หลักสูตรอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)
รายละเอียดหลักสูตรอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566)
1. โครงสร้างหลักสูตร
สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาปริญญามหาบัณฑิตที่มีประสบการณ์การวิจัยและมีผลงานวิจัยที่มีคุณภาพ
จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 66 หน่วยกิต
จำนวนหน่วยกิตรายวิชาเรียน –
จำนวนหน่วยกิตวิทยานิพนธ์ 66 หน่วยกิต
นิสิตอาจต้องเรียนรายวิชาเพิ่มเติมตามความเห็นของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ทั้งนี้โดยประเมินผลเป็น S / U และไม่นับหน่วยกิตให้เป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตร
สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาบัณฑิตที่มีประสบการณ์การวิจัยและมีผลงานวิจัยที่มีคุณภาพ
จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 78 หน่วยกิต
จำนวนหน่วยกิตรายวิชาเรียน –
จำนวนหน่วยกิตวิทยานิพนธ์ 78 หน่วยกิต
นิสิตอาจต้องเรียนรายวิชาเพิ่มเติมตามความเห็นของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ทั้งนี้โดยประเมินผลเป็น S / U และไม่นับหน่วยกิตให้เป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตร
สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาปริญญามหาบัณฑิต
จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 66 หน่วยกิต
จำนวนหน่วยกิต รายวิชาเรียน 18 หน่วยกิต
รายวิชาเลือก 18 หน่วยกิต
จำนวนหน่วยกิตวิทยานิพนธ์ 48 หน่วยกิต
สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาบัณฑิต
จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 78 หน่วยกิต
จำนวนหน่วยกิต รายวิชาเรียน 30 หน่วยกิต
รายวิชาบังคับ 12 หน่วยกิต
รายวิชาเลือก 18 หน่วยกิต
จำนวนหน่วยกิตวิทยานิพนธ์ 48 หน่วยกิต
สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาปริญญามหาบัณฑิตที่มีประสบการณ์การวิจัยและมีผลงานวิจัยที่มีคุณภาพ
จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร
66 หน่วยกิต
จำนวนหน่วยกิตรายวิชาเรียน
–
จำนวนหน่วยกิตวิทยานิพนธ์
66 หน่วยกิต
นิสิตอาจต้องเรียนรายวิชาเพิ่มเติมตามความเห็นของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ทั้งนี้โดยประเมินผลเป็น S / U และไม่นับหน่วยกิตให้เป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตร
สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาบัณฑิตที่มีประสบการณ์การวิจัยและมีผลงานวิจัยที่มีคุณภาพ
จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร
78 หน่วยกิต
จำนวนหน่วยกิตรายวิชาเรียน
–
จำนวนหน่วยกิตวิทยานิพนธ์
78 หน่วยกิต
นิสิตอาจต้องเรียนรายวิชาเพิ่มเติมตามความเห็นของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ทั้งนี้โดยประเมินผลเป็น S / U และไม่นับหน่วยกิตให้เป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตร
สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาปริญญามหาบัณฑิต
จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร
66 หน่วยกิต
จำนวนหน่วยกิต
รายวิชาเรียน
18 หน่วยกิต
รายวิชาเลือก
18 หน่วยกิต
จำนวนหน่วยกิตวิทยานิพนธ์
48 หน่วยกิต
สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาบัณฑิต
จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร
78 หน่วยกิต
จำนวนหน่วยกิต
รายวิชาเรียน
30 หน่วยกิต
รายวิชาบังคับ
12 หน่วยกิต
รายวิชาเลือก
18 หน่วยกิต
จำนวนหน่วยกิตวิทยานิพนธ์
48 หน่วยกิต
2. รายวิชา
รายวิชาบังคับ (แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 และแบบ 2.2)
นิสิตในหลักสูตรทุกคนต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชา 2201894 สัมมนาวิทยานิพนธ์ระดับดุษฎีบัณฑิต ทุกภาคการศึกษาจนกว่าจะสำเร็จการศึกษาโดยไม่นับหน่วยกิต ซึ่งประเมินผลเป็น S/U
สำหรับนิสิตในหลักสูตร แบบ 1.1 และแบบ 2.1 จะต้องสอบผ่านรายวิชา 2201897 การสอบวัดคุณสมบัติ ซึ่งประเมินผลเป็น S/U ภายใน 4 ภาคการศึกษา และนิสิตในหลักสูตร แบบ 1.2 และ 2.2 จะต้องสอบผ่านรายวิชา 2201897 การสอบวัดคุณสมบัติ ซึ่งประเมินผลเป็น S/U ภายใน 5 ภาคการศึกษา
รายวิชาบังคับแบบ 2.2 (12 หน่วยกิต)
2201610 วิวิธวิธีวิจัยภาษาไทย 3 (3-0-9)
Approaches to Research on Thai
2201620 โครงสร้างของประโยคในภาษาไทย 3 (3-0-9)
Sentence Structure in Thai
