รายละเอียดหลักสูตรอักษรศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566)
1. โครงสร้างหลักสูตร
ภาควิชาภาษาไทยเปิดสอนวิชาเฉพาะสาขาวิชาภาษาไทย แบบวิชาเอกเดี่ยว และวิชาเอก-โท สำหรับนิสิตที่เลือกเรียนเป็นวิชาเอก และเปิดสอนเป็นวิชาโท สำหรับนิสิตที่เรียนวิชาเอกสาขาอื่นทั้งในคณะและนอกคณะที่เลือกเรียนเป็นวิชาโท ดังนี้
(1) กลุ่มวิชาพื้นฐาน 18 หน่วยกิต
วิชาบังคับ 18 หน่วยกิต
(2) กลุ่มวิชาข้อกำหนดเฉพาะ 12 หน่วยกิต
วิชาเลือก 12 หน่วยกิต
(3) กลุ่มวิชาเชี่ยวชา 18 หน่วยกิต
วิชาบังคับ 18 หน่วยกิต
(4) กลุ่มวิชาสำรวจ 18 หน่วยกิต
วิชาบังคับ 15 หน่วยกิต
วิชาเลือก 3 หน่วยกิต
1) วิชาเอก (48 หน่วยกิต)
(1) กลุ่มวิชาพื้นฐาน 18 หน่วยกิต
วิชาบังคับ 18 หน่วยกิต
(2) กลุ่มวิชาข้อกำหนดเฉพาะ 12 หน่วยกิต
วิชาเลือก 12 หน่วยกิต
(3) กลุ่มวิชาเชี่ยวชาญ 18 หน่วยกิต
วิชาบังคับ 18 หน่วยกิต
2) วิชาโท (18 หน่วยกิต)
นิสิตเอกสาขาวิชาภาษาไทยที่เลือกเรียนแบบวิชาเอก – โท ต้องเลือกเรียนวิชาโทสาขาอื่นจากในคณะหรือนอกคณะ
3) วิชาโท สำหรับนิสิตวิชาเอกสาขาอื่นทั้งในคณะและนอกคณะ (18 หน่วยกิต)
วิชาบังคับเลือก 3 หน่วยกิต
วิชาเลือก 15 หน่วยกิต
(1) กลุ่มวิชาพื้นฐาน 18 หน่วยกิต
วิชาบังคับ 18 หน่วยกิต
(2) กลุ่มวิชาข้อกำหนดเฉพาะ 12 หน่วยกิต
วิชาเลือก 12 หน่วยกิต
(3) กลุ่มวิชาเชี่ยวชาญ 18 หน่วยกิต
วิชาบังคับ 18 หน่วยกิต
(4) กลุ่มวิชาสำรวจ 18 หน่วยกิต
วิชาบังคับ 15 หน่วยกิต
วิชาเลือก 3 หน่วยกิต
1) วิชาเอก (48 หน่วยกิต)
(1) กลุ่มวิชาพื้นฐาน 18 หน่วยกิต
วิชาบังคับ 18 หน่วยกิต
(2) กลุ่มวิชาข้อกำหนดเฉพาะ 12 หน่วยกิต
วิชาเลือก 12 หน่วยกิต
(3) กลุ่มวิชาเชี่ยวชาญ 18 หน่วยกิต
วิชาบังคับ 18 หน่วยกิต
2) วิชาโท (18 หน่วยกิต)
นิสิตเอกสาขาวิชาภาษาไทยที่เลือกเรียนแบบวิชาเอก – โท ต้องเลือกเรียนวิชาโทสาขาอื่นจากในคณะหรือนอกคณะ
3) วิชาโท สำหรับนิสิตวิชาเอกสาขาอื่นทั้งในคณะและนอกคณะ (18 หน่วยกิต)
วิชาบังคับเลือก 3 หน่วยกิต
วิชาเลือก 15 หน่วยกิต
1.2 โปรแกรมเกียรตินิยม
ผู้ที่เข้าศึกษาในโปรแกรมเกียรตินิยมจะต้องผ่านการเรียนในชั้นปีที่ 1 ด้วยแต้มเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 3.75 และเรียนรายวิชาในหลักสูตรมาแล้วไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต กรณีได้แต้มเฉลี่ยสะสมต่ำกว่า 3.75 แต่สูงกว่า เกณฑ์ของมหาวิทยาลัย คือ 3.50 ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารคณะอักษรศาสตร์
นิสิตโปรแกรมเกียรตินิยมต้องสอบได้แต้มเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 3.60 หากไม่สามารถสอบได้แต้ม เฉลี่ยสะสม 3.60 ติดต่อกัน 2 ภาคการศึกษา ต้องย้ายไปเรียนโปรแกรมปกติ โดยสามารถนับหน่วยกิต รายวิชาเอกัตศึกษาในโปรแกรมเกียรตินิยมเป็นหน่วยกิตของโปรแกรมปกติได้
แบบวิชาเอกเดี่ยว
(1) กลุ่มวิชาพื้นฐาน
(เรียนเหมือนกับรายวิชาในแบบวิชาเอกเดี่ยว)
(2) กลุ่มวิชาข้อกำหนดเฉพาะ
(เรียนเหมือนกับรายวิชาในแบบวิชาเอกเดี่ยว)
(3) กลุ่มวิชาเชี่ยวชาญ
(เรียนเหมือนกับรายวิชาในแบบวิชาเอกเดี่ยว)
(4) กลุ่มวิชาสำรวจ
(68 หน่วยกิต)
18 หน่วยกิต
12 หน่วยกิต
18 หน่วยกิต
20 หน่วยกิต
แบบวิชาเอกเดี่ยว (68 หน่วยกิต)
(1) กลุ่มวิชาพื้นฐาน 18 หน่วยกิต
(เรียนเหมือนกับรายวิชาในแบบวิชาเอกเดี่ยว)
(2) กลุ่มวิชาข้อกำหนดเฉพาะ 12 หน่วยกิต
(เรียนเหมือนกับรายวิชาในแบบวิชาเอกเดี่ยว)
(3) กลุ่มวิชาเชี่ยวชาญ 18 หน่วยกิต
(เรียนเหมือนกับรายวิชาในแบบวิชาเอกเดี่ยว)
(4) กลุ่มวิชาสำรวจ 20 หน่วยกิต
2. รายวิชา
ภาควิชาภาษาไทยเปิดสอนวิชาเฉพาะสาขาวิชาภาษาไทย แบบวิชาเอกเดี่ยว และวิชาเอก-โท สำหรับนิสิตที่เลือกเรียนเป็นวิชาเอก และเปิดสอนเป็นวิชาโท สำหรับนิสิตที่เรียนวิชาเอกสาขาอื่นทั้งในคณะและนอกคณะที่เลือกเรียนเป็นวิชาโท ดังนี้
2.1 โปรแกรมปกติ
2.1.1 แบบวิชาเอกเดี่ยว (66 หน่วยกิต)
วิชาบังคับ 18 หน่วยกิต
2201201 ลักษณะภาษาไทย 3 (3-0-6)
Characteristics of Thai Language
2201251 วิวัฒนาการวรรณคดีไทย 3 (3-0-6)
Survey of Thai Literature
2201252 วิวัฒนาการวรรณกรรมไทย 3 (3-0-6)
Survey of Thai Literary Works
2201325 ภาษาบาลีและสันสกฤตที่สัมพันธ์กับภาษาไทย 3 (3-0-6)
Pali and Sanskrit in Relation to Thai
2201326 ภาษาเขมรที่สัมพันธ์กับภาษาไทย 3 (3-0-6)
Cambodian in Relation to Thai
2201394 คติชนวิทยา 3 (3-0-6)
Folklore
วิชาเลือก 12 หน่วยกิต
ให้นิสิตเลือกเรียนจากรายวิชาต่อไปนี้
2201324 การสร้างคำและการบัญญัติศัพท์ 3 (3-0-6)
Word Formation and Word Coining
2201352 วิวัฒนาการร้อยกรอง 3 (3-0-6)
Survey of Thai Poetry
2201353 วรรณกรรมวิจารณ์ 3 (3-0-6)
Literary Criticism
2201401 การวิเคราะห์ภาษาไทย 3 (3-0-6)
Analysis of the Thai Language
2201414 ศิลปะการใช้ภาษาไทย 3 (3-0-6)
The Art of Thai Usage
2201431 ภาษาไทยถิ่น 3 (3-0-6)
Thai Dialects
2201435 ภาษาไทยสมัยต่าง ๆ 3 (3-0-6)
Thai Language in Different Periods
2244101 ภาษาเขมร 1 3 (3-0-6)
Cambodian I
2245101 ภาษาลาว 1 3 (3-0-6)
Lao I
วิชาเลือก 18 หน่วยกิต
ให้นิสิตเลือกเรียนจากรายวิชาต่อไปนี้
สาขาวิชาภาษาไทย
2201214 ภาษาสื่อสารมวลชน 3 (3-0-6)
Language for the Mass Media
2201215 การเล่นทางภาษาในภาษา 3 (3-0-6)
Speech Play in Thai
2201230 วิวัฒนาการอักษรและอักขรวิธีไทย 3 (3-0-6)
Evolution of Thai Scripts and Orthography
2201253 วรรณคดีไทยกับสื่อร่วมสมัย 3 (3-0-6)
Thai Literature and Contemporary Media
2201260 ลิลิต นิราศ และเพลงยาว 3 (3-0-6)
Lilit, Nirat and Phleng Yau
2201264 วรรณคดีนิทาน 3 (3-0-6)
Literary Tales
2201266 วรรณคดีคำสอน 3 (3-0-6)
Didactic Literature
2201274 พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย 3 (3-0-6)
King Rama II
2201275 งานสุนทรภู่ 3 (3-0-6)
Sunthon Phu
2201303 การศึกษางานวิจัยภาษาไทยเชิงภาษาศาสตร์ 3 (3-0-6)
Study of Linguistic Research Works on Thai
2201304 ภาษาไทยในมุมมองแบบลักษณ์ภาษา 3 (3-0-6)
Typological Perspectives on Thai
2201314 ลีลาในภาษาไทย 3 (3-0-6)
Styles in Thai
2201315 การศึกษาภาษาไทยในฐานะภาษาที่สอง 3 (3-0-6)
Study of Thai as a Second Language
2201316 ภาษาไทยกับการสื่อสารองค์กร 3 (3-0-6)
Thai for Communication in Enterprises
2201323 นามวิทยาภาษาไทย 3 (3-0-6)
Thai Onomastics
2201335 แบบเรียนภาษาและวรรณคดีไทย 3 (3-0-6)
Textbooks on Thai Language and Literature
2201336 อักษรไทยเหนือและไทยอีสาน 3 (3-0-6)
Northern and North-Eastern Thai Scripts
2201337 ภาษาในบริบทสังคมและวัฒนธรรมไทย 3 (3-0-6)
Thai Language in Thai Socio-cultural Context
2201355 ศิลปะการอ่านและแต่งคำประพันธ์ไทย 3 (3-0-6)
Art of Reading and Composing Thai Versification
2201362 วรรณคดีพระราชหัตถเลขา 3 (3-0-6)
Royal Letters
2201364 วรรณคดีกับการแสดง 3 (3-0-6)
Literature and the Performing Arts
2201370 พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช 3 (3-0-6)
King Rama IX
2201372 พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว 3 (3-0-6) King Rama V
2201373 งานเสฐียรโกเศศและนาคะประทีป 3 (3-0-6)
Sathiankoset and Nakhaprathip
