เหตุการณ์ภายในคณะอักษรศาสตร์

เหตุการณ์เกี่ยวกับ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เหตุการณ์เกี่ยวกับ
เหตุการณ์บ้านเมือง

 

๒๔๔๑

พระยาวิสุทธิสุริยศักดิ์ ร่างโครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยขึ้นในประเทศสยาม นาม "สากลวิทยาลัยรัตนโกสินทร์"

๒๔๔๕

ตั้งโรงเรียนมหาดเล็ก ในพระบรมมหาราชวัง ข้างประตูพิมานไชยศรี

๒๔๕๓

๒๓ ต.ค. ๒๔๕๓ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคต

๒๔๕๗

  • เปลี่ยนชื่อโรงเรียนมหาดเล็กเป็น
    โรงเรียนข้าราชการพลเรือน
  • เริ่มสร้างตึกเรียนที่เรียกกันในครั้งนั้น
    ว่า "มหาวิทยาลัยแห่งสยาม" (ตึกบัญชาการโรงเรียนข้าราชการพลเรือน)

เกิดสงครามโลกครั้งที่ ๑

๒๔๕๘

  • ๓ ม.ค. ๒๔๕๘ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินทรงวางศิลาฤกษ์ตึกบัญชาการโรงเรียนข้าราชการพลเรือน (ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นตึกอักษรศาสตร์ ๑) ตำบลปทุมวัน

  • แรกสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มี ๔ คณะ ได้แก่
    คณะแพทยศาสตร์ (ร.ร.ราชแพทยาลัย)
    คณะรัฎฐประศาสนศาสตร์ (โรงเรียนข้าราชการพลเรือน)
    คณะวิศวกรรมศาสตร์ (โรงเรียนยันตรศึกษา)
    คณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (คณะตั้งใหม่ - ตั้งอยู่ที่วังใหม่หรือวังกลางทุ่ง)
  • แรกตั้งคณะ มุ่งสอนวิชาพื้นฐานแก่นิสิตทุกคณะ
    และมุ่งสอนวิชาเตรียมแพทย์ให้แก่นิสิตคณะอักษรศาสตร์
    และวิทยาศาสตร์
    วิชาที่สอนมี เคมี ฟิสิกส์ ชีววิทยา ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส และประวัติศาสตร์

๒๔๕๙

๒๖ มี.ค. ๒๔๕๙ (๒๔๖๐ นับตามปัจจุบัน) มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ประกาศประดิษฐานโรงเรียนข้าราชการพลเรือน ขึ้นเป็น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

๒๔๖๐

  • พ.ศ.๒๔๖๐ - ๒๔๖๗ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในบังคับบัญชาของสมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมขุนสงขลานครินทร์ ทรงปรับปรุงมาตรฐานการศึกษาและได้รับความร่วมมือจากมูลนิธิรอคกี้เฟลเลอร์

๒๔๖๑

สงครามโลกครั้งที่ ๑ ยุติ

๒๔๗๑

เปิดการสอนวิชาอักษรศาสตร์หลักสูตร ๓ ปี หลักสูตรครูมัธยมอักษรศาสตร์ เป็นครั้งแรก ผู้สำเร็จการศึกษาจะได้รับประกาศนียบัตรครูมัธยม (ป.ม.)

  • ย้ายคณะอักษรศาสตร์เข้ามาอยู่ตึกอักษรศาสตร์ ๑ (ตึกบัญชาการเดิม)
  • เปิดการสอนวิชาอักษรศาสตร์หลักสูตร ๓ ปี หลักสูตรครูมัธยมวิทยาศาสตร์
    เป็นครั้งแรก ผู้สำเร็จการศึกษาจะได้รับประกาศนียบัตรครูมัธยม (ป.ม.)
    เช่นเดียวกัน
  • ตึกอักษรเมื่อครั้งยังมีเพียงตึกบัญชาการตึกเดียว

  • อาจารย์และนักเรียนคณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ที่วังวินเซอร์