2201705 วิธีวิทยาการวิจัย 3 (3-0-9)
Research Methodology
2201731 สัมมนาภาษาไทยสมัยต่าง ๆ 3 (3-0-9)
Seminar in the Thai Language of Different Periods
2201655 ทฤษฎีวรรณคดีวิจารณ์ 3 (3-0-9)
Theories of Literary Criticism
2201705 วิธีวิทยาการวิจัย 3 (3-0-9)
Research Methodology
2201751 สัมมนาวรรณคดีไทยต่างสมัย 3 (3-0-9)
Seminar on Thai Literature of Different Periods
2201752 สัมมนาวรรณกรรมไทยปัจจุบัน 3 (3-0-9)
Seminar in Modern Thai Literature
2201680 ทฤษฎีคติชนวิทยา 3 (3-0-9)
Folklore Theories
2201683 การวิจัยภาคสนามทางคติชนวิทยา 3 (3-0-9)
Folklore Field Research
2201705 วิธีวิทยาการวิจัย 3 (3-0-9)
Research Methodology
2201782 สัมมนาคติชนสมัยใหม่ 3 (3-0-9)
Seminar in Modern Folklore
2201610 วิวิธวิธีวิจัยภาษาไทย
3 (3-0-9)
Approaches to Research on Thai
2201620 โครงสร้างของประโยคในภาษาไทย
3 (3-0-9)
Sentence Structure in Thai
2201705 วิธีวิทยาการวิจัย
3 (3-0-9)
Research Methodology
2201731 สัมมนาภาษาไทยสมัยต่าง ๆ
3 (3-0-9)
Seminar in the Thai Language of Different Periods
2201655 ทฤษฎีวรรณคดีวิจารณ์
3 (3-0-9)
Theories of Literary Criticism
2201705 วิธีวิทยาการวิจัย
3 (3-0-9)
Research Methodology
2201751 สัมมนาวรรณคดีไทยต่างสมัย
3 (3-0-9)
Seminar on Thai Literature of Different Periods
2201752 สัมมนาวรรณกรรมไทยปัจจุบัน
3 (3-0-9)
Seminar in Modern Thai Literature
2201680 ทฤษฎีคติชนวิทยา
3 (3-0-9)
Folklore Theories
2201683 การวิจัยภาคสนามทางคติชนวิทยา
3 (3-0-9)
Folklore Field Research
2201705 วิธีวิทยาการวิจัย
3 (3-0-9)
Research Methodology
2201782 สัมมนาคติชนสมัยใหม่
3 (3-0-9)
Seminar in Modern Folklore
รายวิชาเลือกแบบ 2.1 และ 2.2 (18 หน่วยกิต)
โดยให้นิสิตเลือกจากรายวิชาต่อไปนี้
2201606 ภาษากับวรรณกรรมไทย 3 (3-0-9)
Thai Language and Literary Works
2201607 ภาษากับวัฒนธรรมไทย 3 (3-0-9)
Thai Language and Culture
2201609 อรรถวิเคราะห์ 3 (3-0-9)
Semantic Analysis
2201611 การศึกษาภาษาไทยถิ่น 3 (3-0-9)
Thai Dialectology
2201612 ภาษาไทเชิงประวัติและภาษาไทเปรียบเทียบ 3 (3-0-9)
Comparative and Historical Tai
2201621* ศิลปะการสื่อสารภาษาไทยขั้นสูง 3 (3-0-9)
The Art of Advanced Thai Communication
2201626 สัทศาสตร์และสัทวิทยาภาษาไทย 3 (3-0-9)
Thai Phonetics and Phonology
2201630 ภาษาของประเทศใกล้เคียง 3 (3-0-9)
Languages of Neighbouring Countries
2201632 ปริจเฉทในภาษาไทย 3 (3-0-9)
Thai Discourse
2201637 ระบบคำภาษาไทย 3 (3-0-9)
Thai Morphology
2201719 ภาษาไทยในฐานะภาษาที่สอง 3 (3-0-9)
Thai as a Second Language
2201720 สัมมนาภาษาไทยในฐานะภาษาที่สอง 3 (3-0-9)
Seminar in Thai as a Second Language
2201721 สัมมนาภาษาไทยปัจจุบัน 3 (3-0-9)
Seminar in Modern Thai
2201725 สัมมนาภาษาต่างประเทศที่สัมพันธ์กับภาษาไทย 3 (3-0-9)
Seminar in Foreign Languages in Relation to Thai
2201783 การวิเคราะห์ภาษาไทยตามแนววัจนปฏิบัติศาสตร์ 3 (3-0-9)
Pragmatic Analysis of Thai
2201784 สัมมนาภาษาสื่อสารมวลชน 3 (3-0-9)
Seminar on Mass Media Language
2201786* ภาษาไทยในฐานะภาษากลางในการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม 3 (3-0-9)
Thai as a Lingua Franca in Intercultural Communication
2201790 วัจนปฏิบัติศาสตร์ภาษาระหว่างกลางและวัจนปฏิบัติศาสตร์ระหว่างวัฒนธรรมกับการศึกษาภาษาไทย 3 (3-0-9)
Interlanguage Pragmatics and Intercultural Pragmatics and the Study of Thai
2201860 จารึกและอักษรไทย 3 (3-0-9)
Epigraphy and the Thai Alphabet
2201862 สัมมนาภาษาไทยปัจจุบัน 3 (3-0-9)
Seminar in Modern Thai
2201863 สัมมนาภาษาไทยสมัยเก่า 3 (3-0-9)
Seminar in Old Thai
2201865 ภาษาไทยวิเคราะห์ 3 (3-0-9)
Analysis of Thai
2201866 วิวัฒนาการของภาษาไทย 3 (3-0-9)
The Development of the Thai Language
2201867 ภาษาไทยกับสังคมไทย 3 (3-0-9)
Thai Language and Thai Society
2201868 พจนานุกรม 3 (3-0-9)
Lexicography
2201869 สัมมนาภาษาตระกูลไท 3 (3-0-9)
Seminar in Tai Dialects
2201871 สัมมนาการปฏิสัมพันธ์ในภาษาไทย 3 (3-0-9)
Seminar in Thai Interaction
2201872* สัมมนาภาษาไทยกับสังคมไทย 3 (3-0-9)