2201374 พระนิพนธ์พระราชวรวงศ์เธอกรมหมื่นพิทยาลงกรณ 3 (3-0-6)
Prince Ratchani
2201385 การศึกษาวัฒนธรรมวรรณศิลป์ไทย 3 (3-0-6)
Studies of Thai Literary Culture
2201386 อารมณ์ในวรรณกรรมไทย 3 (3-0-6)
Emotions in Thai Literary Works
2201393 วรรณกรรมกับสังคม 3 (3-0-6)
Literary Works and Society
2201396 นิทานพื้นบ้าน 3 (3-0-6)
Folktale
2201422 การวิเคราะห์วรรณคดีไทยตามแนววัจนลีลาศาสตร์ 3 (3-0-6)
Stylistic Analysis of Thai Literature
2201425 ศัพทมูลวิทยาภาษาไทย 3 (3-0-6)
Thai Etymology
2201432 ศิลปะการเขียนร้อยแก้ว 3 (3-0-6)
Thai Prose Writing
2201433 ศิลปะการเล่าเรื่อง 3 (3-0-6)
Art of Storytelling
2201464 วรรณคดีท้องถิ่น 3 (3-0-6)
Local Literature
2201472 พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว 3 (3-0-6)
King Rama VI
2201473 พระนิพนธ์สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระปรมานุชิตชิโนรส 3 (3-0-6)
Prince Paramanuchit
2201482 นวนิยายและเรื่องสั้น 3 (3-0-6)
Novels and Short Stories
2201485 แนวทางการศึกษาวรรณคดีและวรรณกรรมไทย 3 (3-0-6)
Approaches to Thai Literary Works
2201489 วรรณคดีไทยที่สัมพันธ์กับวรรณคดีบาลีและสันสกฤต 3 (3-0-6)
Thai Literature in Relation to Pali and Sanskrit Literature
2201494 คติชนสร้างสรรค์ 3 (3-0-6)
Creative Folklore
สาขาวิชาภาษาเขมร
2244101 ภาษาเขมร 1 3 (3-0-6)
Cambodian I
2244102 ภาษาเขมร 2 3 (3-0-6)
Cambodian II
2244151 ปริทัศน์วัฒนธรรมเขมร 3 (3-0-6)
Introduction to Cambodian Culture
2244211 สนทนาภาษาเขมร 3 (3-0-6)
Cambodian Conversation
2244221 การอ่านภาษาเขมร 3 (3-0-6)
Cambodian Reading
2244291 จารึกภาษาเขมร 3 (3-0-6)
Khmer Epigraphy
2244341 การแปลเขมร-ไทย 3 (3-0-6)
Translation: Cambodian-Thai
2244361 ประวัติวรรณคดีเขมร 3 (3-0-6)
History of Cambodian Literature
2244411 ไวยากรณ์เขมร 3 (3-0-6)
Cambodian Grammar
2244461 นวนิยายเขมรสมัยใหม่ 3 (3-0-6)
Modern Cambodian Novel
สาขาวิชาภาษาลาว
2245101 ภาษาลาว 1 3 (3-0-6)
Lao I
2245102 ภาษาลาว 2 3 (3-0-6)
Lao II
2245151 ปริทัศน์วัฒนธรรมลาว 3 (3-0-6)
Introduction to Lao culture
2245351 ปริทัศน์วรรณคดีลาว 3 (3-0-6)
Survey of Lao literature
หมายเหตุ นิสิตสามารถเลือกรายวิชาในกลุ่มวิชาข้อกำหนดเฉพาะเป็นรายวิชาในกลุ่มวิชาเชี่ยวชาญได้
วิชาบังคับ 15 หน่วยกิต
2201495 ภาษา วรรณคดี และคติชนไทยเพื่อพัฒนาแนวคิดเชิงนวัตกรรม 3 (3-0-6)
Thai Language, Literature and Folklore for Innovative Thinking
2201496 โครงร่างวิจัยด้านภาษาไทย วรรณคดีไทยและคติชนวิทยา 3 (3-0-6)
Research Proposal on Thai Language, Literature and Folklore
2201497 สัมมนาแนวทางการศึกษาด้านภาษาไทย วรรณคดีไทย และคติชนวิทยา 3 (3-0-6)
Seminar in Approaches to Thai Language, Literature and Folklore
2201498 งานวิจัยและสร้างสรรค์ด้านภาษาไทย วรรณคดีไทย และคติชนวิทยา 1 3 (3-0-6)
Research and Creative Project on Thai Language, Literature and Folklore I
2201499 งานวิจัยและสร้างสรรค์ด้านภาษาไทย วรรณคดีไทย และคติชนวิทยา 2 3 (3-0-6)
Research and Creative Project on Thai Language, Literature and Folklore II
วิชาเลือก 3 หน่วยกิต
2201447 สัมมนาเรื่องภาษาไทย 3 (3-0-6)
Seminar in Thai Langauge
หรือ
2201460 สัมมนาเรื่องวรรณคดีไทย 3 (3-0-6)
Seminar in Thai Literature
วิชาบังคับ 18 หน่วยกิต
2201201 ลักษณะภาษา
3 (3-0-6)
Characteristics of Thai Language
2201251 วิวัฒนาการวรรณคดีไทย
3 (3-0-6)
Survey of Thai Literature
2201252 วิวัฒนาการวรรณกรรมไทย
3 (3-0-6)
Survey of Thai Literary Works
2201325 ภาษาบาลีและสันสกฤตที่สัมพันธ์กับภาษาไทย
3 (3-0-6)
Pali and Sanskrit in Relation to Thai
2201326 ภาษาเขมรที่สัมพันธ์กับภาษาไทย
3 (3-0-6)
Cambodian in Relation to Thai
2201394 คติชนวิทยา
3 (3-0-6)
Folklore
วิชาเลือก 12 หน่วยกิต
ให้นิสิตเลือกเรียนจากรายวิชาต่อไปนี้
2201324 การสร้างคำและการบัญญัติศัพท์
3 (3-0-6)
Word Formation and Word Coining
2201352 วิวัฒนาการร้อยกรอง
3 (3-0-6)
Survey of Thai Poetry
2201353 วรรณกรรมวิจารณ์
3 (3-0-6)
Literary Criticism
2201401 การวิเคราะห์ภาษาไทย
3 (3-0-6)
Analysis of the Thai Language
2201414 ศิลปะการใช้ภาษาไทย
3 (3-0-6)
The Art of Thai Usage
2201431 ภาษาไทยถิ่น
3 (3-0-6)
Thai Dialects
2201435 ภาษาไทยสมัยต่าง ๆ
3 (3-0-6)
Thai Language in Different Periods
2244101 ภาษาเขมร 1
3 (3-0-6)
Cambodian I
2245101 ภาษาลาว 1
3 (3-0-6)
Lao I
วิชาเลือก 18 หน่วยกิต
ให้นิสิตเลือกเรียนจากรายวิชาต่อไปนี้
สาขาวิชาภาษาไทย
2201214 ภาษาสื่อสารมวลชน
3 (3-0-6)
Language for the Mass Media
2201215 การเล่นทางภาษาในภาษา
3 (3-0-6)
Speech Play in Thai
2201230 วิวัฒนาการอักษรและอักขรวิธีไทย
3 (3-0-6)
Evolution of Thai Scripts and Orthography
2201253 วรรณคดีไทยกับสื่อร่วมสมัย
3 (3-0-6)
Thai Literature and Contemporary Media
2201260 ลิลิต นิราศ และเพลงยาว
3 (3-0-6)
Lilit, Nirat and Phleng Yau
2201264 วรรณคดีนิทาน
3 (3-0-6)
Literary Tales
2201266 วรรณคดีคำสอน
3 (3-0-6)
Didactic Literature
2201274 พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
3 (3-0-6)
King Rama II
2201275 งานสุนทรภู่
3 (3-0-6)
Sunthon Phu
2201303 การศึกษางานวิจัยภาษาไทยเชิงภาษาศาสตร์
3 (3-0-6)
Study of Linguistic Research Works on Thai
2201304 ภาษาไทยในมุมมองแบบลักษณ์ภาษา
3 (3-0-6)
Typological Perspectives on Thai
2201314 ลีลาในภาษาไทย
3 (3-0-6)
Styles in Thai
2201315 การศึกษาภาษาไทยในฐานะภาษาที่สอง
3 (3-0-6)
Study of Thai as a Second Language
2201316 ภาษาไทยกับการสื่อสารองค์กร
3 (3-0-6)
Thai for Communication in Enterprises
2201323 นามวิทยาภาษาไทย
3 (3-0-6)
Thai Onomastics
2201335 แบบเรียนภาษาและวรรณคดีไทย
3 (3-0-6)
Textbooks on Thai Language and Literature
2201336 อักษรไทยเหนือและไทยอีสาน
3 (3-0-6)
Northern and North-Eastern Thai Scripts
2201337 ภาษาในบริบทสังคมและวัฒนธรรมไทย
3 (3-0-6)
Thai Language in Thai Socio-cultural Context
2201355 ศิลปะการอ่านและแต่งคำประพันธ์ไทย
3 (3-0-6)
Art of Reading and Composing Thai Versification
2201362 วรรณคดีพระราชหัตถเลขา
3 (3-0-6)
Royal Letters
2201364 วรรณคดีกับการแสดง
3 (3-0-6)
Literature and the Performing Arts
2201370 พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
3 (3-0-6)
King Rama IX
2201372 พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
3 (3-0-6)
King Rama V
2201373 งานเสฐียรโกเศศและนาคะประทีป
3 (3-0-6)
Sathiankoset and Nakhaprathip
2201374 พระนิพนธ์พระราชวรวงศ์เธอกรมหมื่นพิทยาลงกรณ
3 (3-0-6)
Prince Ratchani
2201385 การศึกษาวัฒนธรรมวรรณศิลป์ไทย
3 (3-0-6)
Studies of Thai Literary Culture
2201386 อารมณ์ในวรรณกรรมไทย
3 (3-0-6)
Emotions in Thai Literary Works
2201393 วรรณกรรมกับสังคม
3 (3-0-6)
Literary Works and Society
2201396 นิทานพื้นบ้าน
3 (3-0-6)
