ตัวอย่างหัวข้อวิจัยของคณาจารย์สายคติชนวิทยา (หลักสูตรบัณฑิตศึกษา)

หลักสูตรอักษรศาสตรมหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญด้านคติชนซึ่งมีผลงานวิจัยจากหลากหลายแนวทาง ทั้งการศึกษานิทานและเรื่องเล่าร่วมสมัย ตำนานและพิธีกรรม คติชนสมัยใหม่ คติชนสร้างสรรค์ และคติชนประยุกต์ ตัวอย่างงานวิจัยเช่น

การศึกษานิทานและเรื่องเล่าร่วมสมัย

  • โครงสร้างชาดกพื้นบ้านของไทยเขิน
  • ความขัดแย้งและการประนีประนอมในตำนานปรัมปราไทย
  • การผสมผสานวัฒนธรรมในหนังสือนิทานแนว edutainment (สาระบันเทิง) ภาษาไทยใน เรื่องเล่าพื้นบ้านไทยในโลกที่เปลี่ยนแปลง
  • Cultural Hybridity and Dynamics in Hanuman Chansamon
  • The Roles of the Buddha in Thai Myths: Reflections on the Attempt to Integrate Buddhism into Thai Local Beliefs
  • The Divine Ancestress in a Matrilineal Society: The Imprints of Khasi Matriliny on the Legend of Ka Pahsyntiew


ตำนานและพิธีกรรม

  • พระบฏ: พลวัตของการใช้งานพุทธศิลป์เรื่องเวสสันดรในชุมชนหนองขาว จังหวัดกาญจนบุรี
  • มาลัยศรัทธา: พลวัตของการสวดพระมาลัยจากต่างสนามวิจัย.
  • นิทานของสุนทรภู่กับคีตกรรมหลังความตาย: การสร้างสรรค์ “บทสวดลำ” ในพื้นที่ของพิธีกรรม”
  • “อาหาร: มิติที่สัมพันธ์กับประเพณีสวดพระมาลัย”


คติชนสมัยใหม่ คติชนสร้างสรรค์ และคติชนประยุกต์ 

  • คติชนกับการท่องเที่ยว: หมู่บ้านวัฒนธรรมหนองขาว จังหวัดกาญจนบุรี
  • ปริศนาคำทาย: ภูมิปัญญาทางภาษาและการผสมผสานทางวัฒนธรรมในยุคโลกาภิวัตน์
  • สรรนิทานพื้นบ้านสู่นวัตกรรมทางดนตรีและการแสดง: การศึกษาทางคติชนเพื่อสืบ สร้าง สายสัมพันธ์ไทย-คาสี
  • นิทานฝึกการออกเสียงภาษาไทย ชุด เณรน้อยเก่งภาษา
  • The Phenomenology of Supernatural Belief: The Ravenous Spirit (phii pob) Belief Tradition in Contemporary Northeast Thailand
  • Against the Hostile Nature: The Roles of Magic and Science in Thailand’s Cave Rescue


ผู้สนใจสามารถติดตาม “ผลงานวิชาการและผลงานวิจัย” ของคณาจารย์ และ “ผลงานวิทยานิพนธ์ของนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา” เพิ่มเติมได้ในเว็บไซต์ “คลังความรู้” ของภาควิชาภาษาไทย https://www.arts.chula.ac.th/thai/thaiarchives/

ภาควิชาภาษาไทย อักษรฯ จุฬาฯ เปิดรับสมัครผู้สนใจเข้าศึกษาต่อในหลักสูตรอักษรศาสตรมหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรต่อเนื่อง) ทั้งในสายภาษาไทย วรรณคดีไทย และคติชนวิทยา ปีการศึกษา 2566 ดูรายละเอียดได้ที่นี่

รับสมัคร 1 กุมภาพันธ์ 2566 – 31 มีนาคม 2566 ทางเว็บไซต์บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
https://www.grad.chula.ac.th
ดูรายละเอียดหลักสูตรได้ที่เว็บไซต์ภาควิชาภาษาไทย หัวข้อ “หลักสูตรบัณฑิตศึกษา”
https://www.arts.chula.ac.th/thai/

Facebook
Twitter