Seminar in Thai Language and Thai Society
2201873 การศึกษาพิเศษทางภาษาศาสตร์ภาษาไทย 3 (3-0-9)
Special Studies in Thai Linguistics
2201885 การศึกษาพิเศษทางภาษาไทย 3 (3-0-9)
Special Studies in Thai Language
_____________________________
* รายวิชาเปิดใหม่
2201606 ภาษากับวรรณกรรมไทย 3 (3-0-9)
Thai Language and Literary Works
2201607 ภาษากับวัฒนธรรมไทย 3 (3-0-9)
Thai Language and Culture
2201660 วรรณกรรมชนชาติไท 3 (3-0-9)
Tai Literature
2201661 วรรณคดีพุทธศาสนาพากย์ไทย 3 (3-0-9)
Thai Version of Buddhist Literature
2201663 ฉันทลักษณ์ไทย 3 (3-0-9)
Thai Prosody
2201664 วรรณคดีไทยเฉพาะสมัย 3 (3-0-9)
Thai Literature of a Specific Period
2201665 วรรณคดีไทยเฉพาะประเภท 3 (3-0-9)
Thai Literature of a Specific Genre
2201666 วรรณคดีเอกของไทย 3 (3-0-9)
Masterpieces of Thai Literature
2201668 วรรณคดีไทยสัมพันธ์ 3 (3-0-9)
Thai Literary Relation
2201669 ทฤษฎีสื่อกับการศึกษาวรรณกรรมไทย 3 (3-0-9)
Media Theory and Thai Literary Study
2201671 การศึกษาวรรณกรรมไทยเชิงสังคมและวัฒนธรรม 3 (3-0-9)
Socio-Cultural Study of Thai Literature
2201681 วรรณคดีท้องถิ่นเปรียบเทียบ 3 (3-0-9)
Comparative Local Literature
2201753 สัมมนาวรรณคดีไทยที่มาจากวรรณคดีต่างประเทศ 3 (3-0-9)
Seminar in Thai Literature of Foreign Origin
2201755* วรรณคดีไทยที่แปลจากวรรณคดีต่างประเทศ 3 (3-0-9)
Thai Literature Translated from Foreign Literature
2201772 สัมมนานวนิยายและเรื่องสั้น 3 (3-0-9)
Seminar in Thai Novels and Short Stories
2201785 วรรณคดีไทยกับทฤษฎีวรรณคดีตะวันตกร่วมสมัย 3 (3-0-9)
Thai Literature and Contemporary Western Literary Theories
2201787 วรรณคดีของประเทศใกล้เคียง 3 (3-0-9)
Literature of Neighbouring Countries
2201788 คติชนกับวรรณคดีไทย 3 (3-0-9)
Folklore and Thai Literature
2201836 สัมมนาวรรณคดีเฉพาะแบบ 3 (3-0-9)
Seminar in Literature of Specific Genres
2201837 สัมมนาวรรณคดีพุทธศาสนา 3 (3-0-9)
Seminar in Buddhist Literature
2201838 สัมมนาวรรณกรรมพื้นบ้านไทย 3 (3-0-9)
Seminar in Thai Folktales
2201840 สัมมนาทฤษฎีวรรณคดีวิจารณ์ 3 (3-0-9)
Seminar in the Theories of Literary Criticism
2201842 วรรณคดีกับสังคมไทย 3 (3-0-9)
Thai Literature and Thai Society
2201843 สัมมนาวรรณคดีชาดก 3 (3-0-9)
Seminar in the Jataka Literature
2201846 การศึกษาวรรณคดีไทยในเชิงมานุษยวิทยา 3 (3-0-9)
An Anthropological Approach to Thai Literature
2201849 เทวปกรณ์อินเดียที่สัมพันธ์กับวรรณคดีไทย 3 (3-0-9)
Indian Mythology Relating to Thai Literature
2201853 สัมมนาวรรณคดีสุโขทัย 3 (3-0-9)
Seminar in Literature of the Sukhothai Period
2201854 สัมมนาบทประพันธ์ของบุคคลสำคัญ 3 (3-0-9)
Seminar in the Writings of Prominent Figures
2201855 สัมมนาวรรณคดีรัตนโกสินทร์ 3 (3-0-9)
Seminar in Literature of the Ratanakosin Period
2201856 สัมมนาวรรณคดีอยุธยา 3 (3-0-9)
Seminar in Literature of the Ayudhaya Period
2201884 สัมมนาวรรณกรรมไทยปัจจุบัน 3 (3-0-9)
Seminar in Modern Thai Literary Works
2201886 การศึกษาพิเศษทางวรรณคดีไทย 1 3 (3-0-9)
Special Studies in Thai Literature I
2201887 การศึกษาพิเศษทางวรรณคดีไทย 2 3 (3-0-9)
Special Studies in Thai Literature II
_______________________________
* รายวิชาเปิดใหม่
2201616 คติชนประยุกต์ 3 (3-0-9)
Applied Folklore
2201660 วรรณกรรมชนชาติไท 3 (3-0-9)
Tai Literature
2201681 วรรณคดีท้องถิ่นเปรียบเทียบ 3 (3-0-9)
Comparative Local Literature
2201788 คติชนกับวรรณคดีไทย 3 (3-0-9)
Folklore and Thai Literature
2201835 สัมมนาคติชนกับวรรณกรรมท้องถิ่น 3 (3-0-9)
Seminar in Folklore and Local Literature
2201838 สัมมนาวรรณกรรมพื้นบ้านไทย 3 (3-0-9)
Seminar in Thai Folktales
2201839 สัมมนางานวิจัยคติชนไทย 3 (3-0-9)
Seminar in Thai Folklore Research
2201841 งานภาคสนามเพื่อการวิจัยทางคติชนวิทยา 3 (3-0-9)
Fieldwork for Folklore Research
2201843 สัมมนาวรรณคดีชาดก 3 (3-0-9)
Seminar in the Jataka Literature
2201844 ประเด็นศึกษาพิเศษทางคติชนวิทยา 3 (3-0-9)
Special Issues in Folklore Studies