Folktale
2201422 การวิเคราะห์วรรณคดีไทยตามแนววัจนลีลาศาสตร์
3 (3-0-6)
Stylistic Analysis of Thai Literature
2201425 ศัพทมูลวิทยาภาษาไทย
3 (3-0-6)
Thai Etymology
2201432 ศิลปะการเขียนร้อยแก้ว
3 (3-0-6)
Thai Prose Writing
2201433 ศิลปะการเล่าเรื่อง
3 (3-0-6)
Art of Storytelling
2201464 วรรณคดีท้องถิ่น
3 (3-0-6)
Local Literature
2201472 พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
3 (3-0-6)
King Rama VI
2201473 พระนิพนธ์สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระปรมานุชิตชิโนรส
3 (3-0-6)
Prince Paramanuchit
2201482 นวนิยายและเรื่องสั้น
3 (3-0-6)
Novels and Short Stories
2201485 แนวทางการศึกษาวรรณคดีและวรรณกรรมไทย
3 (3-0-6)
Approaches to Thai Literary Works
2201489 วรรณคดีไทยที่สัมพันธ์กับวรรณคดีบาลีและสันสกฤต
3 (3-0-6)
Thai Literature in Relation to Pali and Sanskrit Literature
2201494 คติชนสร้างสรรค์
3 (3-0-6)
Creative Folklore
สาขาวิชาภาษาเขมร
2244101 ภาษาเขมร 1
3 (3-0-6)
Cambodian I
2244102 ภาษาเขมร 2
3 (3-0-6)
Cambodian II
2244151 ปริทัศน์วัฒนธรรมเขมร
3 (3-0-6)
Introduction to Cambodian Culture
2244211 สนทนาภาษาเขมร
3 (3-0-6)
Cambodian Conversation
2244221 การอ่านภาษาเขมร
3 (3-0-6)
Cambodian Reading
2244291 จารึกภาษาเขมร
3 (3-0-6)
Khmer Epigraphy
2244341 การแปลเขมร-ไทย
3 (3-0-6)
Translation: Cambodian-Thai
2244361 ประวัติวรรณคดีเขมร
3 (3-0-6)
History of Cambodian Literature
2244411 ไวยากรณ์เขมร 3 (3-0-6)
Cambodian Grammar
2244461 นวนิยายเขมรสมัยใหม่
3 (3-0-6)
Modern Cambodian Novel
สาขาวิชาภาษาลาว
2245101 ภาษาลาว 1
3 (3-0-6)
Lao I
2245102 ภาษาลาว 2
3 (3-0-6)
Lao II
2245151 ปริทัศน์วัฒนธรรมลาว
3 (3-0-6)
Introduction to Lao culture
2245351 ปริทัศน์วรรณคดีลาว
3 (3-0-6)
Survey of Lao literature
หมายเหตุ นิสิตสามารถเลือกรายวิชาในกลุ่มวิชาข้อกำหนดเฉพาะเป็นรายวิชาในกลุ่มวิชาเชี่ยวชาญได้
วิชาบังคับ 15 หน่วยกิต
2201495 ภาษา วรรณคดี และคติชนไทยเพื่อพัฒนาแนวคิดเชิงนวัตกรรม
3 (3-0-6)
Thai Language, Literature and Folklore for Innovative Thinking
2201496 โครงร่างวิจัยด้านภาษาไทย วรรณคดีไทยและคติชนวิทยา
3 (3-0-6)
Research Proposal on Thai Language, Literature and Folklore
2201497 สัมมนาแนวทางการศึกษาด้านภาษาไทย วรรณคดีไทย และคติชนวิทยา
3 (3-0-6)
Seminar in Approaches to Thai Language, Literature and Folklore
2201498 งานวิจัยและสร้างสรรค์ด้านภาษาไทย วรรณคดีไทย และคติชนวิทยา 1
3 (3-0-6)
Research and Creative Project on Thai Language, Literature and Folklore I
2201499 งานวิจัยและสร้างสรรค์ด้านภาษาไทย วรรณคดีไทย และคติชนวิทยา 2
3 (3-0-6)
Research and Creative Project on Thai Language, Literature and Folklore II
วิชาเลือก 3 หน่วยกิต
2201447 สัมมนาเรื่องภาษาไทย
3 (3-0-6)
Seminar in Thai Langauge
หรือ
2201460 สัมมนาเรื่องวรรณคดีไทย
3 (3-0-6)
Seminar in Thai Literature
2.1.2 แบบวิชาเอก - โท (66 หน่วยกิต)
1) วิชาเอก 48 หน่วยกิต
(1) กลุ่มวิชาพื้นฐาน 18 หน่วยกิต
(เรียนเหมือนกับรายวิชาในโปรแกรมปกติ แบบวิชาเอกเดี่ยว)
(2) กลุ่มวิชาข้อกำหนดเฉพาะ 12 หน่วยกิต
(เรียนเหมือนกับรายวิชาในโปรแกรมปกติ แบบวิชาเอกเดี่ยว)
1) วิชาเอก 48 หน่วยกิต
(1) กลุ่มวิชาพื้นฐาน 18 หน่วยกิต
(เรียนเหมือนกับรายวิชาในโปรแกรมปกติ แบบวิชาเอกเดี่ยว)
(2) กลุ่มวิชาข้อกำหนดเฉพาะ 12 หน่วยกิต
(เรียนเหมือนกับรายวิชาในโปรแกรมปกติ แบบวิชาเอกเดี่ยว)
วิชาเลือก 18 หน่วยกิต
ให้นิสิตเลือกเรียน 6 รายวิชา จากรายวิชาต่อไปนี้
สาขาวิชาภาษาไทย
2201214 ภาษาสื่อสารมวลชน 3 (3-0-6)
Language for the Mass Media
2201215 การเล่นทางภาษาในภาษา 3 (3-0-6)
Speech Play in Thai
2201230 วิวัฒนาการอักษรและอักขรวิธีไทย 3 (3-0-6)
Evolution of Thai Scripts and Orthography
2201253 วรรณคดีไทยกับสื่อร่วมสมัย 3 (3-0-6)
Thai Literature and Contemporary Media
2201260 ลิลิต นิราศ และเพลงยาว 3 (3-0-6)
Lilit, Nirat and Phleng Yau
2201264 วรรณคดีนิทาน 3 (3-0-6)
Literary Tales
2201266 วรรณคดีคำสอน 3 (3-0-6)
Didactic Literature
2201274 พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย 3 (3-0-6)
King Rama II
2201275 งานสุนทรภู่ 3 (3-0-6)
Sunthon Phu
2201303 การศึกษางานวิจัยภาษาไทยเชิงภาษาศาสตร์ 3 (3-0-6)
Study of Linguistic Research Works on Thai
2201304 ภาษาไทยในมุมมองแบบลักษณ์ภาษา 3 (3-0-6)
Typological Perspectives on Thai
2201314 ลีลาในภาษาไทย 3 (3-0-6)
Styles in Thai
2201315 การศึกษาภาษาไทยในฐานะภาษาที่สอง 3 (3-0-6)
Study of Thai as a Second Language
2201316 ภาษาไทยกับการสื่อสารองค์กร 3 (3-0-6)
Thai for Communication in Enterprises
2201323 นามวิทยาภาษาไทย 3 (3-0-6)
Thai Onomastics
2201335 แบบเรียนภาษาและวรรณคดีไทย 3 (3-0-6)
Textbooks on Thai Language and Literature
2201336 อักษรไทยเหนือและไทยอีสาน 3 (3-0-6)
Northern and North-Eastern Thai Scripts
2201337 ภาษาในบริบทสังคมและวัฒนธรรมไทย 3 (3-0-6)
Thai Language in Thai Socio-cultural Context
2201355 ศิลปะการอ่านและแต่งคำประพันธ์ไทย 3 (3-0-6)
Art of Reading and Composing Thai Versification
2201362 วรรณคดีพระราชหัตถเลขา 3 (3-0-6)
Royal Letters
2201364 วรรณคดีกับการแสดง 3 (3-0-6)
Literature and the Performing Arts
2201370 พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช 3 (3-0-6)
King Rama IX
2201372 พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว 3 (3-0-6) King Rama V
2201373 งานเสฐียรโกเศศและนาคะประทีป 3 (3-0-6)
Sathiankoset and Nakhaprathip
2201374 พระนิพนธ์พระราชวรวงศ์เธอกรมหมื่นพิทยาลงกรณ 3 (3-0-6)
Prince Ratchani
2201385 การศึกษาวัฒนธรรมวรรณศิลป์ไทย 3 (3-0-6)
Studies of Thai Literary Culture
2201386 อารมณ์ในวรรณกรรมไทย 3 (3-0-6)
Emotions in Thai Literary Works
2201393 วรรณกรรมกับสังคม 3 (3-0-6)
Literary Works and Society
2201396 นิทานพื้นบ้าน 3 (3-0-6)
Folktale
2201422 การวิเคราะห์วรรณคดีไทยตามแนววัจนลีลาศาสตร์ 3 (3-0-6)
Stylistic Analysis of Thai Literature
2201425 ศัพทมูลวิทยาภาษาไทย 3 (3-0-6)
Thai Etymology
2201432 ศิลปะการเขียนร้อยแก้ว 3 (3-0-6)
Thai Prose Writing
2201433 ศิลปะการเล่าเรื่อง 3 (3-0-6)
Art of Storytelling
2201447 สัมมนาเรื่องภาษาไทย 3 (3-0-6)
Seminar in Thai Language
2201460 สัมมนาเรื่องวรรณคดีไทย 3 (3-0-6)
Seminar in Thai Literature
2201464 วรรณคดีท้องถิ่น 3 (3-0-6)
Local Literature
2201472 พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว 3 (3-0-6)
King Rama VI
2201473 พระนิพนธ์สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระปรมานุชิตชิโนรส 3 (3-0-6)
Prince Paramanuchit
2201482 นวนิยายและเรื่องสั้น 3 (3-0-6)
Novels and Short Stories
2201485 แนวทางการศึกษาวรรณคดีและวรรณกรรมไทย 3 (3-0-6)
Approaches to Thai Literary Works
2201489 วรรณคดีไทยที่สัมพันธ์กับวรรณคดีบาลีและสันสกฤต 3 (3-0-6)
