ปกิณกะความรู้ภาษาไทย โดย ผศ.ดุษฎีพร ชำนิโรคศานต์ เนื่องในวันภาษาไทยแห่งชาติ 29 กรกฎาคม 2565

บทความเรื่อง “สังเกตภาษา”
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดุษฎีพร ชำนิโรคศานต์   
พิมพ์ครั้งแรกในวารสารภาษาและวรรณคดีไทย ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 เมื่อพ.ศ. 2527


บทคัดย่อ
ในการพูดหรือเขียน บางครั้งจะมีถ้อยคำซึ่งฟังแปลก สะดุดหู หรือรู้สึกว่าไม่ถูกต้อง ที่เป็นเช่นนั้นอาจเป็นเพราะการใช้ส่วนขยายที่สื่อความซ้ำซ้อน การสร้างคำและสำนวนผิดแปลกไปจากที่เคยใช้กันมา การใช้ถ้อยคำที่ไม่สื่อความหมายหรือสื่อความที่เป็นไปไม่ได้ การใช้ถ้อยคำที่คิดว่าจะทำให้ข้อความสุภาพยิ่งขึ้น หรือการใช้ถ้อยคำสำนวนที่ไม่ใช่สำนวนภาษาไทยที่ใช้มาแต่เดิม

Facebook
Twitter