2201845 สัมมนาทฤษฎีคติชนวิทยา 3 (3-0-9)
Seminar in the Theories of Folklore
2201847 สัมมนาคติชนเปรียบเทียบ 3 (3-0-9)
Seminar in Comparative Folklore
2201848 สัมมนาภาษากับคติชน 3 (3-0-9)
Seminar in Language and Folklore
2201851 สัมมนาคติชนสมัยใหม่และวัฒนธรรมประชานิยม 3 (3-0-9)
Seminar in Modern Folklore and Popular Culture
2201852 สัมมนาคติชนเฉพาะประเภท 3 (3-0-9)
Seminar in Specific Folklore Genres
2201857 สัมมนาตำนานกับพิธีกรรม 3 (3-0-9)
Seminar in Myth and Ritual
2201858 มานุษยวิทยาศาสนา 3 (3-0-9)
Anthropology of Religion
2201859 สัมมนาคติชนและวรรณกรรมชนชาติไท 3 (3-0-9)
Seminar in Tai Folklore and Literature
2201879 การศึกษาพิเศษทางคติชนวิทยา 1 3 (3-0-9)
Special Studies in Folklore I
2201880 การศึกษาพิเศษทางคติชนวิทยา 2 3 (3-0-9)
Special Studies in Folklore II
2201606 ภาษากับวรรณกรรมไทย
3 (3-0-9)
Thai Language and Literary Works
2201607 ภาษากับวัฒนธรรมไทย
3 (3-0-9)
Thai Language and Culture
2201609 อรรถวิเคราะห์
3 (3-0-9)
Semantic Analysis
2201611 การศึกษาภาษาไทยถิ่น
3 (3-0-9)
Thai Dialectology
2201612 ภาษาไทเชิงประวัติและภาษาไทเปรียบเทียบ
3 (3-0-9)
Comparative and Historical Tai
2201621* ศิลปะการสื่อสารภาษาไทยขั้นสูง
3 (3-0-9)
The Art of Advanced Thai Communication
2201626 สัทศาสตร์และสัทวิทยาภาษาไทย
3 (3-0-9)
Thai Phonetics and Phonology
2201630 ภาษาของประเทศใกล้เคียง
3 (3-0-9)
Languages of Neighbouring Countries
2201632 ปริจเฉทในภาษาไทย
3 (3-0-9)
Thai Discourse
2201637 ระบบคำภาษาไทย
3 (3-0-9)
Thai Morphology
2201719 ภาษาไทยในฐานะภาษาที่สอง
3 (3-0-9)
Thai as a Second Language
2201720 สัมมนาภาษาไทยในฐานะภาษาที่สอง
3 (3-0-9)
Seminar in Thai as a Second Language
2201721 สัมมนาภาษาไทยปัจจุบัน
3 (3-0-9)
Seminar in Modern Thai
2201725 สัมมนาภาษาต่างประเทศที่สัมพันธ์กับภาษาไทย
3 (3-0-9)
Seminar in Foreign Languages in Relation to Thai
2201783 การวิเคราะห์ภาษาไทยตามแนววัจนปฏิบัติศาสตร์
3 (3-0-9)
Pragmatic Analysis of Thai
2201784 สัมมนาภาษาสื่อสารมวลชน
3 (3-0-9)
Seminar on Mass Media Language
2201786* ภาษาไทยในฐานะภาษากลางในการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม
3 (3-0-9)
Thai as a Lingua Franca in Intercultural Communication
2201790 วัจนปฏิบัติศาสตร์ภาษาระหว่างกลางและวัจนปฏิบัติศาสตร์ระหว่างวัฒนธรรมกับการศึกษาภาษาไทย
3 (3-0-9)
Interlanguage Pragmatics and Intercultural Pragmatics and the Study of Thai
2201860 จารึกและอักษรไทย
3 (3-0-9)
Epigraphy and the Thai Alphabet
2201862 สัมมนาภาษาไทยปัจจุบัน
3 (3-0-9)
Seminar in Modern Thai
2201863 สัมมนาภาษาไทยสมัยเก่า
3 (3-0-9)
Seminar in Old Thai
2201865 ภาษาไทยวิเคราะห์
3 (3-0-9)
Analysis of Thai
2201866 วิวัฒนาการของภาษาไทย
3 (3-0-9)
The Development of the Thai Language
2201867 ภาษาไทยกับสังคมไทย
3 (3-0-9)
Thai Language and Thai Society
2201868 พจนานุกรม
3 (3-0-9)
Lexicography
2201869 สัมมนาภาษาตระกูลไท
3 (3-0-9)
Seminar in Tai Dialects
2201871 สัมมนาการปฏิสัมพันธ์ในภาษาไทย
3 (3-0-9)
Seminar in Thai Interaction
2201872* สัมมนาภาษาไทยกับสังคมไทย
3 (3-0-9)
Seminar in Thai Language and Thai Society
2201873 การศึกษาพิเศษทางภาษาศาสตร์ภาษาไทย
3 (3-0-9)
Special Studies in Thai Linguistics
2201885 การศึกษาพิเศษทางภาษาไทย
3 (3-0-9)
Special Studies in Thai Language
_____________________________
* รายวิชาเปิดใหม่
2201606 ภาษากับวรรณกรรมไทย
3 (3-0-9)
Thai Language and Literary Works
2201607 ภาษากับวัฒนธรรมไทย
3 (3-0-9)
Thai Language and Culture
2201660 วรรณกรรมชนชาติไท
3 (3-0-9)
Tai Literature
2201661 วรรณคดีพุทธศาสนาพากย์ไทย
3 (3-0-9)
Thai Version of Buddhist Literature
2201663 ฉันทลักษณ์ไทย
3 (3-0-9)
Thai Prosody
2201664 วรรณคดีไทยเฉพาะสมัย
3 (3-0-9)
Thai Literature of a Specific Period
2201665 วรรณคดีไทยเฉพาะประเภท
3 (3-0-9)
Thai Literature of a Specific Genre
2201666 วรรณคดีเอกของไทย
3 (3-0-9)
Masterpieces of Thai Literature
2201668 วรรณคดีไทยสัมพันธ์
3 (3-0-9)
Thai Literary Relation