Thai Literature in Relation to Pali and Sanskrit Literature
2201494 คติชนสร้างสรรค์ 3 (3-0-6)
Creative Folklore
สาขาวิชาภาษาเขมร
2244101 ภาษาเขมร 1 3 (3-0-6)
Cambodian I
2244102 ภาษาเขมร 2 3 (3-0-6)
Cambodian II
2244151 ปริทัศน์วัฒนธรรมเขมร 3 (3-0-6)
Introduction to Cambodian Culture
2244211 สนทนาภาษาเขมร 3 (3-0-6)
Cambodian Conversation
2244221 การอ่านภาษาเขมร 3 (3-0-6)
Cambodian Reading
2244291 จารึกภาษาเขมร 3 (3-0-6)
Khmer Epigraphy
2244341 การแปลเขมร-ไทย 3 (3-0-6)
Translation: Cambodian-Thai
2244361 ประวัติวรรณคดีเขมร 3 (3-0-6)
History of Cambodian Literature
2244411 ไวยากรณ์เขมร 3 (3-0-6)
Cambodian Grammar
2244461 นวนิยายเขมรสมัยใหม่ 3 (3-0-6)
Modern Cambodian Novel
สาขาวิชาภาษาลาว
2245101 ภาษาลาว 1 3 (3-0-6)
Lao I
2245102 ภาษาลาว 2 3 (3-0-6)
Lao II
2245151 ปริทัศน์วัฒนธรรมลาว 3 (3-0-6)
Introduction to Lao culture
2245351 ปริทัศน์วรรณคดีลาว 3 (3-0-6)
Survey of Lao literature
หมายเหตุ นิสิตสามารถเลือกรายวิชาในกลุ่มวิชาข้อกำหนดเฉพาะเป็นรายวิชาในกลุ่มวิชาเชี่ยวชาญได้
วิชาเลือก 18 หน่วยกิต
ให้นิสิตเลือกเรียน 6 รายวิชา จากรายวิชาต่อไปนี้
สาขาวิชาภาษาไทย
2201214 ภาษาสื่อสารมวลชน
3 (3-0-6)
Language for the Mass Media
2201215 การเล่นทางภาษาในภาษา
3 (3-0-6)
Speech Play in Thai
2201230 วิวัฒนาการอักษรและอักขรวิธีไทย
3 (3-0-6)
Evolution of Thai Scripts and Orthography
2201253 วรรณคดีไทยกับสื่อร่วมสมัย
3 (3-0-6)
Thai Literature and Contemporary Media
2201260 ลิลิต นิราศ และเพลงยาว
3 (3-0-6)
Lilit, Nirat and Phleng Yau
2201264 วรรณคดีนิทาน
3 (3-0-6)
Literary Tales
2201266 วรรณคดีคำสอน
3 (3-0-6)
Didactic Literature
2201274 พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
3 (3-0-6)
King Rama II
2201275 งานสุนทรภู่
3 (3-0-6)
Sunthon Phu
2201303 การศึกษางานวิจัยภาษาไทยเชิงภาษาศาสตร์
3 (3-0-6)
Study of Linguistic Research Works on Thai
2201304 ภาษาไทยในมุมมองแบบลักษณ์ภาษา
3 (3-0-6)
Typological Perspectives on Thai
2201314 ลีลาในภาษาไทย
3 (3-0-6)
Styles in Thai
2201315 การศึกษาภาษาไทยในฐานะภาษาที่สอง
3 (3-0-6)
Study of Thai as a Second Language
2201316 ภาษาไทยกับการสื่อสารองค์กร
3 (3-0-6)
Thai for Communication in Enterprises
2201323 นามวิทยาภาษาไทย
3 (3-0-6) Thai Onomastics
2201335 แบบเรียนภาษาและวรรณคดีไทย
3 (3-0-6)
Textbooks on Thai Language and Literature
2201336 อักษรไทยเหนือและไทยอีสาน
3 (3-0-6)
Northern and North-Eastern Thai Scripts
2201337 ภาษาในบริบทสังคมและวัฒนธรรมไทย
3 (3-0-6)
Thai Language in Thai Socio-cultural Context
2201355 ศิลปะการอ่านและแต่งคำประพันธ์ไทย
3 (3-0-6)
Art of Reading and Composing Thai Versification
2201362 วรรณคดีพระราชหัตถเลขา
3 (3-0-6)
Royal Letters
2201364 วรรณคดีกับการแสดง
3 (3-0-6)
Literature and the Performing Arts
2201370 พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
3 (3-0-6)
King Rama IX
2201372 พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
3 (3-0-6)
King Rama V
2201373 งานเสฐียรโกเศศและนาคะประทีป
3 (3-0-6)
Sathiankoset and Nakhaprathip
2201374 พระนิพนธ์พระราชวรวงศ์เธอกรมหมื่นพิทยาลงกรณ
3 (3-0-6)
Prince Ratchani
2201385 การศึกษาวัฒนธรรมวรรณศิลป์ไทย
3 (3-0-6)
Studies of Thai Literary Culture
2201386 อารมณ์ในวรรณกรรมไทย
3 (3-0-6)
Emotions in Thai Literary Works
2201393 วรรณกรรมกับสังคม
3 (3-0-6)
Literary Works and Society
2201396 นิทานพื้นบ้าน
3 (3-0-6)
Folktale
2201422 การวิเคราะห์วรรณคดีไทยตามแนววัจนลีลาศาสตร์
3 (3-0-6)
Stylistic Analysis of Thai Literature
2201425 ศัพทมูลวิทยาภาษาไทย
3 (3-0-6)
Thai Etymology
2201432 ศิลปะการเขียนร้อยแก้ว
3 (3-0-6)
Thai Prose Writing
2201433 ศิลปะการเล่าเรื่อง
3 (3-0-6)
Art of Storytelling
2201447 สัมมนาเรื่องภาษาไทย
3 (3-0-6)
Seminar in Thai Language
2201460 สัมมนาเรื่องวรรณคดีไทย
3 (3-0-6)
Seminar in Thai Literature
2201464 วรรณคดีท้องถิ่น
3 (3-0-6)
Local Literature
2201472 พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
3 (3-0-6)
King Rama VI
2201473 พระนิพนธ์สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระปรมานุชิตชิโนรส
3 (3-0-6)
Prince Paramanuchit
2201482 นวนิยายและเรื่องสั้น
3 (3-0-6)
Novels and Short Stories
2201485 แนวทางการศึกษาวรรณคดีและวรรณกรรมไทย
3 (3-0-6)
Approaches to Thai Literary Works
2201489 วรรณคดีไทยที่สัมพันธ์กับวรรณคดีบาลีและสันสกฤต
3 (3-0-6)
Thai Literature in Relation to Pali and Sanskrit Literature
2201494 คติชนสร้างสรรค์
3 (3-0-6)
Creative Folklore
สาขาวิชาภาษาเขมร
2244101 ภาษาเขมร 1
3 (3-0-6)
Cambodian I
2244102 ภาษาเขมร 2
3 (3-0-6)
Cambodian II
2244151 ปริทัศน์วัฒนธรรมเขมร
3 (3-0-6)
Introduction to Cambodian Culture
2244211 สนทนาภาษาเขมร
3 (3-0-6)
Cambodian Conversation
2244221 การอ่านภาษาเขมร
3 (3-0-6)
Cambodian Reading
2244291 จารึกภาษาเขมร
3 (3-0-6)
Khmer Epigraphy
2244341 การแปลเขมร-ไทย
3 (3-0-6)
Translation: Cambodian-Thai
2244361 ประวัติวรรณคดีเขมร
3 (3-0-6)
History of Cambodian Literature
2244411 ไวยากรณ์เขมร
3 (3-0-6)
Cambodian Grammar
2244461 นวนิยายเขมรสมัยใหม่
3 (3-0-6)
Modern Cambodian Novel
สาขาวิชาภาษาลาว
2245101 ภาษาลาว 1
3 (3-0-6)
Lao I
2245102 ภาษาลาว 2
3 (3-0-6)
Lao II
2245151 ปริทัศน์วัฒนธรรมลาว
3 (3-0-6)
Introduction to Lao culture
2245351 ปริทัศน์วรรณคดีลาว
3 (3-0-6)
Survey of Lao literature
หมายเหตุ นิสิตสามารถเลือกรายวิชาในกลุ่มวิชาข้อกำหนดเฉพาะเป็นรายวิชาในกลุ่มวิชาเชี่ยวชาญได้
2) วิชาโท 48 หน่วยกิต
นิสิตเอกสาขาวิชาภาษาไทยที่เลือกเรียนแบบวิชาเอก – โท ต้องเลือกเรียนวิชาโทสาขาอื่นจาก ในคณะหรือนอกคณะ
วิชาโท สำหรับนิสิตวิชาเอกสาขาอื่นทั้งในคณะและนอกคณะ 18 หน่วยกิต
2) วิชาโท 48 หน่วยกิต
นิสิตเอกสาขาวิชาภาษาไทยที่เลือกเรียนแบบวิชาเอก – โท ต้องเลือกเรียนวิชาโทสาขาอื่นจาก ในคณะหรือนอกคณะ
วิชาโท สำหรับนิสิตวิชาเอกสาขาอื่นทั้งในคณะและนอกคณะ 18 หน่วยกิต
ให้นิสิตเลือกเรียนจากรายวิชาต่อไปนี้ 1 รายวิชา
2201201 ลักษณะภาษาไทย 3 (3–0–6)
Characteristics of Thai Language
2201251 วิวัฒนาการวรรณคดีไทย 3 (3-0-6)
Survey of Thai Literature
2201394 คติชนวิทยา 3 (3-0-6)
Folklore
ให้นิสิตเลือกเรียนจากรายวิชาต่อไปนี้
2201214 ภาษาสื่อสารมวลชน 3 (3-0-6)
Language for the Mass Media
2201215 การเล่นทางภาษาในภาษาไทย 3 (3-0-6)
Speech Play in Thai
2201230 วิวัฒนาการอักษรและอักขรวิธีไทย 3 (3-0-6)
Evolution of Thai Scripts and Orthography
2201252 วิวัฒนาการวรรณกรรมไทย 3 (3-0-6)
Survey of Thai Literary Works
2201253 วรรณคดีไทยกับสื่อร่วมสมัย 3 (3-0-6)
Thai Literature and Contemporary Media
2201260 ลิลิต นิราศ และเพลงยาว 3 (3-0-6)