๒๔๗๒

  • ๑๗ พ.ค. ๒๔๗๒ ตั้งแผนกฝึกหัดครูของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่หอวังพระตำหนักวินเซอร์ เป็นโรงเรียนชื่อว่า โรงเรียนมัธยมหอวังแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • นิสิตแพทยศาสตร์สำเร็จการศึกษาชั้นปริญญาเป็นรุ่นแรก
  • วังวินเซอร์

  • นิสิตอักษรศาสตร์ สำเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรครูมัธยมอักษรศาสตร์ (ป.ม.) รุ่นแรก ๑๖ คน อาทิ เปลื้อง ณ นคร, เตียง ศิริขันธ์
  • ๒๗ มี.ค.๒๔๗๓ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชทานปริญญาบัตรนิสิต เป็นพิธีประสาทปริญญาครั้งแรกของประเทศไทย
  • ร.๗ เสด็จพระราชทานปริญญา

๒๔๗๓

๒๔๗๔

มหาวิทยาลัยมีแผนปฏิรูปจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฉบับแรก

  • ๒๔๗๕

๒๔๗๕

๒๔ มิ.ย. ๒๔๗๕ การเปลี่ยนแปลงการปกครอง ยังผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางการศึกษาของรัฐบาลพลเรือนในเวลาต่อมา

มีพระราชกฤษฎีกาแยกคณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ เป็น คณะอักษรศาสตร์ กับ คณะวิทยาศาสตร์ แต่ก็กลับมารวมเป็นคณะเดียวกันเช่นเดิมในปีเดียวกันนั้นเอง

๒๔๗๖

ยกฐานะจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยขึ้นเป็นกรมหนึ่งในกระทรวงศึกษาธิการ

ขยายหลักสูตรประกาศนียบัตรครูมัธยมอักษรศาสตร์ ครูมัธยมวิทยาศาสตร์ เป็นชั้นปริญญา ผู้จบหลักสูตรจะได้รับ ปริญญาอักษรศาสตรบัณฑิต ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต

๒๔๗๗

ก่อตั้งมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง เป็นมหาวิทยาลัยเปิดหรือตลาดวิชา

  • จัดการสอนเป็น ๘ แผนก คือ เคมี ฟิสิกส์ ชีววิทยา คณิตศาสตร์ ภาษาไทยและโบราณตะวันออก ภาษาปัจจุบัน ภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์ และฝึกหัดครู
  • เปลี่ยนแปลงหลักสูตรประกาศนียบัตรครูมัธยม เป็นหลักสูตรอนุปริญญา
  • ๒๗ มี.ค. ๒๔๗๘ พระราชทานปริญญาบัตรและอนุปริญญาบัตรอักษรศาสตร์
    รุ่นแรกมีผู้สำเร็จชั้นปริญญาอักษรศาสตรบัณฑิต ๓๓ คน
  • อักษรศาสตรบัณฑิตรุ่นแรก ๓๓ คน ชาย ๒๑ คน หญิง ๑๒ คน

๒๔๗๘

๒๔๗๙

รื้อวังกลางทุ่ง เริ่มก่อสร้างสนามกีฬาศุภชลาศัย ในพ.ศ. ๒๔๘๐ เปิดใช้ได้ในพ.ศ. ๒๔๘๔

๒๔๘๐

ตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รัฐบาลเปลี่ยนแผนการศึกษาขั้นมัธยมปลาย เป็นเตรียมอุดมศึกษา ๒ ปี ก่อนเข้าเรียนระดับมหาวิทยาลัย

  • ๒๔๘๑ อักษรศาสตรบัณฑิตรุ่นที่ ๔

๒๔๘๑

เปิดรับข้าราชการเข้าเป็นนิสิตด้วยวิธีสอบเทียบเข้าเรียนตั้งแต่ชั้นปีที่ ๓ - ๔
เรียกว่านิสิตอักษรศาสตร์ภายนอก จนถึง พ.ศ. ๒๕๑๐

๒๔๘๒

รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ออกพระราชบัญญัติโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินอันเป็นทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ให้จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  • ๒๔๘๒-๒๔๘๗ นิสิตจุฬาฯสมัยยุวนารี