2201669 ทฤษฎีสื่อกับการศึกษาวรรณกรรมไทย
3 (3-0-9)
Media Theory and Thai Literary Study
2201671 การศึกษาวรรณกรรมไทยเชิงสังคมและวัฒนธรรม
3 (3-0-9)
Socio-Cultural Study of Thai Literature
2201681 วรรณคดีท้องถิ่นเปรียบเทียบ
3 (3-0-9)
Comparative Local Literature
2201753 สัมมนาวรรณคดีไทยที่มาจากวรรณคดีต่างประเทศ
3 (3-0-9)
Seminar in Thai Literature of Foreign Origin
2201755* วรรณคดีไทยที่แปลจากวรรณคดีต่างประเทศ
3 (3-0-9)
Thai Literature Translated from Foreign Literature
2201772 สัมมนานวนิยายและเรื่องสั้น
3 (3-0-9)
Seminar in Thai Novels and Short Stories
2201785 วรรณคดีไทยกับทฤษฎีวรรณคดีตะวันตกร่วมสมัย
3 (3-0-9)
Thai Literature and Contemporary Western Literary Theories
2201787 วรรณคดีของประเทศใกล้เคียง
3 (3-0-9)
Literature of Neighbouring Countries
2201788 คติชนกับวรรณคดีไทย
3 (3-0-9)
Folklore and Thai Literature
2201836 สัมมนาวรรณคดีเฉพาะแบบ
3 (3-0-9)
Seminar in Literature of Specific Genres
2201837 สัมมนาวรรณคดีพุทธศาสนา
3 (3-0-9)
Seminar in Buddhist Literature
2201838 สัมมนาวรรณกรรมพื้นบ้านไทย
3 (3-0-9)
Seminar in Thai Folktales
2201840 สัมมนาทฤษฎีวรรณคดีวิจารณ์
3 (3-0-9)
Seminar in the Theories of Literary Criticism
2201842 วรรณคดีกับสังคมไทย
3 (3-0-9)
Thai Literature and Thai Society
2201843 สัมมนาวรรณคดีชาดก
3 (3-0-9)
Seminar in the Jataka Literature
2201846 การศึกษาวรรณคดีไทยในเชิงมานุษยวิทยา
3 (3-0-9)
An Anthropological Approach to Thai Literature
2201849 เทวปกรณ์อินเดียที่สัมพันธ์กับวรรณคดีไทย
3 (3-0-9)
Indian Mythology Relating to Thai Literature
2201853 สัมมนาวรรณคดีสุโขทัย
3 (3-0-9)
Seminar in Literature of the Sukhothai Period
2201854 สัมมนาบทประพันธ์ของบุคคลสำคัญ
3 (3-0-9)
Seminar in the Writings of Prominent Figures
2201855 สัมมนาวรรณคดีรัตนโกสินทร์
3 (3-0-9)
Seminar in Literature of the Ratanakosin Period
2201856 สัมมนาวรรณคดีอยุธยา
3 (3-0-9)
Seminar in Literature of the Ayudhaya Period
2201884 สัมมนาวรรณกรรมไทยปัจจุบัน
3 (3-0-9)
Seminar in Modern Thai Literary Works
2201886 การศึกษาพิเศษทางวรรณคดีไทย 1
3 (3-0-9)
Special Studies in Thai Literature I
2201887 การศึกษาพิเศษทางวรรณคดีไทย 2
3 (3-0-9)
Special Studies in Thai Literature II
_______________________________
* รายวิชาเปิดใหม่
2201616 คติชนประยุกต์
3 (3-0-9)
Applied Folklore
2201660 วรรณกรรมชนชาติไท
3 (3-0-9)
Tai Literature
2201681 วรรณคดีท้องถิ่นเปรียบเทียบ
3 (3-0-9)
Comparative Local Literature
2201788 คติชนกับวรรณคดีไทย
3 (3-0-9)
Folklore and Thai Literature
2201835 สัมมนาคติชนกับวรรณกรรมท้องถิ่น
3 (3-0-9)
Seminar in Folklore and Local Literature
2201838 สัมมนาวรรณกรรมพื้นบ้านไทย
3 (3-0-9)
Seminar in Thai Folktales
2201839 สัมมนางานวิจัยคติชนไทย
3 (3-0-9)
Seminar in Thai Folklore Research
2201841 งานภาคสนามเพื่อการวิจัยทางคติชนวิทยา
3 (3-0-9)
Fieldwork for Folklore Research
2201843 สัมมนาวรรณคดีชาดก
3 (3-0-9)
Seminar in the Jataka Literature
2201844 ประเด็นศึกษาพิเศษทางคติชนวิทยา
3 (3-0-9)
Special Issues in Folklore Studies
2201845 สัมมนาทฤษฎีคติชนวิทยา
3 (3-0-9)
Seminar in the Theories of Folklore
2201847 สัมมนาคติชนเปรียบเทียบ
3 (3-0-9)
Seminar in Comparative Folklore
2201848 สัมมนาภาษากับคติชน
3 (3-0-9)
Seminar in Language and Folklore
2201851 สัมมนาคติชนสมัยใหม่และวัฒนธรรมประชานิยม
3 (3-0-9)
Seminar in Modern Folklore and Popular Culture
2201852 สัมมนาคติชนเฉพาะประเภท
3 (3-0-9)
Seminar in Specific Folklore Genres
2201857 สัมมนาตำนานกับพิธีกรรม
3 (3-0-9)
Seminar in Myth and Ritual
2201858 มานุษยวิทยาศาสนา
3 (3-0-9)
Anthropology of Religion
2201859 สัมมนาคติชนและวรรณกรรมชนชาติไท
3 (3-0-9)
Seminar in Tai Folklore and Literature
2201879 การศึกษาพิเศษทางคติชนวิทยา 1
3 (3-0-9)
Special Studies in Folklore I
2201880 การศึกษาพิเศษทางคติชนวิทยา 2
3 (3-0-9)
Special Studies in Folklore II
หมายเหตุ
