หลักสูตรอักษรศาสตรบัณฑิต (ปริญญาตรี) หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2552

หลักสูตรอักษรศาสตรบัณฑิต เป็นหลักสูตรสำหรับนิสิตที่เข้าศึกษาตั้งแต่ปีการศึกษา 2552 ประกอบด้วยหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร จำนวน 149-150 หน่วยกิต หลักสูตรนี้ มีโครงสร้างและรายวิชาเช่นเดียวกับหลักสูตรอักษรศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2551 แต่ได้มีการปรับปรุงรายวิชาใน 6 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาภาษาอังกฤษ สาขาวิชาภาษาจีน สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น สาขาวิชาภาษาฝรั่งเศส สาขาวิชาภาษาเยอรมัน และสาขาวิชาภาษาอิตาเลียน สาขาวิชาอื่นๆ จึงให้ใช้ข้อมูลจากหลักสูตร '51

หลักสูตรอักษรศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2552 ประกอบด้วย

หลักสูตร อ.บ.
1. หมวดวิชาการศึกษาทั่วไป
30 หน่วยกิต
    วิชาการศึกษาทั่วไปนอกคณะ
12 หน่วยกิต
    วิชาการศึกษาทั่วไปหมวดภาษาต่างประเทศ(นอกหรือในคณะ)
12 หน่วยกิต
    วิชาการศึกษาทั่วไปในคณะ
6 หน่วยกิต
2. หมวดวิชาเฉพาะ
113-114 หน่วยกิต
    วิชาพื้นฐานอักษรศาสตร์
    วิชาเฉพาะสาขา เลือกรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง
         • แบบเอกเดี่ยว=สาขาวิชาเดียว 71-72 หน่วยกิตเต็ม
         • แบบเอก-โท =เลือกสาขาวิชาเอก และสาขาวิชาโท โดยเป็น
            วิชาเอก 51 หน่วยกิต วิชาโท ไม่น้อยกว่า  20 หน่วยกิต
42 หน่วยกิต
71-72 หน่วยกิต
3. หมวดวิชาเลือกเสรี (ในหรือนอกคณะ)
6 หน่วยกิต

โครงสร้างหลักสูตรอักษรศาสตรบัณฑิต มีรายละเอียดดังนี้

1. หมวดวิชาการศึกษาทั่วไป
30 หน่วยกิต
     • วิชาการศึกษาทั่วไปนอกคณะ

ให้เลือกจากรายวิชาที่สำนักงานจัดการศึกษาทั่วไปประกาศที่ http://www.gened.chula.ac.th โดยเลือกรายวิชาใน 4 กลุ่มดังต่อไปนี้ ทั้งนี้ ต้องเป็นรายวิชานอกคณะเท่านั้น
( ก ) กลุ่มสังคมศาสตร์                          3 หน่วยกิต
( ข ) กลุ่มมนุษยศาสตร์                          3 หน่วยกิต
( ค ) กลุ่มวิทยาศาสตร์กับคณิตศาสตร์    3 หน่วยกิต
( ง ) กลุ่มสหศาสตร์                              3 หน่วยกิต

12 หน่วยกิต
   •  วิชาการศึกษาทั่วไปหมวดภาษาต่างประเทศ(นอกหรือในคณะ)

ให้เลือกจากรายวิชาภาษาอังกฤษนอกคณะอักษรศาสตร์ และ / หรือให้เลือกจากรายวิชาของภาควิชาภาษาอังกฤษ คณะอักษรศาสตร์ และ/หรือ รายวิชาภาษาต่างประเทศอื่นที่ไม่ใช่ภาษาอังกฤษ ในคณะอักษรศาสตร์ในกรณีที่นิสิตได้ลงทะเบียนเรียนรายวิชาภาษาอังกฤษครบ 12 หน่วยกิตแล้ว

12 หน่วยกิต

   •  วิชาการศึกษาทั่วไปในคณะ ให้เรียนรายวิชาของคณะอักษรศาสตร์ ดังนี้

2201111

การใช้ภาษาไทย (The Use of the Thai Language)

3 หน่วยกิต

2207143

การใช้เหตุผล (Reasoning)
3 หน่วยกิต

 

6 หน่วยกิต
2. หมวดวิชาเฉพาะ
113-114 หน่วยกิต

   • วิชาพื้นฐานอักษรศาสตร์     เรียนรายวิชาดังต่อไปนี้

2200220

อารยธรรมไทย (Thai Civilization)

3 หน่วยกิต

2200299

แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (Basic Concepts of Computing)
1 หน่วยกิต

2201152

วรรณคดีไทย (Thai Literature)

3 หน่วยกิต

2201327

การเขียนภาษาไทยเพื่อวิชาชีพ (Thai Professional Writing)

3 หน่วยกิต

2202111

ภาษาอังกฤษ 1 (English I )

