CREATIVE CONTENT: งานสื่อสารวรรณกรรมศึกษา

งานสื่อสารวรรณกรรมศึกษา เป็นโปรเจ็กต์ในรายวิชา “นวนิยายและเรื่องสั้น” ที่ชวนให้นักเรียนวรรณกรรมศึกษา นำวรรณกรรมไทยมาวิเคราะห์วิจารณ์โดยนำเสนอเป็นผลงานสร้างสรรค์ในรูปแบบ “งานเขียน” และ “พอดแคสต์” (Podcast) เพื่อส่งเสริมการอ่าน การคิดวิเคราะห์ และการวิจารณ์ ตลอดจนเพื่อร่วมเผยแพร่วรรณกรรมไทยสู่สาธารณะ  

ผลงานในโปรเจ็กต์นี้ประกอบด้วยงานเขียน 1 เรื่อง และ พอดแคสต์ จำนวน 3 เรื่อง ดังนี้

? งานเขียนเชิงสร้างสรรค์เรื่อง “สีที่แปดของเด็กชายและศรีนวล”: บทสัมภาษณ์ตัวละครจากเรื่องสั้นแนวครอบครัว
– สร้างสรรค์ผลงานโดย พุทธิชาต มาแดง และ ปาณิสรา โพธิ์ศรีนาค นิสิตชั้นปีที่ 3 ภาควิชาภาษาไทย
– ทำภาพประกอบโดย ธมลวรรณ จิ้มลิ้มเลิศ นิสิตชั้นปีที่ 4 ภาควิชาภาษาไทย





? PODCAST เรื่อง “ส่องปีศาจ ‘ดอย’: บทวิเคราะห์เรื่องสั้นรางวัลนายอินทร์อะวอร์ดเรื่อง ‘ดอยรวก’ ของ นทธี ศศิวิมล”
– สร้างสรรค์ผลงานโดย สมรทอง พูลภักดี, ชนินท์ บุญเหลือง, ณัฎฐณิชา เจริญพร  และพุทธิชาต มาแดง นิสิตชั้นปีที่ 3 ภาควิชาภาษาไทย





? PODCAST เรื่อง “และไอ้ที่ไหลนองหน้าอยู่นี่ น้ำฝนหรอก…ใครว่าน้ำตา: บทวิเคราะห์เรื่องสั้นรางวัลซีไรต์เรื่อง ‘คล้ายว่าเริ่มจากฝน’ ของจเด็จ กำจรเดช”
– สร้างสรรค์ผลงานโดย บุณยวีร์ คุ้มกลาง, ปาณิสรา โพธิ์ศรีนาค, ปิยธิดา ชูช่วย, วรินทร สายอาริน และศราวุธ วังหลวง นิสิตชั้นปีที่ 3 ภาควิชาภาษาไทย





? PODCAST เรื่อง “22 นาฬิกา ถึง-ช้า-ตาย (เลยเหรอ?): บทวิเคราะห์นวนิยายสะท้อนสถานการณ์โควิด-19 ของภาคินัย”
– สร้างสรรค์ผลงานโดย ซอแก้ว ลิมปิชาติ, ธมลวรรณ จิ้มลิ้มเลิศ, อัลวานี นาดามัน, ภัทราพร ชัยบุตร นิสิตชั้นปีที่ 4 ภาควิชาภาษาไทย




กองบรรณาธิการเนื้อหาออนไลน์: จณิศา ชาญวุฒิ, ธนวรรณ เกตุแก้ว, ชุติมน ชาวดง, ณิชาภัทร จันทสิงห์
บรรณาธิการ: หัตถกาญจน์ อารีศิลป

ผลงานสร้างสรรค์จากรายวิชา “นวนิยายและเรื่องสั้น” ปีการศึกษา 2564 
เผยแพร่เพื่อประโยชน์ทางวิชาการเท่านั้น  ไม่อนุญาตให้ทำซ้ำหรือดัดแปลง

Facebook
Twitter