1. คณะกรรมการบริหารหลักสูตรฯ อาจพิจารณาให้นิสิตดุษฎีบัณฑิตแบบ 2.1 ที่มีคุณสมบัติดังต่อไปนี้ลงทะเบียนเรียนรายวิชาบังคับโดยไม่นับหน่วยกิต (ประเมินผลเป็น S/U)
1.1 นิสิตที่ไม่ได้สำเร็จการศึกษาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย จุฬาฯ
1.2 นิสิตที่สำเร็จการศึกษาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย จุฬาฯ มาแล้วเกิน 2 ปีการศึกษา
1.3 นิสิตที่สำเร็จการศึกษาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย จุฬาฯ มาแล้วไม่เกิน 2 ปีการศึกษา แต่ได้คะแนนรายวิชาบังคับที่เคยศึกษามาต่ำกว่าระดับ A
2. นิสิตดุษฎีบัณฑิตแบบ 2.1 ที่สำเร็จการศึกษาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย จุฬาฯ มาแล้วไม่เกิน 2 ปีการศึกษา และได้คะแนนรายวิชาเลือกระดับ A สามารถนำมายกเว้นหน่วยกิตได้ไม่เกิน 6 หน่วยกิต
3. นิสิตสามารถลงทะเบียนเรียนรายวิชาบังคับหรือรายวิชาเลือกของต่างสาย และนับหน่วยกิตเป็นรายวิชาเลือกได้
4. นิสิตสามารถลงทะเบียนเรียนรายวิชาอื่นๆ นอกหลักสูตร และนับหน่วยกิตเป็นรายวิชาเลือกได้ ตามความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรฯ
3. รายวิชาวิทยานิพนธ์
2201828 วิทยานิพนธ์ (แบบ 2.1 และแบบ 2.2) 48 (0-192-0)
Dissertation
2201832 วิทยานิพนธ์ (แบบ 1.1) 66 (0-264-0)
Dissertation
2201834 วิทยานิพนธ์ (แบบ 1.2) 78 (0-312-0)
Dissertation
3.1 สัมมนาวิทยานิพนธ์ระดับดุษฎีบัณฑิต
2201894 สัมมนาวิทยานิพนธ์ระดับดุษฎีบัณฑิต S/U
Doctoral Dissertation Seminar
3.2 การสอบวัดคุณสมบัติ
2201897 การสอบวัดคุณสมบัติ S/U
Qualifying Examination
2201828 วิทยานิพนธ์ (แบบ 2.1 และแบบ 2.2)
48 (0-192-0)
Dissertation
2201832 วิทยานิพนธ์ (แบบ 1.1)
66 (0-264-0)
Dissertation
2201834 วิทยานิพนธ์ (แบบ 1.2)
78 (0-312-0)
Dissertation
3.1 สัมมนาวิทยานิพนธ์ระดับดุษฎีบัณฑิต
2201894 สัมมนาวิทยานิพนธ์ระดับดุษฎีบัณฑิต
S/U
Doctoral Dissertation Seminar
3.2 การสอบวัดคุณสมบัติ
2201897 การสอบวัดคุณสมบัติ
S/U
Qualifying Examination
4. แผนการศึกษา
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาต้น
2201832 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
รวม 12 หน่วยกิต
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาปลาย
2201832 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
รวม 12 หน่วยกิต
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาต้น
2201832 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
รวม 12 หน่วยกิต
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาปลาย
2201832 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
รวม 12 หน่วยกิต
ปีที่ 3 ภาคการศึกษาต้น
2201832 วิทยานิพนธ์ 9 หน่วยกิต
รวม 9 หน่วยกิต
ปีที่ 3 ภาคการศึกษาปลาย
2201832 วิทยานิพนธ์ 9 หน่วยกิต
รวม 9 หน่วยกิต
รวมตลอดหลักสูตร 66 หน่วยกิต
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาต้น
2201834 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
รวม 12 หน่วยกิต
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาปลาย
2201834 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
รวม 12 หน่วยกิต
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาต้น
2201834 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
รวม 12 หน่วยกิต
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาปลาย
2201834 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
รวม 12 หน่วยกิต
ปีที่ 3 ภาคการศึกษาต้น
2201834 วิทยานิพนธ์ 9 หน่วยกิต
รวม 9 หน่วยกิต
ปีที่ 3 ภาคการศึกษาปลาย
2201834 วิทยานิพนธ์ 9 หน่วยกิต
รวม 9 หน่วยกิต
ปีที่ 4 ภาคการศึกษาต้น
2201834 วิทยานิพนธ์ 6 หน่วยกิต
รวม 6 หน่วยกิต
ปีที่ 4 ภาคการศึกษาปลาย
2201834 วิทยานิพนธ์ 6 หน่วยกิต
รวม 6 หน่วยกิต
รวมตลอดหลักสูตร 78 หน่วยกิต
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาต้น
รายวิชาเลือก 9 หน่วยกิต
รวม 9 หน่วยกิต
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาปลาย
รายวิชาเลือก 9 หน่วยกิต
รวม 9 หน่วยกิต
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาต้น
2201828 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
รวม 12 หน่วยกิต
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาปลาย
