สำนักพิมพ์ BLISS ตุลาคม 2554
- ฆาตกรรมมาดามบัตเตอร์ฟลาย จาก 横溝正史『蝶々殺人事件』 Talent 1 Publishing ตุลาคม 2555
- นิยายชุดคินดะอิจิยอดนักสืบ โรงละครผีสิง จาก 横溝正史『幽霊座』 Talent 1 Publishing ตุลาคม 2556
- บทความแปล “ความเป็นชาติกับระบอบประชาธิปไตยในญี่ปุ่นสมัยใหม่” ของศาสตราจารย์โอะงุมะ เอจิ ในหนังสือ คมซามูไร รากฐานการเมืองญี่ปุ่น สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556
- (แปล). แนวทางการใช้ชีวิตในช่วงแพนเดมิก: ผ่านวิธีการศึกษาประวัติศาสตร์. วารสารเครือข่ายญี่ปุ่นศึกษา 10, 2 (ธันวาคม 2563): 6-15.
Current Research Topic 現在の研究課題
- โครงการ Human-Chicken Multi-Relationships Research Projiect –H.I.H. Prince Akishino’s Research under the Royal Patronage of H.R.H. Princess Maha Chakri Sirindhorn” (โครงการวิจัยร่วมระหว่างไทย-ญี่ปุ่น)
- โครงการวิจัยเรื่อง “The Folklores and Beliefs about Domestic Animals in Japan” ด้วยทุนสนับสนุนจาก The Japan Foundation ตั้งแต่ ตุลาคม 2550- กันยายน 2551 ที่ National Museum of Ethnology, Osaka Japan.
- โครงการจัดทำ สารานุกรมวัฒนธรรมญี่ปุ่น รวมกับคณาจารย์สาขาวิชาาภาษาญี่ปุ่น ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะอักษรศาสตร์ จุฬาฯ ภายใต้การสนับสนุนของ Toyota Foundation
- “การศึกษาเปรียบเทียบประเพณีการแข่งขันในฐานะพิธีเสี่ยงทายในสังคมไทยและญี่ปุ่น” (A Comparative Study of Competitive Traditions as Augury in Thai and Japanese Societies) ในโครงการเมธีวิจัยอาวุโส เรื่อง ““คติชนสร้างสรรค์”: พลวัตและการนำคติชนไปใช้ในสังคมไทยร่วมสมัย” (“Creative Folklore”: Dynamics and Application of Folklore In Contemporary Thai Society) หัวหน้าโครงการ: ศาสตราจารย์ ดร.ศิราพร ณ ถลาง, 2554-2556
Contact 連絡先
Tel: 0-2218-4748
Fax: 0-2218-4740