Lilit, Nirat and Phleng Yau
2201264 วรรณคดีนิทาน 3 (3-0-6)
Literary Tales
2201266 วรรณคดีคำสอน 3 (3-0-6)
Didactic Literature
2201274 พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย 3 (3-0-6)
King Rama II
2201275 งานสุนทรภู่ 3 (3-0-6)
Sunthon Phu
2201303 การศึกษางานวิจัยภาษาไทยเชิงภาษาศาสตร์ 3 (3-0-6)
Study of Linguistic Research Works on Thai
2201304 ภาษาไทยในมุมมองแบบลักษณ์ภาษา 3 (3-0-6)
Typological Perspectives on Thai
2201314 ลีลาในภาษาไทย 3 (3-0-6)
Styles in Thai
2201315 การศึกษาภาษาไทยในฐานะภาษาที่สอง 3 (3-0-6)
Study of Thai as a Second Language
2201316 ภาษาไทยกับการสื่อสารองค์กร 3 (3-0-6)
Thai for Communication in Enterprises
2201323 นามวิทยาภาษาไทย 3 (3-0-6)
Thai Onomastics
2201324 การสร้างคำและการบัญญัติศัพท์ 3 (3-0-6)
Word Formation and Word Coining
2201325 ภาษาบาลีและสันสกฤตที่สัมพันธ์กับภาษาไทย 3 (3-0-6)
Pali and Sanskrit in Relation to Thai
2201326 ภาษาเขมรที่สัมพันธ์กับภาษาไทย 3 (3-0-6)
Cambodian in Relation to Thai
2201335 แบบเรียนภาษาและวรรณคดีไทย 3 (3-0-6)
Textbooks on Thai Language and Literature
2201336 อักษรไทยเหนือและไทยอีสาน 3 (3-0-6)
Northern and North-Eastern Thai Script
2201337 ภาษาในบริบทสังคมและวัฒนธรรมไทย 3 (3-0-6)
Thai Language in Thai Socio-cultural Context
2201352 วิวัฒนาการร้อยกรอง 3 (3-0-6)
Survey of Thai Poetry
2201353 วรรณกรรมวิจารณ์ 3 (3-0-6)
Literary Criticism
2201355 ศิลปะการอ่านและแต่งคำประพันธ์ไทย 3 (3-0-6)
Art of Reading and Composing Thai Versification
2201362 วรรณคดีพระราชหัตถเลขา 3 (3-0-6)
Royal Letters
2201364 วรรณคดีกับการแสดง 3 (3-0-6)
Literature and the Performing Arts
2201370 พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช 3 (3-0-6)
King Rama IX
2201372 พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว 3 (3-0-6)
King Rama V
2201373 งานเสฐียรโกเศศและนาคะประทีป 3 (3-0-6)
Sathiankoset and Nakhaprathip
2201374 พระนิพนธ์พระราชวรวงศ์เธอกรมหมื่นพิทยาลงกรณ 3 (3-0-6)
Prince Ratchani
2201385 การศึกษาวัฒนธรรมวรรณศิลป์ไทย 3 (3-0-6)
Studies of Thai Literary Culture
2201386 อารมณ์ในวรรณกรรมไทย 3 (3-0-6)
Emotions in Thai Literary Works
2201393 วรรณกรรมกับสังคม 3 (3-0-6)
Literary Works and Society
2201396 นิทานพื้นบ้าน 3 (3-0-6)
Folktale
2201401 การวิเคราะห์ภาษาไทย 3 (3-0-6)
Analysis of the Thai Language
2201414 ศิลปะการใช้ภาษาไทย 3 (3-0-6)
The Art of Thai Usage
2201422 การวิเคราะห์วรรณคดีไทยตามแนววัจนลีลาศาสตร์ 3 (3-0-6)
Stylistic Analysis of Thai Literature
2201425 ศัพทมูลวิทยาภาษาไทย 3 (3-0-6)
Thai Etymology
2201431 ภาษาไทยถิ่น 3 (3-0-6)
Thai Dialects
2201432 ศิลปะการเขียนร้อยแก้ว 3 (3-0-6)
Thai Prose Writing
2201433 ศิลปะการเล่าเรื่อง 3 (3-0-6)
Art of Storytelling
2201435 ภาษาไทยสมัยต่าง ๆ 3 (3-0-6)
Thai Language in Different Periods
2201447 สัมมนาเรื่องภาษาไทย 3 (3-0-6)
Seminar in Thai Language
2201460 สัมมนาเรื่องวรรณคดีไทย 3 (3-0-6)
Seminar in Thai Literature
2201464 วรรณคดีท้องถิ่น 3 (3-0-6)
Local Literature
2201472 พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว 3 (3-0-6)
King Rama VI
2201473 พระนิพนธ์สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระปรมานุชิตชิโนรส 3 (3-0-6)
Prince Paramanuchit
2201482 นวนิยายและเรื่องสั้น 3 (3-0-6)
Novels and Short Stories
2201485 แนวทางการศึกษาวรรณคดีและวรรณกรรมไทย 3 (3-0-6)
Approaches to Thai Literary Works
2201489 วรรณคดีไทยที่สัมพันธ์กับวรรณคดีบาลีและสันสกฤต 3 (3-0-6)
Thai Literature in Relation to Pali and Sanskrit Literature
2201494 คติชนสร้างสรรค์ 3 (3-0-6)
Creative Folklore
ให้นิสิตเลือกเรียนจากรายวิชาต่อไปนี้ 1 รายวิชา
2201201 ลักษณะภาษาไทย
3 (3–0–6)
Characteristics of Thai Language
2201251 วิวัฒนาการวรรณคดีไทย
3 (3-0-6)
Survey of Thai Literature
2201394 คติชนวิทยา
3 (3-0-6)
Folklore
ให้นิสิตเลือกเรียนจากรายวิชาต่อไปนี้
2201214 ภาษาสื่อสารมวลชน
3 (3-0-6)
Language for the Mass Media
2201215 การเล่นทางภาษาในภาษาไทย
3 (3-0-6)
Speech Play in Thai
2201230 วิวัฒนาการอักษรและอักขรวิธีไทย
3 (3-0-6)
Evolution of Thai Scripts and Orthography
2201252 วิวัฒนาการวรรณกรรมไทย
3 (3-0-6)
Survey of Thai Literary Works
2201253 วรรณคดีไทยกับสื่อร่วมสมัย
3 (3-0-6)
Thai Literature and Contemporary Media
2201260 ลิลิต นิราศ และเพลงยาว
3 (3-0-6)
Lilit, Nirat and Phleng Yau
2201264 วรรณคดีนิทาน
3 (3-0-6)
Literary Tales
2201266 วรรณคดีคำสอน
3 (3-0-6)
Didactic Literature
2201274 พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
3 (3-0-6)
King Rama II
2201275 งานสุนทรภู่
3 (3-0-6)
Sunthon Phu
2201303 การศึกษางานวิจัยภาษาไทยเชิงภาษาศาสตร์
3 (3-0-6)
Study of Linguistic Research Works on Thai
2201304 ภาษาไทยในมุมมองแบบลักษณ์ภาษา
3 (3-0-6)
Typological Perspectives on Thai
2201314 ลีลาในภาษาไทย
3 (3-0-6)
Styles in Thai
2201315 การศึกษาภาษาไทยในฐานะภาษาที่สอง
3 (3-0-6)
Study of Thai as a Second Language
2201316 ภาษาไทยกับการสื่อสารองค์กร
3 (3-0-6)
Thai for Communication in Enterprises
2201323 นามวิทยาภาษาไทย
3 (3-0-6)
Thai Onomastics
2201324 การสร้างคำและการบัญญัติศัพท์
3 (3-0-6)
Word Formation and Word Coining
2201325 ภาษาบาลีและสันสกฤตที่สัมพันธ์กับภาษาไทย
3 (3-0-6)
Pali and Sanskrit in Relation to Thai
2201326 ภาษาเขมรที่สัมพันธ์กับภาษาไทย
3 (3-0-6)
Cambodian in Relation to Thai
2201335 แบบเรียนภาษาและวรรณคดีไทย
3 (3-0-6)
Textbooks on Thai Language and Literature
2201336 อักษรไทยเหนือและไทยอีสาน
3 (3-0-6)
Northern and North-Eastern Thai Script
2201337 ภาษาในบริบทสังคมและวัฒนธรรมไทย
3 (3-0-6)
Thai Language in Thai Socio-cultural Context
2201352 วิวัฒนาการร้อยกรอง
3 (3-0-6)
Survey of Thai Poetry
2201353 วรรณกรรมวิจารณ์
3 (3-0-6)
Literary Criticism
2201355 ศิลปะการอ่านและแต่งคำประพันธ์ไทย
3 (3-0-6)
Art of Reading and Composing Thai Versification
2201362 วรรณคดีพระราชหัตถเลขา
3 (3-0-6)
Royal Letters
2201364 วรรณคดีกับการแสดง
3 (3-0-6)
Literature and the Performing Arts
2201370 พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
3 (3-0-6)
King Rama IX
2201372 พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
3 (3-0-6)
King Rama V
2201373 งานเสฐียรโกเศศและนาคะประทีป
3 (3-0-6)
Sathiankoset and Nakhaprathip
2201374 พระนิพนธ์พระราชวรวงศ์เธอกรมหมื่นพิทยาลงกรณ
3 (3-0-6)
Prince Ratchani
2201385 การศึกษาวัฒนธรรมวรรณศิลป์ไทย
3 (3-0-6)
Studies of Thai Literary Culture
2201386 อารมณ์ในวรรณกรรมไทย
3 (3-0-6)
Emotions in Thai Literary Works
2201393 วรรณกรรมกับสังคม
3 (3-0-6)
Literary Works and Society