2201828 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
รวม 12 หน่วยกิต
ปีที่ 3 ภาคการศึกษาต้น
2201828 วิทยานิพนธ์ 12หน่วยกิต
รวม 12 หน่วยกิต
ปีที่ 3 ภาคการศึกษาปลาย
2201828 วิทยานิพนธ์ 12หน่วยกิต
รวม 12 หน่วยกิต
รวมตลอดหลักสูตร 66 หน่วยกิต
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาต้น
รายวิชาบังคับ 12 หน่วยกิต
รวม 12 หน่วยกิต
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาปลาย
รายวิชาเลือก 12 หน่วยกิต
รวม 12 หน่วยกิต
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาต้น
รายวิชาเลือก 6 หน่วยกิต
2201828 วิทยานิพนธ์ 9 หน่วยกิต
รวม 15 หน่วยกิต
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาปลาย
2201828 วิทยานิพนธ์ 9 หน่วยกิต
รวม 9 หน่วยกิต
ปีที่ 3 ภาคการศึกษาต้น
2201828 วิทยานิพนธ์ 9 หน่วยกิต
รวม 9 หน่วยกิต
ปีที่ 3 ภาคการศึกษาปลาย
2201828 วิทยานิพนธ์ 9 หน่วยกิต
รวม 9 หน่วยกิต
ปีที่ 4 ภาคการศึกษาต้น
2201828 วิทยานิพนธ์ 6 หน่วยกิต
รวม 6 หน่วยกิต
ปีที่ 4 ภาคการศึกษาปลาย
2201828 วิทยานิพนธ์ 6 หน่วยกิต
รวม 6 หน่วยกิต
รวมตลอดหลักสูตร 78 หน่วยกิต
5. คำอธิบายรายวิชา
- ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาไทยกับวรรณกรรมไทย การใช้วัจนลีลาศาสตร์เชิงวรรณศิลป์วิเคราะห์ วรรณกรรมไทย
- ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาไทยกับวัฒนธรรมไทยในมิติต่าง ๆ
- การวิเคราะห์ความหมายของคำและประโยคในภาษาไทยตามแนวทฤษฎีทางความหมาย
- ทฤษฎีภาษาศาสตร์ นิรุกติศาสตร์ การสื่อสาร และคติชนวิทยาที่ใช้วิจัยภาษาไทย
- ความเหมือนและความต่างระหว่างภาษาไทยถิ่นต่าง ๆ การเขียนแผนที่ภาษาถิ่น
- ภาษาไทเชิงประวัติ การสืบสร้างภาษาไทดั้งเดิมและการเปรียบเทียบภาษาตระกูลไท
- ความหมายและความเป็นมาของคติชนประยุกต์ ประเด็นทางสังคมและวัฒนธรรมจากมุมมองเชิงทฤษฎีและวิธีวิทยาทางคติชนวิทยา การประยุกต์ใช้ทฤษฎีและวิธีวิทยาทางคติชนวิทยาเพื่อแก้ไขปัญหาทางสังคมและวัฒนธรรม
- การวิเคราะห์หมวดคำชนิดต่าง ๆ ส่วนประกอบและโครงสร้างของวลีและประโยคชนิดต่าง ๆ
- หลักและวิธีการอ่านตีความ การวิเคราะห์ และการเขียนงานเขียนประเภทต่าง ๆ ทักษะการพูดในที่ชุมนุมชน การเตรียมและการกล่าวคำกล่าวแบบต่าง ๆ
- การวิเคราะห์ระบบเสียงภาษาไทยโดยใช้ทฤษฎีสัทวิทยาสำนักต่าง ๆ
- ระบบไวยากรณ์และระบบการเขียนของภาษาใดภาษาหนึ่งต่อไปนี้ : ภาษาบาลี สันสกฤต เขมร มอญ มลายู พม่า จีนกลาง เวียดนาม ความสัมพันธ์ของภาษาดังกล่าวกับภาษาไทย
- การวิเคราะห์ปริจเฉทแบบต่าง ๆ ในภาษาไทยตามแนวทฤษฎีปริจเฉทวิเคราะห์
การวิเคราะห์ระบบคำภาษาไทยโดยใช้ทฤษฎีโครงสร้างแนวต่าง ๆ
- ทฤษฎีการวิจารณ์วรรณคดีตะวันออกและตะวันตกเพื่อศึกษาการวิจารณ์วรรณคดีไทย
- พื้นฐานสังคมวัฒนธรรมของคนไท องค์ความรู้และลักษณะของคติชนและวรรณกรรมของชนชาติไท
- บทบาท หน้าที่ และการถ่ายทอดคติชนและวรรณกรรมในสังคมวัฒนธรรมของชนชาติไท
- วรรณคดีพุทธศาสนาที่แปลมาจากภาษาบาลี สันสกฤต และที่แต่งขึ้นในประเทศไทย
- รูปแบบและวิวัฒนาการของบทเพลงพื้นบ้านและวรรณคดีไทย และความสัมพันธ์ของคำประพันธ์กับเนื้อหา
- วรรณคดีไทยสมัยใดสมัยหนึ่ง ลักษณะร่วมทางจารีตวรรณคดีของสมัยดังกล่าว ทั้งในด้านรูปแบบเนื้อหา การใช้ภาษา รวมทั้งกลวิธีการแต่ง
- วรรณคดีไทยประเภทใดประเภทหนึ่ง ความสัมพันธ์และพัฒนาการภายในกลุ่ม ความหลากหลายทั้งในด้านรูปแบบ เนื้อหา แนวคิด และการแสดงออก
- การวิเคราะห์วรรณคดีไทยที่ได้รับยกย่องว่าเป็นเลิศจากวงการวรรณคดี
- ประเด็นที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างวรรณคดีไทยกับวรรณคดีชาติอื่น หรือความสัมพันธ์ระหว่างวรรณคดีไทยกับศาสตร์สาขาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
- กรอบแนวคิดต่างๆ ของทฤษฎีสื่อ ได้แก่ การศึกษาภาพถ่าย ภาพยนตร์ และสื่อดิจิทัลอื่น ๆ
- การประยุกต์ใช้กรอบแนวคิดของทฤษฎีสื่อในการวิเคราะห์วรรณกรรมไทย
- การวิเคราะห์วรรณกรรมไทยในแง่สังคมและวัฒนธรรมในบริบททางสังคมและวัฒนธรรมของผู้แต่งและผู้อ่าน
- ประวัติความเป็นมาของการศึกษาคติชนวิทยา ทฤษฎีต่างๆ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคติชน บทบาทและหน้าที่ของคติชนในปริบททางสังคมและวัฒนธรรม
- การเปรียบเทียบวรรณคดีท้องถิ่นต่าง ๆ ในด้านที่มา เนื้อหา รูปแบบ ความคิดเห็น และการแสดงออกทางวัฒนธรรม
- วิธีวิทยาการวิจัย และการปฏิบัติการภาคสนามทางคติชนวิทยา