ก.ย. ๒๔๘๒ เกิดสงครามโลกครั้งที่ ๒ ในยุโรป

๒๔๘๓

๒๔๘๔

ธ.ค. ๒๔๘๔ เกิดสงครามโลกครั้งที่ ๒ ในเอเชีย

คณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ เปิดการสอนชั้นปริญญามหาบัณฑิตเป็นครั้งแรก

  • คณะอักษรศาสตร์ประมาณปี ๒๔๘๕

๒๔๘๕

ประกาศ พรบ.จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. ๒๔๘๖ แยกคณะเป็นคณะอักษรศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มีคณบดีคนเดียวกัน

๒๔๘๖

  • ประกาศยกฐานะ โรงเรียนประณีตศิลปกรรม เป็นมหาวิทยาลัยศิลปากร
  • ก่อตั้งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

นิสิตชั้นปริญญามหาบัณฑิต สำเร็จการศึกษารับปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต
รุ่นแรก ๒ คน คือ ร.ท. พร้อม พานิชภักดิ์ จากสาขาวิชาภูมิศาสตร์ กับม.ร.ว. แสงโสม เกษมศรี จากสาขาวิชาประวัติศาสตร์

  • ม.ร.ว. แสงโสม เกษมศรี

๒๔๘๗

ระหว่างสงครามมหาเอเชียบูรพา เครื่องบินฝ่ายพันธมิตรทิ้งระเบิดกรุงเทพ มหาวิทยาลัยปิดเรียนไม่มีกำหนด (ประมาณ ๑ ปี)
จนกระทั่งสงครามยุติ ในเดือน ต.ค. ๒๔๘๘ เริ่มเปิดทำการสอนอีกครั้งหนึ่ง

๒๔๘๘

๕ ม.ค. ๒๔๘๙ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล พร้อมด้วยสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอฯ (พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช) และสมเด็จพระราชชนนี เสด็จพระราชดำเนินเยี่ยมคณะอักษรศาสตร์

๒๔๘๙

๒๔๙๐

เปลี่ยนชื่อคณะอักษรศาสตร์ เป็น คณะอักษรศาสตร์และครุศาสตร์ เปิดสอน ๔ แผนกวิชา คือ ภาษาไทยและโบราณตะวันออก ภาษาต่างประเทศ ภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์ และครุศาสตร์

๒๔๙๑

๒๔๙๒

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช พระราชทานทำนองเพลง "มหาจุฬาลงกรณ์" ให้ใช้เป็นเพลงประจำมหาวิทยาลัย

แยกการบริหารงานคณะอักษรศาสตร์ออกจากคณะวิทยาศาสตร์ มี ศ.รอง ศยามานนท์ เป็นคณบดีคณะอักษรศาสตร์ จนถึง พ.ศ.๒๕๑๔

  • ศ.รอง ศยามานนท์

๒๔๙๓

๒๐ พ.ค. ๒๔๙๓ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชทานปริญญาบัตรนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นครั้งแรก

๒๔๙๔

สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา ทรงเป็นอาจารย์สอนวิชาภาษาฝรั่งเศส ณ คณะอักษรศาสตร์ จนถึง พ.ศ. ๒๕๐๑

๒๔๙๕

เกิดกบฏสันติภาพ

๒๔๙๖

  • มรว.สดับ ลดาวัลย์ และพล.อ.ท.มุนี มหาสันทนะ เวชยันต์รังสฤษฏ์
    กับผู้ได้คะแนนเยี่ยมทางภาษาอังกฤษ

๒๔๙๗

จอมพล ป. พิบูลสงคราม สร้างตึกหอสมุดกลาง เปิดใช้เมื่อ ๓ ม.ค. ๒๔๙๗

ตั้งแผนกวิชาบรรณารักษศาสตร์

  • ศ.พระวรเวทย์พิสิธ หัวหน้าแผนกวิชาภาษาไทย
    กับนิสิตภายหลังรับพระราชทานปริญญาบัตรแล้ว