2201396 นิทานพื้นบ้าน
3 (3-0-6)
Folktale
2201401 การวิเคราะห์ภาษาไทย
3 (3-0-6)
Analysis of the Thai Language
2201414 ศิลปะการใช้ภาษาไทย
3 (3-0-6)
The Art of Thai Usage
2201422 การวิเคราะห์วรรณคดีไทยตามแนววัจนลีลาศาสตร์
3 (3-0-6)
Stylistic Analysis of Thai Literature
2201425 ศัพทมูลวิทยาภาษาไทย
3 (3-0-6)
Thai Etymology
2201431 ภาษาไทยถิ่น
3 (3-0-6)
Thai Dialects
2201432 ศิลปะการเขียนร้อยแก้ว
3 (3-0-6)
Thai Prose Writing
2201433 ศิลปะการเล่าเรื่อง
3 (3-0-6)
Art of Storytelling
2201435 ภาษาไทยสมัยต่าง ๆ
3 (3-0-6)
Thai Language in Different Periods
2201447 สัมมนาเรื่องภาษาไทย
3 (3-0-6)
Seminar in Thai Language
2201460 สัมมนาเรื่องวรรณคดีไทย
3 (3-0-6)
Seminar in Thai Literature
2201464 วรรณคดีท้องถิ่น
3 (3-0-6)
Local Literature
2201472 พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
3 (3-0-6)
King Rama VI
2201473 พระนิพนธ์สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระปรมานุชิตชิโนรส
3 (3-0-6)
Prince Paramanuchit
2201482 นวนิยายและเรื่องสั้น
3 (3-0-6)
Novels and Short Stories
2201485 แนวทางการศึกษาวรรณคดีและวรรณกรรมไทย
3 (3-0-6)
Approaches to Thai Literary Works
2201489 วรรณคดีไทยที่สัมพันธ์กับวรรณคดีบาลีและสันสกฤต
3 (3-0-6)
Thai Literature in Relation to Pali and Sanskrit Literature
2201494 คติชนสร้างสรรค์
3 (3-0-6)
Creative Folklore
2.2 โปรแกรมเกียรตินิยม
แบบวิชาเอกเดี่ยว
(1) กลุ่มวิชาพื้นฐาน
(รายวิชาเรียนเหมือนโปรแกรมปกติ)
(2) กลุ่มวิชาข้อกำหนดเฉพาะ
(รายวิชาเรียนเหมือนโปรแกรมปกติ)
(3) กลุ่มวิชาเชี่ยวชาญ
(รายวิชาเรียนเหมือนโปรแกรมปกติ แบบเอก-โท)
(4) กลุ่มวิชาสำรวจ
2201591 เอกัตศึกษา
Independent Study I
2201592 เอกัตศึกษา 2
Independent Study II
2201593 เอกัตศึกษา 3
Independent Study III
2201594 เอกัตศึกษา 4
Independent Study IV
2201597 ปริญญานิพนธ์ 1
Senior Project I
2201598 ปริญญานิพนธ์ 2 4 (0-12-0)
Senior Project II
แบบวิชาเอกเดี่ยว (68 หน่วยกิต)
(1) กลุ่มวิชาพื้นฐาน 18 หน่วยกิต
(รายวิชาเรียนเหมือนโปรแกรมปกติ)
(2) กลุ่มวิชาข้อกำหนดเฉพาะ 12 หน่วยกิต
(รายวิชาเรียนเหมือนโปรแกรมปกติ)
(3) กลุ่มวิชาเชี่ยวชาญ 18 หน่วยกิต
(รายวิชาเรียนเหมือนโปรแกรมปกติ แบบเอก-โท)
(4) กลุ่มวิชาสำรวจ 20 หน่วยกิต
2201591 เอกัตศึกษา
3 (1-6-2)
Independent Study I
2201592 เอกัตศึกษา 2
3 (1-6-2)
Independent Study II
2201593 เอกัตศึกษา 3
3 (1-6-2)
Independent Study III
2201594 เอกัตศึกษา 4
3 (1-6-2)
Independent Study IV
2201597 ปริญญานิพนธ์ 1
4 (0-12-0)
Senior Project I
2201598 ปริญญานิพนธ์ 2
4 (0-12-0)
Senior Project II
(68 หน่วยกิต)
18 หน่วยกิต
12 หน่วยกิต
18 หน่วยกิต
20 หน่วยกิต
3 (1-6-2)
3 (1-6-2)
3 (1-6-2)
3 (1–6–2)
4 (0-12–0)
4 (0-12–0)
3. แผนการศึกษา
3.1 โปรแกรมปกติ
3.1.1 แบบเอกเดี่ยว
ภาคการศึกษาต้น
2201201 ลักษณะภาษาไทย 3 หน่วยกิต
2201251 วิวัฒนาการวรรณคดีไทย 3 หน่วยกิต
XXXXXXX กลุ่มวิชาข้อกำหนดเฉพาะ 3 หน่วยกิต
รวม 9 หน่วยกิต
ภาคการศึกษาปลาย
2201252 วิวัฒนาการวรรณกรรมไทย 3 หน่วยกิต
XXXXXXX กลุ่มวิชาข้อกำหนดเฉพาะ 9 หน่วยกิต
รวม 12 หน่วยกิต
ภาคการศึกษาต้น
2201325 ภาษาบาลีและสันสกฤตที่สัมพันธ์กับภาษาไทย 3 หน่วยกิต
XXXXXXX กลุ่มวิชาเชี่ยวชาญ 9 หน่วยกิต
รวม 12 หน่วยกิต
ภาคการศึกษาปลาย
2201326 ภาษาเขมรที่สัมพันธ์กับภาษาไทย 3 หน่วยกิต
XXXXXXX กลุ่มวิชาเชี่ยวชาญ 9 หน่วยกิต
รวม 12 หน่วยกิต
ภาคการศึกษาต้น
2201394 คติชนวิทยา 3 หน่วยกิต
XXXXXXX กลุ่มวิชาสำรวจ 9 หน่วยกิต
รวม 12 หน่วยกิต
ภาคการศึกษาปลาย
XXXXXXX กลุ่มวิชาสำรวจ 9 หน่วยกิต
รวม 9 หน่วยกิต
ภาคการศึกษาต้น
2201201 ลักษณะภาษาไทย
3 หน่วยกิต
2201251 วิวัฒนาการวรรณคดีไทย
3 หน่วยกิต
XXXXXXX กลุ่มวิชาข้อกำหนดเฉพาะ
3 หน่วยกิต
รวม 9 หน่วยกิต
ภาคการศึกษาปลาย
2201252 วิวัฒนาการวรรณกรรมไทย
3 หน่วยกิต
XXXXXXX กลุ่มวิชาข้อกำหนดเฉพาะ
9 หน่วยกิต
รวม 12 หน่วยกิต
ภาคการศึกษาต้น
2201325 ภาษาบาลีและสันสกฤตที่สัมพันธ์กับภาษาไทย
3 หน่วยกิต
XXXXXXX กลุ่มวิชาเชี่ยวชาญ
9 หน่วยกิต
รวม 12 หน่วยกิต
ภาคการศึกษาปลาย
2201326 ภาษาเขมรที่สัมพันธ์กับภาษาไทย
3 หน่วยกิต
XXXXXXX กลุ่มวิชาเชี่ยวชาญ
9 หน่วยกิต
รวม 12 หน่วยกิต
ภาคการศึกษาต้น
2201394 คติชนวิทยา
3 หน่วยกิต
XXXXXXX กลุ่มวิชาสำรวจ
9 หน่วยกิต
รวม 12 หน่วยกิต
ภาคการศึกษาปลาย
XXXXXXX กลุ่มวิชาสำรวจ
9 หน่วยกิต
รวม 9 หน่วยกิต
3.1.2 แบบเอก - โท
ภาคการศึกษาต้น
2201201 ลักษณะภาษาไทย 3 หน่วยกิต
2201251 วิวัฒนาการวรรณคดีไทย 3 หน่วยกิต
XXXXXXX กลุ่มวิชาข้อกำหนดเฉพาะ 3 หน่วยกิต
รวม 9 หน่วยกิต
ภาคการศึกษาปลาย
2201252 วิวัฒนาการวรรณกรรมไทย 3 หน่วยกิต
XXXXXXX กลุ่มวิชาข้อกำหนดเฉพาะ 6 หน่วยกิต
รวม 9 หน่วยกิต
ภาคการศึกษาต้น
2201325 ภาษาบาลีและสันสกฤตที่สัมพันธ์กับภาษาไทย 3 หน่วยกิต
XXXXXXX กลุ่มวิชาข้อกำหนดเฉพาะ 3 หน่วยกิต
XXXXXXX กลุ่มวิชาเชี่ยวชาญ 3 หน่วยกิต
รวม 9 หน่วยกิต
ภาคการศึกษาปลาย
2201326 ภาษาเขมรที่สัมพันธ์กับภาษาไทย 3 หน่วยกิต
XXXXXXX กลุ่มวิชาเชี่ยวชาญ 6 หน่วยกิต
รวม 9 หน่วยกิต
ภาคการศึกษาต้น
2201394 คติชนวิทยา 3 หน่วยกิต
XXXXXXX กลุ่มวิชาเชี่ยวชาญ 3 หน่วยกิต
รวม 6 หน่วยกิต
ภาคการศึกษาปลาย
XXXXXXX กลุ่มวิชาเชี่ยวชาญ 6 หน่วยกิต
รวม 6 หน่วยกิต
ภาคการศึกษาต้น
2201201 ลักษณะภาษาไทย
3 หน่วยกิต
2201251 วิวัฒนาการวรรณคดีไทย
3 หน่วยกิต
XXXXXXX กลุ่มวิชาข้อกำหนดเฉพาะ
3 หน่วยกิต
รวม 9 หน่วยกิต
ภาคการศึกษาปลาย
2201252 วิวัฒนาการวรรณกรรมไทย
3 หน่วยกิต
XXXXXXX กลุ่มวิชาข้อกำหนดเฉพาะ
6 หน่วยกิต
รวม 9 หน่วยกิต
ภาคการศึกษาต้น
2201325 ภาษาบาลีและสันสกฤตที่สัมพันธ์กับภาษาไทย
3 หน่วยกิต
XXXXXXX กลุ่มวิชาข้อกำหนดเฉพาะ
3 หน่วยกิต
XXXXXXX กลุ่มวิชาเชี่ยวชาญ
3 หน่วยกิต
รวม 9 หน่วยกิต
ภาคการศึกษาปลาย
2201326 ภาษาเขมรที่สัมพันธ์กับภาษาไทย
3 หน่วยกิต
XXXXXXX กลุ่มวิชาเชี่ยวชาญ
6 หน่วยกิต
รวม 9 หน่วยกิต
ภาคการศึกษาต้น
2201394 คติชนวิทยา
3 หน่วยกิต
XXXXXXX กลุ่มวิชาเชี่ยวชาญ
3 หน่วยกิต
รวม 6 หน่วยกิต
ภาคการศึกษาปลาย
XXXXXXX กลุ่มวิชาเชี่ยวชาญ
6 หน่วยกิต
รวม 6 หน่วยกิต
3.2 โปรแกรมเกียรตินิยม
ภาคการศึกษาต้น
2201201 ลักษณะภาษาไทย 3 หน่วยกิต
2201251 วิวัฒนาการวรรณคดีไทย 3 หน่วยกิต
2201591 เอกัตศึกษา 1 3 หน่วยกิต
XXXXXXX กลุ่มวิชาข้อกำหนดเฉพาะ 3 หน่วยกิต
รวม 12 หน่วยกิต
ภาคการศึกษาปลาย
2201252 วิวัฒนาการวรรณกรรมไทย 3 หน่วยกิต
2201592 เอกัตศึกษา 2 3 หน่วยกิต
XXXXXXX กลุ่มวิชาข้อกำหนดเฉพาะ 6 หน่วยกิต
รวม 12 หน่วยกิต
ภาคการศึกษาต้น
2201325 ภาษาบาลีและสันสกฤตที่สัมพันธ์กับภาษาไทย 3 หน่วยกิต
2201593 เอกัตศึกษา 3 3 หน่วยกิต
XXXXXXX กลุ่มวิชาข้อกำหนดเฉพาะ 3 หน่วยกิต
XXXXXXX กลุ่มวิชาเชี่ยวชาญ 6 หน่วยกิต
รวม 15 หน่วยกิต
ภาคการศึกษาปลาย
2201236 ภาษาเขมรที่สัมพันธ์กับภาษาไทย 3 หน่วยกิต
2201594 เอกัตศึกษา 4 3 หน่วยกิต
XXXXXXX กลุ่มวิชาเชี่ยวชาญ 6 หน่วยกิต
รวม 12 หน่วยกิต
ภาคการศึกษาต้น
2201394 คติชนวิทยา 3 หน่วยกิต
2201597 ปริญญานิพนธ์ 1 4 หน่วยกิต