3 หน่วยกิต

2202112

ภาษาอังกฤษ 2 (English II )

3 หน่วยกิต

2202124

แปลอังกฤษขั้นต้น( Introduction to Translation)

3 หน่วยกิต

2204181

อารยธรรมตะวันออก (Eastern Civilization)

3 หน่วยกิต

2204182

อารยธรรมตะวันตก (Western Civilization)

3 หน่วยกิต

2205200

มนุษย์กับภูมิศาสตร์ (Man and Geography)

3 หน่วยกิต

2206102

การค้นคว้าและการเขียนรายงาน (Research and Report Writing)

2 หน่วยกิต

2207102

ปรัชญาทั่วไป (General Philosophy)
หรือ

3 หน่วยกิต

2207161

มนุษย์กับศาสนา (Man and Religion)

3 หน่วยกิต

2208101

ปริทัศน์ศิลปการละคร (Introduction to Dramatic Arts)

3 หน่วยกิต

2209161

ภาษาทัศนา (Introduction to Language)

3 หน่วยกิต

2210260

วรรณคดีทัศนา (Introduction to Literature)

3 หน่วยกิต

 

42 หน่วยกิต
   • วิชาเฉพาะสาขา เลือกรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง
         • แบบเอกเดี่ยว=สาขาวิชาเดียว 71-72 หน่วยกิตเต็ม สาขาวิชาที่เปิดสอนแบบเอกเดี่ยว มีดังนี้
1.  ภาษาไทย
2 . ประวัติศาสตร์
3.  ภูมิศาสตร์
4.  ศิลปการละคร
5.  ปรัชญา
6.  ภาษาบาลีและสันสกฤต
7.  ภาษาจีน *
8. ภาษาญี่ปุ่น *
9. ภาษาสเปน
10. ภาษาอิตาเลียน *

 

         • แบบเอก-โท =เลือกสาขาวิชาเอก และสาขาวิชาโท โดยเป็น
                  วิชาเอก 51 หน่วยกิต เลือกวิชาเอกจากสาขาวิชาต่อไปนี้
1.  ภาษาไทย
2.  ภาษาอังกฤษ *
3.  ประวัติศาสตร์
4.  สารนิเทศศึกษา
5.  ปรัชญา
6. ภาษาฝรั่งเศส *
7. ภาษาเยอรมัน *
8. ภาษาอิตาเลียน *

 

                  วิชาโท ไม่น้อยกว่า  20 หน่วยกิต เลือกวิชาโทจากสาขาวิชาต่อไปนี้
1.  ภาษาไทย
2.  ภาษาอังกฤษ *
3.  ประวัติศาสตร
4.  ภูมิศาสตร์
5.  สารนิเทศศึกษา
6.  ปรัชญา
7.  ศิลปการละคร
8. ภาษาศาสตร
9. วรรณคดีเปรียบเทียบ
10. ภาษาบาลีและสันสกฤต
11. ภาษาจีน *
12. ภาษาญี่ปุ่น*
13. ภาษาฝรั่งเศส *

14. ภาษาเยอรมัน *
15. ภาษาสเปน
16. ภาษาอิตาเลียน *
17. ไทยศึกษา
18. ยุโรปศึกษา
19. อเมริกาศึกษา
20. ภาษารัสเซีย
21. ภาษาเกาหลี
22. ภาษาเขมร
23. ภาษาเวียดนาม
24. ภาษาโปรตุเกส
25. บรรณาธิการศึกษา
71-72 หน่วยกิต
3. หมวดวิชาเลือกเสรี (ในหรือนอกคณะ)
6 หน่วยกิต
เลือกรายวิชาใดๆที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัย ทั้งนี้ สาขาวิชาภาษาัดังต่อไปนี้ เปิดสอนให้เลือกเรียนเป็นวิชาเลือกเสรี
1. ภาษามาเลย์
2. ภาษาเกาหลี
3. ภาษาเวียดนาม
4. ภาษาพม่า
 5. ภาษาโปรตุเกส
 

 

สำหรับนิสิตที่ต้องการเรียนหลักสูตรอักษรศาสตรบัณฑิต แบบโปรแกรมเกียรตินิยม สามารเลือกเรียนรายวิชาต่อไปนี้เป็นสาขาวิชาเอก และสาขาวิชาโทได้

สาขาวิชาเอก: ภาษาไทย, ประวัติศาสตร์, ศิลปการละคร, ภาษาอังกฤษ*, ภาษาจีน*, ภาษาญี่ปุ่น*, ภาษาฝรั่งเศส*, ภาษาเยอรมัน*, ภาษาอิตาเลียน*
สาขาวิชาโท: ศิลปการละคร, ภาษาศาสตร์, วรรณคดีเปรียบเทียบ

* สาขาวิชาที่มีการปรับปรุงในหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2552