๒๔๙๘

  • มรว.สุมนชาติกับบัณฑิต หลังรับพระราชทานปริญญาบัตร

๒๔๙๙

เปลี่ยนชื่อคณะอักษรศาสตร์และครุศาสตร์เป็น คณะอักษรศาสตร์

๒๕๐๐

  • ท่านผู้หญิงสมโรจน์ สวัสดิกุล ณ อยุธยา และ นายสุภร ผลชีวิน นิสิตคณะอักษรศาสตร์ประพันธ์คำร้อง "มหาจุฬาลงกรณ์" เพื่อนิสิตได้ร้องถวายในเวลารับ - ส่งเสด็จ
  • แยกแผนกวิชาครุศาสตร์ออกจากคณะอักษรศาสตร์และครุศาสตร์ ยกฐานะขึ้นเป็น คณะครุศาสตร์

๒๕๐๑

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช แสดงดนตรีที่หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ต่อมาถือเป็น "วันทรงดนตรี"

ต.ค. ๒๕๐๑ จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ปฏิวัติยึดอำนาจการปกครอง

๒๕๐๒

ผลจากนโยบายสนับสนุนให้มีการจัดตั้ง "ชุมนุมของแผนกวิชา" ชุมนุมภาษาไทยได้จัดงาน "วันสุนทรภู่" และ "วันสมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระปรมานุชิตชิโนรส" เป็นครั้งแรก

๒๕๐๓

เริ่มโครงการอบรมมัคคุเทศก์เป็นครั้งแรกที่คณะอักษรศาสตร์ และจัดต่อมาเป็นเวลากว่า ๔๐ ปี

๒๕๐๔

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเริ่มทำแผนพัฒนามหาวิทยาลัย ระยะที่ ๑

  • รัฐบาลจัดทำแผนพัฒนาเศรษกิจและสังคมแห่งชาติ (ฉบับที่ ๑ พ.ศ.๒๕๐๔-๒๕๐๙)
  • ก่อตั้งคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ปรับปรุงแผนกวิชาเป็น ๖ แผนกวิชา คือ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาตะวันออก ภาษาตะวันตก ภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์ และ บรรณารักษศาสตร์

๒๕๐๕

๒๕ ม.ค. ๒๕๐๕ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ร.๙ นำต้นจามจุรี ๕ ต้น จากวังไกลกังวล มาทรงปลูก ณ บริเวณด้านหน้าหอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

๑๕ ก.พ. ๒๕๐๖ สมเด็จพระราชาธิบดีปอล แห่งเฮลลีนส์ (ประเทศกรีซ) เสด็จเยือนคณะอักษรศาสตร์ ทรงรับถวายปริญญาอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์

๒๕๐๖

Somerset Maugham นักประพันธ์ชาวอังกฤษเยือนคณะอักษรศาสตร์

  • ศ.ท่านผู้หญิง นพคุณ ทองใหญ่ ณ อยุธยา
    และ อาจินต์ ประยูรหงส์ หัวหน้านิสิตต้อนรับ

  • สนทนากับ พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าเปรมบุรฉัตร
    พระเวชยันตรังสฤษฎ์ ศ.รอง ศยามานนท์ และศ.ศุภชัย วานิชวัฒนา

๒๕๐๗

ก่อตั้งมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และตั้งคณะมนุษยศาสตร์

ริเริ่มโครงการสอนนักศึกษาต่างประเทศเป็นครั้งแรก คณะอักษรศาสตร์จัดการสอนวิชาเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมไทยและเอเชีย

๒๕๐๘

๒๕๐๙

๕๐ ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  • ก่อตั้งมหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • ประเทศไทยจัดแข่งขันกีฬาเอเชี่ยนเกมส์ ที่สนามศุภชลาศัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยสร้างอาคารต่างๆเ พื่อให้นักกีฬาต่างชาติเข้าพักผ่อน กับเริ่มโครงการพัฒนาที่ดินศูนย์การค้าสยามสแควร์ และตลาดสามย่าน

งดรับนิสิตอักษรศาสตร์ภายนอก เปลี่ยนเป็นรับนิสิตภาคสมทบ จนถึง พ.ศ. ๒๕๑๖ จึงเลิกรับ