XXXXXXX กลุ่มวิชาเชี่ยวชาญ 3 หน่วยกิต
รวม 10 หน่วยกิต
ภาคการศึกษาปลาย
2201598 ปริญญานิพนธ์ 2 4 หน่วยกิต
XXXXXXX กลุ่มวิชาเชี่ยวชาญ 3 หน่วยกิต
รวม 7 หน่วยกิต
ภาคการศึกษาต้น
2201201 ลักษณะภาษาไทย
3 หน่วยกิต
2201251 วิวัฒนาการวรรณคดีไทย
3 หน่วยกิต
2201591 เอกัตศึกษา 1
3 หน่วยกิต
XXXXXXX กลุ่มวิชาข้อกำหนดเฉพาะ
3 หน่วยกิต
รวม 12 หน่วยกิต
ภาคการศึกษาปลาย
2201252 วิวัฒนาการวรรณกรรมไทย
3 หน่วยกิต
2201592 เอกัตศึกษา 2
3 หน่วยกิต
XXXXXXX กลุ่มวิชาข้อกำหนดเฉพาะ
6 หน่วยกิต
รวม 12 หน่วยกิต
ภาคการศึกษาต้น
2201325 ภาษาบาลีและสันสกฤตที่สัมพันธ์กับภาษาไทย
3 หน่วยกิต
2201593 เอกัตศึกษา 3
3 หน่วยกิต
XXXXXXX กลุ่มวิชาข้อกำหนดเฉพาะ
3 หน่วยกิต
XXXXXXX กลุ่มวิชาเชี่ยวชาญ
6 หน่วยกิต
รวม 15 หน่วยกิต
ภาคการศึกษาปลาย
2201236 ภาษาเขมรที่สัมพันธ์กับภาษาไทย
3 หน่วยกิต
2201594 เอกัตศึกษา 4
3 หน่วยกิต
XXXXXXX กลุ่มวิชาเชี่ยวชาญ
6 หน่วยกิต
รวม 12 หน่วยกิต
ภาคการศึกษาต้น
2201394 คติชนวิทยา
3 หน่วยกิต
2201597 ปริญญานิพนธ์ 1
4 หน่วยกิต
XXXXXXX กลุ่มวิชาเชี่ยวชาญ
3 หน่วยกิต
รวม 10 หน่วยกิต
ภาคการศึกษาปลาย
2201598 ปริญญานิพนธ์ 2
4 หน่วยกิต
XXXXXXX กลุ่มวิชาเชี่ยวชาญ
3 หน่วยกิต
รวม 7 หน่วยกิต
4. คำอธิบายรายวิชา
- ลักษณะของภาษาไทยด้านเสียง คำ และประโยค
- ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบเหล่านั้น
- โครงสร้าง รูปแบบ และพัฒนาการของสื่อมวลชนประเภทต่าง ๆ
- ลักษณะภาษาไทยที่ปรากฏในสื่อต่าง ๆ
- รูปแบบต่าง ๆ ของการเล่นทางภาษาในภาษาไทยจากมุมมองทางด้านคติชนวิทยา ภาษาศาสตร์ และวรรณคดี
- วิวัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของอักษรและอักขรวิธีไทยตั้งแต่สมัยสุโขทัยถึงปัจจุบัน
- ความแตกต่างของอักษรและอักขรวิธีของภาษาไทยกับภาษาอื่นที่เกี่ยวข้อง
- วิวัฒนาการวรรณคดีไทยตั้งแต่สมัยสุโขทัยถึงสมัยรัชกาลที่ 3 ในด้านผู้แต่ง รูปแบบ เนื้อหา และแนวคิด
- ความสัมพันธ์ระหว่างวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวัฒนธรรม
- การวิเคราะห์วรรณคดีที่เลือกมาศึกษา
- วิวัฒนาการวรรณกรรมไทยตั้งแต่ปลายสมัยรัชกาลที่ 3 จนถึงปัจจุบัน ในด้านรูปแบบเนื้อหา และแนวคิด
- การวิเคราะห์วรรณกรรมที่เลือกมาศึกษา
- การประยุกต์ใช้วรรณคดีไทยในสื่อร่วมสมัยประเภทต่าง ๆ
- ลักษณะและวิวัฒนาการของวรรณคดีลิลิต นิราศ และเพลงยาว ตั้งแต่สมัยอยุธยาถึงสมัยรัตนโกสินทร์
- การวิเคราะห์ผลงานคัดสรร
- วรรณคดีนิทานที่เป็นลายลักษณ์อักษรทั้งร้อยแก้วและร้อยกรอง
- ที่มา พัฒนาการ ลักษณะเด่น บทบาท และคุณค่าเชิงวรรณศิลป์
- การวิเคราะห์วรรณคดีนิทานที่เลือกมาศึกษา
- การสอนจริยธรรมในวรรณคดีไทย
- วรรณคดีคำสอนของไทยและวรรณคดีคำสอนของต่างประเทศที่แปลเป็นภาษาไทย
- การวิเคราะห์วรรณคดีคำสอนที่เลือกมาศึกษา
- พระราชประวัติและพระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทั้งในด้านรูปแบบ เนื้อหา และลีลา
- การวิเคราะห์พระราชนิพนธ์บางเรื่อง
- ประวัติและงานของสุนทรภู่ ทั้งในด้านรูปแบบ เนื้อหา และลีลา
- การวิเคราะห์ผลงานบางเรื่อง
- ทฤษฎีภาษาศาสตร์ด้านแบบแผนนิยมและหน้าที่นิยม
- งานวิจัยทางภาษาไทยที่นำทฤษฎีดังกล่าวมาประยุกต์ใช้
- ลักษณะภาษาไทยทางด้านระบบเสียง
- ระบบไวยากรณ์ และคลังศัพท์เปรียบเทียบกับภาษาต่าง ๆ ทั่วโลก
- สากลลักษณ์ภาษากับลักษณะภาษาไทย
- การใช้โปรแกรมวอลส์เพื่อการค้นหาแบบภาษาด้านต่าง ๆ ของภาษาไทย
- ลักษณะลีลาภาษาที่ใช้ในภาษาไทยปัจจุบัน
- ลีลาภาษาแบบต่าง ๆ วัจนลีลา
- ปัจจัยสำคัญที่ทำให้ภาษาไทยมีลีลาแบบต่าง ๆ
- ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการศึกษาภาษาไทยในฐานะภาษาที่สอง
- ประเด็นที่น่าสนใจเกี่ยวกับการศึกษาภาษาไทยในฐานะภาษาที่สอง
- ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารองค์กรในสถานการณ์ต่าง ๆ
- การเลือกใช้ลีลา รูปแบบ และช่องทางการสื่อสารเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์
- การศึกษาชื่อเฉพาะในภาษาไทยจากมุมมองภาษาศาสตร์และศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
- ความรู้ด้านภาษา สังคมและวัฒนธรรมไทยที่สัมพันธ์กับการศึกษาชื่อเฉพาะในภาษาไทย
- ลักษณะคำไทย
- วิธีการสร้างคำของภาษาไทย
- การประสมคำ
- การแปลงคำ
- การซ้ำคำ
- การบัญญัติศัพท์
- ประวัติและลักษณะเฉพาะของภาษาบาลีและสันสกฤต
- คํายืมภาษาบาลี-สันสกฤตในภาษาไทย
- ความสําคัญของภาษาบาลีและสันสกฤตต่อภาษาและวัฒนธรรมไทย
- คำเขมรที่ปรากฏในภาษาไทยและคำไทยที่ปรากฏในภาษาเขมร
- คำที่เขมรและไทยยืมมาจากภาษาบาลีและสันสกฤต
- ลักษณะทางไวยากรณ์และทางภาษาด้านอื่น ๆ ที่แสดงความสัมพันธ์ของภาษาทั้งสอง
- ประวัติและพัฒนาการแบบเรียนภาษาไทย
- ลักษณะและแนวคิดเกี่ยวกับภาษาและวรรณคดีไทยที่พบในแบบเรียน
- ประวัติและลักษณะตัวอักษรไทยที่ใช้อยู่ในภาคเหนือและภาคอีสาน
- การฝึกอ่านและเขียนตัวอักษรไทยแบบต่าง ๆ
- ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาไทยกับบริบททางสังคมวัฒนธรรมไทยในแง่มุมต่าง ๆ
- แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับภาษาและวัฒนธรรม รวมทั้งชาติพันธุ์วรรณนาแห่งการสื่อสาร ภาษากับเพศสภาวะ ภาษากับอุดมการณ์
- รูปแบบ เนื้อหา ความคิด และกลวิธีการประพันธ์ของร้อยกรองไทยตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน
- ความเป็นมาของการวิจารณ์วรรณกรรม
- ทฤษฎีหลักและแนวทางการศึกษาวรรณกรรมไทยปัจจุบัน
- การฝึกวิจารณ์และประเมินค่าวรรณกรรม
- ศิลปะการอ่านและแต่งคำประพันธ์ไทยประเภทต่าง ๆ
- พระราชหัตถเลขา ประกาศ และพระบรมราชาธิบายในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทั้งในด้านรูปแบบ เนื้อหา ลีลา และคุณค่า
- การวิเคราะห์พระราชนิพนธ์บางเรื่อง
- ลักษณะและความเป็นมาของวรรณคดีการแสดงของไทย
- ความสัมพันธ์ระหว่างการแสดงกับตัวบท
- การวิเคราะห์วรรณคดีการแสดงบางเรื่อง
- พระราชนิพนธ์ประเภทต่างๆ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทั้งในด้านรูปแบบ เนื้อหา และลีลาภาษา การวิเคราะห์พระราชนิพนธ์คัดสรร
- พระราชประวัติและพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทั้งในด้านรูปแบบ เนื้อหา และลีลา
- การวิเคราะห์พระราชนิพนธ์บางเรื่อง
- ประวัติและงานของเสถียรโกเศศและนาคะประทีป ทั้งในด้านรูปแบบ เนื้อหา และลีลา
- การวิเคราะห์ผลงานบางเรื่อง
- พระประวัติและพระนิพนธ์ของพระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ ทั้งในด้านรูปแบบ เนื้อหา และลีลา
- การวิเคราะห์พระนิพนธ์บางเรื่อง
- การสร้างและการเสพวรรณคดีไทยในสมัยต่าง ๆ
- การประเมินค่าวรรณคดีไทย
- บริบททางสังคมและวัฒนธรรมที่สัมพันธ์กับการสร้าง การเสพ และการประเมินค่าวรรณคดีในวัฒนธรรรมวรรณศิลป์ไทย
- แนวทางในการศึกษาอารมณ์ในวรรณกรรมไทย
- ความสัมพันธ์ระหว่างอารมณ์ในตัวบทวรรณกรรมไทยกับบริบทททางสังคมและวัฒนธรรม
- ความสัมพันธ์ระหว่างวรรณกรรมกับสังคมและผลกระทบที่มีต่อกัน
- การวิเคราะห์วรรณกรรมไทยที่มีความสัมพันธ์กับสังคมอย่างเด่นชัด
- ความหมาย ความสำคัญ และการแบ่งประเภทของคติชน
- รูปแบบและบทบาทหน้าที่ของคติชนประเภทต่าง ๆ
- แนวทางและวิธีการศึกษาที่เน้นการเก็บข้อมูลภาคสนาม
- การจำแนกประเภทนิทานพื้นบ้าน
- ระเบียบวิธีทางคติชนในการเก็บข้อมูลภาคสนามและแนวคิดทฤษฎีในการวิเคราะห์นิทานพื้นบ้าน