  • อ.ฉ่ำ ทองคำวรรณกับนิสิต หน้าห้องวิชาภาษาไทย

๒๕๑๐

๒๕๑๑

  • ก่อตั้งคณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์
  • ก่อตั้งมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

๒๕๑๒

เริ่มตั้งแผนกวิชาปรัชญา

๒๕๑๓

  • เริ่มใช้ระบบการศึกษาแบบหน่วยกิต
  • เริ่มตั้งแผนกวิชาศิลปการละคร

๒๕๑๔

ก่อตั้งมหาวิทยาลัยรามคำแหง

  • ๒๙ ก.ค. ๒๕๐๕ จัดการประชุมวิชาการของชุมนุมภาษาไทย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จพระราชดำเนินมาร่วมการประชุม
    เป็นการส่วนพระองค์ และทรงร่วมอภิปราย "ปัญหาการใช้คำไทย"
  • เกษียณอายุราชการ ๔ ศาสตราจารย์ คือ ศ.มล. จิรายุ นพวงศ์ ศ. ท่านผู้หญิง นพคุณ ทองใหญ่ ศ. รอง ศยามานนท์ ศ. ม.ร.ว. แสงโสม เกษมศรี
  • สร้างตึกอักษรศาสตร์ ๔ เป็นอาคารเรียน ๓ ชั้น สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณีฯ ทรงวางศิลาฤกษ์ เมื่อ ๒๕ ม.ค.๒๕๑๖ และเปิดใช้ได้ในปีเดียวกัน
  • แยกแผนกวิชาภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์ ออกเป็น ๒ แผนก
  • พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จฯ ร่วมอภิปราย

  • สร้างตึกอักษรศาสตร์ 4

ศ.ท่านผู้หญิง นพคุณ ทองใหญ่

ศ.มล. จิรายุ นพวงศ์



ศ.รอง ศยามานนท์

ศ. ม.ร.ว. แสงโสม เกษมศรี

๒๕๑๕

  • สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าสิรินธรเทพรัตนสุดา ทรงผ่านการสอบคัดเลือกเข้าศึกษาคณะอักษรศาสตร์ นับเป็น "สมเด็จฯเจ้าฟ้าพระองค์แรก" ที่ทรงศึกษาในมหาวิทยาลัยประเทศไทย
  • นิสิตคณะอักษรศาสตร์จัดทำวารสาร "อักษรศาสตรพิจารณ์" (จนถึง พ.ศ.๒๕๑๙) เสนอบทความวิชาการที่แสดงความคิดก้าวหน้าในประเด็นต่างๆ เกี่ยวกับปัญหาในสังคม

๒๕๑๖

ต.ค. ๒๕๑๖ ประชาชน นิสิต นักศึกษา เดินขบวนเรียกร้องประชาธิปไตย นำไปสู่เหตุการณ์ ๑๔ ตุลา ๑๖

เปิดการสอนขั้นปริญญาอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย

๒๕๑๗

๒๕๑๘

สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าสิรินธรเทพรัตนสุดา ทรงสำเร็จการศึกษาอักษรศาสตรบัณฑิต เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง ทรงรับรางวัลเหรียญทอง รางวัลรันซิแมน และรางวัลสุภาส จันทรโบส สำหรับคะแนนยอดเยี่ยมในสาขาวิชาประวัติศาสตร์

๒๕๑๙

ล้อมปราบนักศึกษาประชาชน ในเหตุการณ์ ๖ ตุลา ๑๙ ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

เพิ่มแผนกวิชาภาษาศาสตร์

๒๕๒๐

๒๕๒๑

นิสิตขั้นปริญญาอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย สำเร็จการศึกษารุ่นแรก ๑ คน คือ นางสาวกรรณิการ์ ชินะโชติ

๒๕๒๒

  • สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงสำเร็จการศึกษาขั้นปริญญาโท สาขาวิชาภาษาบาลี-สันสกฤต
  • ย้ายหอสมุดกลางไปอาคารมหาธีรราชานุสรณ์ หอสมุดกลางเดิมมอบให้คณะอักษรศาสตร์ เรียกว่า ตึกอักษรศาสตร์ ๒