- บทบาทของนิทานพื้นบ้านในสังคม และความสัมพันธ์กับศิลปะไทยแขนงต่าง ๆ
- การวิเคราะห์ภาษาไทยในประเด็นปัญหาเรื่องเสียง คำ และวากยสัมพันธ์
- การใช้ภาษาไทยอย่างมีศิลปะ การเลือกใช้และการสรรคำ การร้อยเรียงถ้อยคำ การใช้โวหารเปรียบเทียบ
- การวิเคราะห์และตีความลักษณะภาษาที่เป็นวรรณศิลป์จากวรรณคดีและวรรณกรรมทั้งร้อยแก้วและร้อยกรอง
- นิยามของวัจนลีลาและวัจนลีลาศาสตร์
- การวิเคราะห์วัจนลีลาในตัวบทวรรณคดีไทยด้วยแนวคิดและทฤษฎีต่าง ๆ ด้านวัจนลีลาศาสตร์
- ศัพทมูลวิทยา การสัมผัสภาษา การเปลี่ยนแปลงทางเสียง คำยืมภาษาถิ่น และคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
- การจำกัดความ “ภาษาถิ่น” หลักในการศึกษาภาษาถิ่น และลักษณะของภาษาไทยถิ่นต่าง ๆ
- องค์ประกอบและกลวิธีในการสร้างงานเขียนที่ดี
- การเขียนสร้างสรรค์ประเภทร้อยแก้วแบบต่าง ๆ ในภาษาไทย
- องค์ประกอบของการเล่าเรื่อง
- การประยุกต์ใช้กลวิธีการเล่าเรื่อง เพื่อสร้างสรรค์งาน เขียนร้อยแก้วภาษาไทยประเภทต่าง ๆ ทั้งในสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อสังคม
- ลักษณะภาษาไทยสมัยสุโขทัย สมัยอยุธยา และสมัยรัตนโกสินทร์
- หัวข้อที่น่าสนใจเกี่ยวกับภาษาไทย โดยเน้นประเด็นความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับสังคมและวัฒนธรรม
- หัวข้อที่น่าสนใจเกี่ยวกับวรรณคดีไทย
- วรรณคดีมุขปาฐะและวรรณคดีลายลักษณ์ของท้องถิ่นต่างๆ ทั้งในด้านประวัติความเป็นมา รูปแบบ การประพันธ์ เนื้อหา ความคิด
- ความสัมพันธ์ระหว่างวรรณคดีท้องถิ่นกับสังคมวัฒนธรรมท้องถิ่นและวรรณคดีไทย
- พระราชประวัติและพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทั้งในด้านรูปแบบ เนื้อหา และลีลา การวิเคราะห์พระราชนิพนธ์บางเรื่อง
- พระประวัติและพระนิพนธ์ในสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ในด้านรูปแบบ เนื้อหา และลีลา
- การวิเคราะห์พระนิพนธ์บางเรื่อง
- นวนิยายและเรื่องสั้นแนวต่าง ๆ ของไทยในด้านรูปแบบ เนื้อหา และความคิด
- การวิเคราะห์ผลงานที่เลือกมาศึกษา
- การศึกษาวรรณคดีไทยและวรรณกรรมไทย โดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีและแนวทางต่าง ๆ ด้านวรรณคดีและวรรณกรรมวิจารณ์
- วรรณคดีไทยที่แปลหรือนำเค้าเรื่องมาจากวรรณคดีบาลีและสันสกฤต
- รูปแบบ เนื้อหา แนวคิด และคุณค่าด้านวรรณศิลป์
- การนำทฤษฎีคติชนสร้างสรรค์มาอธิบายปรากฏการณ์ทางวัฒนธรรมในสังคมไทยร่วมสมัย
- การสร้างสรรค์นวัตกรรมเชิงทดลองจากคติชน
- การค้นคว้า วิเคราะห์ และประยุกต์ความรู้ด้านภาษาไทย วรรณคดีไทย และคติชนวิทยา เพื่อพัฒนาแนวคิดเชิงนวัตกรรมในแง่มุมต่าง ๆ
- แนวทางการเขียนโครงร่างวิจัยด้านภาษาไทย วรรณคดีไทย และคติชนวิทยา
- การพัฒนาหัวข้อวิจัย การทบทวนวรรณกรรม และการเรียบเรียงโครงร่างวิจัย
- แนวคิดและทฤษฎีที่ใช้ในการวิจัยด้านภาษาไทย วรรณคดีไทย และคติชนวิทยา
- การวิเคราะห์กรณีศึกษาเพื่อการออกแบบงานวิจัยหรือผลงานสร้างสรรค์
- การศึกษาค้นคว้าเฉพาะบุคคลด้านภาษาไทย วรรณคดีไทย หรือคติชนวิทยา เพื่อการวิจัยหรือผลิตผลงานสร้างสรรค์
(เงื่อนไขรายวิชา: รายวิชาที่ต้องสอบผ่าน 2201498 งานวิจัยและสร้างสรรค์ด้านภาษาไทย วรรณคดีไทย และคติชนวิทยา 1)
- การศึกษาค้นคว้าเฉพาะบุคคลด้านภาษาไทย วรรณคดีไทย หรือคติชนวิทยา เพื่อการวิจัยหรือผลิตผลงานสร้างสรรค์
- การนำเสนองานวิจัยหรือผลงานสร้างสรรค์ในรูปแบบการประชุมวิชาการจำลอง
- การศึกษาอย่างลึกซึ้งในหัวข้อที่น่าสนใจทางภาษา วรรณคดี หรือวัฒนธรรมไทย
หัวข้อใดหัวข้อหนึ่งหรือหลายหัวข้อ
(เงื่อนไขรายวิชา: รายวิชาที่ต้องสอบผ่าน 2201591 เอกัตศึกษา 1)
- การศึกษาอย่างลึกซึ้งในหัวข้อที่น่าสนใจทางภาษา วรรณคดี หรือวัฒนธรรมไทย
หัวข้อใดหัวข้อหนึ่งหรือหลายหัวข้อ
(เงื่อนไขรายวิชา: รายวิชาที่ต้องสอบผ่าน 2201592 เอกัตศึกษา 2)
- การศึกษาอย่างลึกซึ้งในหัวข้อที่น่าสนใจทางภาษา วรรณคดี หรือวัฒนธรรมไทย
หัวข้อใดหัวข้อหนึ่งหรือหลายหัวข้อ
(เงื่อนไขรายวิชา: รายวิชาที่ต้องสอบผ่าน 2201593 เอกัตศึกษา 3)
- การศึกษาอย่างลึกซึ้งในหัวข้อที่น่าสนใจทางภาษา วรรณคดี หรือวัฒนธรรมไทย
หัวข้อใดหัวข้อหนึ่งหรือหลายหัวข้อ
(เงื่อนไขรายวิชา: รายวิชาที่ต้องสอบผ่าน 2201594 เอกัตศึกษา 4)
- การศึกษาค้นคว้าและนำเสนอผลการวิจัย ในหัวข้อที่เกี่ยวกับภาษา วรรณคดี หรือวัฒนธรรมไทย
(เงื่อนไขรายวิชา: รายวิชาที่ต้องสอบผ่าน 2201597 ปริญญานิพนธ์ 1)
- การศึกษาค้นคว้าและนำเสนอผลการวิจัยในหัวข้อที่เกี่ยวกับภาษา วรรณคดี หรือวัฒนธรรมไทย
- การออกเสียงภาษาเขมร อักษรและอักขรวิธี ศัพท์และรูปประโยคพื้นฐาน
- ทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียนเบื้องต้น
(เงื่อนไขรายวิชา: รายวิชาที่ต้องสอบผ่าน 2244101 ภาษาเขมร 1 หรือ รายวิชาที่คณะอนุญาตให้เรียน)
- ทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาเขมร เน้นศัพท์และสำนวนเกี่ยวกับชีวิตความเป็นอยู่และวัฒนธรรมของชาวกัมพูชา
- สังคมและวัฒนธรรมเขมร เน้นขนบธรรมเนียมประเพณี พิธีกรรม และศิลปะประเภทต่าง ๆ ตั้งแต่ศตวรรษที่ 1 จนถึงปัจจุบัน
(เงื่อนไขรายวิชา: รายวิชาที่ต้องสอบผ่าน 2244101 ภาษาเขมร 1 หรือ รายวิชาที่คณะอนุญาตให้เรียน)
- การฟังและการพูดภาษาเขมรในสถานการณ์ต่าง ๆ
- การให้ข้อมูลและการแสดงความคิดเห็นในหัวข้อที่กำหนด
(เงื่อนไขรายวิชา: รายวิชาที่ต้องสอบผ่าน 2244101 ภาษาเขมร 1 หรือ รายวิชาที่คณะอนุญาตให้เรียน)
- การอ่านบทอ่านภาษาเขมรประเภทต่าง ๆ เพื่อความเข้าใจ ศัพท์ สำนวน และวัจนลีลาที่ใช้ในบทอ่านคัดสรร
(เงื่อนไขรายวิชา: รายวิชาที่ต้องสอบผ่าน 2244102 ภาษาเขมร 2)
- ระบบการเขียนภาษาเขมรโบราณ ลักษณะภาษาเขมรโบราณ สังคมและวัฒนธรรมเขมรโบราณ
- หลักเบื้องต้นในการแปลภาษาเขมรเป็นภาษาไทย
- การฝึกแปลร้อยแก้วประเภทต่าง ๆ
(เงื่อนไขรายวิชา: รายวิชาที่ต้องสอบผ่าน 2244101 ภาษาเขมร 1 หรือ รายวิชาที่คณะอนุญาตให้เรียน)
- ประวัติวรรณคดีเขมรตั้งแต่ศตวรรษที่ 7 จนถึงปัจจุบัน
- การอ่านและวิเคราะห์บทคัดสรรจากวรรณคดีเขมรที่สำคัญในแต่ละสมัย
(เงื่อนไขรายวิชา: รายวิชาที่ต้องสอบผ่าน 2244101 ภาษาเขมร 1 หรือ รายวิชาที่คณะอนุญาตให้เรียน)
- ลักษณะและโครงสร้างภาษาเขมร ระบบเสียง อักษรและอักขรวิธี ระบบคำ
- โครงสร้างวลีและประโยค ทำเนียบภาษา และถ้อยคำสำนวนในภาษาเขมร
(เงื่อนไขรายวิชา: รายวิชาที่ต้องสอบผ่าน 2244102 ภาษาเขมร 2)
- กำเนิดและพัฒนาการนวนิยายเขมรสมัยใหม่ บริบททางการเมือง สังคม และวัฒนธรรม ลักษณะเด่นของ นวนิยายประเภทต่าง ๆ
- การวิเคราะห์และวิจารณ์นวนิยายคัดสรร
- การออกเสียงภาษาลาว อักษรและอักขรวิธี ศัพท์และรูปประโยคพื้นฐาน
- ทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียนบื้องต้น
(เงื่อนไขรายวิชา: รายวิชาที่ต้องสอบผ่าน 2245101 ภาษาลาว 1)
- ทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาลาว เน้นศัพท์และสำนวนเกี่ยวกับชีวิต ความเป็นอยู่และวัฒนธรรมลาว
- การอ่านบทคัดสรรจากวรรณกรรมลาว
- สังคมและวัฒนธรรมลาว เน้นด้านภาษาและวรรณกรรม ความเชื่อและประเพณี ศิลปะประเภทต่าง ๆ วัฒนธรรมประชานิยม และสื่อสมัยใหม่
- วรรณคดีลาวตั้งแต่สมัยอาณาจักรลาวล้านช้างจนถึงปัจจุบัน เน้นภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ และลักษณะเด่นด้านรูปแบบและเนื้อหาสาระ