๒๕๒๓

๒๕๒๔

ก่อตั้งมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

๒๕๒๕

สมโภช ๒๐๐ ปี กรุงรัตนโกสินทร์

๒๕๒๖

  • 2527 หอประชุมจุฬา

๒๕๒๗

๒๕๒๘

๒๕๒๙

๒๕๓๐

  • ปรับปรุงตลาดสามย่าน เริ่มโครงการ "ซียูไฮเทคสแควร์"
  • ๒ มี.ค. ๒๕๓๐ เริ่มก่อสร้างพระบรมราชานุสาวรีย์ ๒ รัชกาล

๒๕๓๑

๒๕๓๒

๔ พ.ย. ๒๕๓๒ พายุไต้ฝุ่นเกย์ พัดถล่มจังหวัดชุมพร

  • เปิดศูนย์คอมพิวเตอร์ คณะอักษรศาสตร์

๒๕๓๔

๗๕ ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

๒๕๓๕

๒๕๓๖

  • วาคลาฟ ฮาเวล ประธานาธิบดีคนแรกแห่งสาธารณรัฐเชค เยือนจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และรับปริญญาอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์
  • คณะอักษรศาสตร์ ย้ายภาควิชาและการเรียนการสอนมาที่อาคารบรมราชกุมารี
  • สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
    เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดอาคารบรมราชกุมารี
    เมื่อวันที่ ๒๖ มีนาคม ๒๕๓๗

  • ศูนย์คอมพิวเตอร์ อาคารบรมราชกุมารี

๒๕๓๗

๒๖ มี.ค. ๒๕๓๗ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ ทรงเปิดอาคารบรมราชกุมารี อาคารเรียนรวม

ก่อตั้ง กองทุนบรมราชกุมารี

๒๕๓๘

๒๕๓๙

๑๑ ก.ค. ๒๕๓๙ จุฬาฯ ถวายพระพุทธปฎิมากรแก้วผลึก เนื่องในวโรกาสทรงครองสิริราชสมบัติปีที่ ๕๐ และครบรอบ ๔๐ ปีที่เสด็จพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

๒๕๔๐

เกิดวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ "ต้มยำกุ้ง" ในประเทศไทย

  • จัดตั้งศูนย์สารนิเทศมนุษยศาสตร์

๒๕๔๒

๒๕๔๗

๒๖ ธ.ค. ๒๕๔๗ เกิดเหตุการณ์ธรณีพิบัติจากคลื่นยักษ์ทสึนามิ ที่ภาคใต้ ฝั่งทะเลอันดามัน

จัดตั้งศูนย์บริการวิชาการ

๒๕๔๙

  • ๒๐ ก.พ. ๒๕๕๐ จดทะเบียนจัดตั้งมูลนิธิมหาจักรีสิรินธรเพื่อคณะอักษรศาสตร์
  • จัดตั้งสถาบันขงจื่อแหงจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

๒๕๕๐

๒๕๕๑

ประกาศใช้ พรบ.จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ.๒๕๕๑ จุฬาฯ เปลี่ยนสถานภาพเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ

๒๖ มี.ค. ๒๕๕๐ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินทรงเป็นประธานในพิธีเปิดอาคารมหาจักรีสิรินธร

๒๕๕๓

  • ศูนย์สารนิเทศมนุษยศาสตร์ ขยายพื้นที่ไปที่ชั้น ๒ อาคารมหาจักรีสิรินธร ใช้ชื่อว่า "สรรพศาสตร์สโมสร"

๒๕๕๔

จัดงาน ๑๐๐ ปี ๔ ศาสตราจารย์

  • ศ. มล. จิรายุ นพวงศ์
  • ศ. ท่านผู้หญิง นพคุณ ทองใหญ่
  • ศ. รอง ศยามานนท์
  • ศ. ม.ร.ว. แสงโสม เกษมศรี

๒๕๕๕