- วิธีวิทยาการวิจัยเพื่อศึกษาภาษาไทย วรรณคดีไทย และคติชนวิทยา การวิเคราะห์และอภิปรายตัวอย่างงานวิจัยที่ดีเพื่อประยุกต์ใช้ในการออกแบบงานวิจัยของนิสิต
- แนวทางที่เกี่ยวข้องกับภาษาไทยในฐานะภาษาที่สอง ได้แก่ การรับภาษาที่สอง การถ่ายโอนทางภาษา การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม ประเด็นทางภาษาและวรรณกรรมไทยที่เป็นประโยชน์ต่อการเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาที่สอง
- ประเด็นที่น่าสนใจเกี่ยวกับภาษาไทยในฐานะภาษาที่สอง
- การวิเคราะห์และอภิปรายปัญหาต่างๆ เกี่ยวกับการใช้ภาษาไทยในปัจจุบัน และการเสนอแนวทางแก้ไขปัญหา
- การวิเคราะห์และอภิปรายเกี่ยวกับศัพท์และถ้อยคำสำนวนภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
- การเปลี่ยนแปลงของภาษาไทยที่เกิดจากอิทธิพลของภาษาต่างประเทศ
- การวิเคราะห์และอภิปรายเกี่ยวกับภาษาไทยสมัยต่าง ๆ ตั้งแต่สมัยสุโขทัยถึงรัตนโกสินทร์ เน้นสมัยใดสมัยหนึ่งเป็นพิเศษ
- การวิเคราะห์และอภิปรายวรรณคดีไทยประเภทเดียวกัน หรือเรื่องเดียวกันที่แต่งต่างสมัย
- การวิเคราะห์และอภิปรายมิติต่าง ๆ ของวรรณกรรมไทยปัจจุบัน ทั้งกวีนิพนธ์ นวนิยาย เรื่องสั้นสารคดีและรูปแบบงานวรรณศิลป์ร่วมสมัยอื่น ๆ
- การวิเคราะห์และอภิปรายเกี่ยวกับที่มา รูปแบบ เนื้อหา แนวคิด และคุณค่าเชิงวรรณศิลป์ของวรรณคดีไทยที่แปลหรือนำเค้าเรื่องมาจากวรรณคดีต่างประเทศ
- การวิเคราะห์วรรณคดีไทยที่แปลมาจากวรรณคดีต่างประเทศในด้านที่มา รูปแบบ เนื้อหา และแก่นเรื่อง การประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฎีการแปลเพื่อศึกษาวรรณคดีไทยที่แปลจากวรรณคดีต่างประเทศ
- การวิเคราะห์และอภิปรายมิติต่าง ๆ ของการสร้างงาน การเสพงาน และการประเมินค่าของนวนิยายและเรื่องสั้นไทยร่วมสมัย
การวิเคราะห์และอภิปรายข้อมูลคติชนสมัยใหม่ที่ปรากฏในสื่อประเภทต่าง ๆ
- การวิเคราะห์ถ้อยคำและการปฏิสัมพันธ์แบบต่าง ๆในภาษาไทยตามแนววัจนปฏิบัติศาสตร์
- การวิเคราะห์และอภิปรายเกี่ยวกับภาษาไทยที่ปรากฏในสื่อประเภทต่าง ๆ
- ทฤษฎีวรรณคดีตะวันตกร่วมสมัย การประยุกต์ใช้ทฤษฎีวรรณคดีตะวันตกร่วมสมัยในการวิเคราะห์ตัวบทวรรณคดีไทยคัดสรร, ประเด็นและปัญหาในการประยุกต์ใช้ทฤษฎีวรรณคดีตะวันตกร่วมสมัยในการวิเคราะห์ตัวบทวรรณคดีไทย
- แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม บทบาทของภาษาไทยในฐานะภาษากลางในการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในการปฏิสัมพันธ์ที่ใช้ภาษาไทยเป็นภาษากลาง
- ประวัติและพัฒนาการวรรณคดีของประเทศใดประเทศหนึ่งต่อไปนี้ ลาว เขมร พม่า มาเลเซีย อินโดนีเซีย เวียดนาม จีน อินเดีย ความสัมพันธ์ระหว่างวรรณคดีของประเทศดังกล่าวกับวรรณคดีไทย
- ความสัมพันธ์ระหว่างคติชนกับวรรณคดีไทย ได้แก่ วรรณคดีราชสำนัก วรรณคดีท้องถิ่น และวรรณกรรมปัจจุบัน
- แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับวัจนปฏิบัติศาสตร์ภาษาระหว่างกลางและวัจนปฏิบัติศาสตร์ระหว่างวัฒนธรรม วิธีการเก็บข้อมูล หัวข้อวิจัย การประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์ภาษาไทยContent
- ความสัมพันธ์ระหว่างคติชนประเภทต่างๆ กับวรรณกรรมท้องถิ่นภาคต่าง ๆ ของไทย
- ลักษณะของวรรณคดีเฉพาะแบบใดแบบหนึ่ง ประวัติและวิวัฒนาการของวรรณคดีแบบนั้นๆ
- แนวความคิดของกวี แบบแผนของคำประพันธ์ที่ใช้ อิทธิพลของวรรณคดีเฉพาะแบบ
- วรรณคดีสำคัญทางพุทธศาสนา ตั้งแต่สมัยเริ่มแรกจนถึงปัจจุบัน ทั้งฉบับภาษาสันสกฤต บาลี ไทย และฉบับแปลเป็นภาษาอังกฤษ ทั้งนิกายมหายานและหินยาน
- ลักษณะทั่วไปและลักษณะเฉพาะของวรรณกรรมพื้นบ้าน ความสัมพันธ์ระหว่างวรรณกรรมพื้นบ้านกับวรรณคดีไทยและสังคมไทย
- สถานภาพและทิศทางของงานวิจัยคติชนประเภทต่าง ๆ ของไทยทั้งในรูปของบทความวิจัยและงานวิจัยวิทยานิพนธ์
- ทฤษฎีวรรณคดีวิจารณ์และการใช้ทฤษฎีต่าง ๆ ในการวิจารณ์วรรณคดีไทย
- การออกแบบและพัฒนาโครงการวิจัยคติชน วิธีวิทยาการวิจัยภาคสนาม การเขียนรายงานวิจัยทางคติชนวิทยา
- ลักษณะและคุณค่าของวรรณคดีไทยและความเกี่ยวข้องกับสังคมไทย
- วรรณคดีนิบาตชาดกและประเภทอื่น ในด้านเนื้อหา รูปแบบ คุณค่า และอิทธิพลที่มีต่อวรรณคดีไทย
- ประเด็นศึกษาพิเศษ หรือแนวโน้มทางคติชนวิทยา ความสำคัญและพลวัตของข้อมูลทางคติชน หรือคติชนวิทยา
- ทฤษฎีคติชนวิทยา และการนำมาปรับใช้กับการศึกษาคติชนในสังคมไทย
- วรรณคดีไทยในมิติต่าง ๆ โดยใช้แนวคิดทางมานุษยวิทยา
- การเปรียบเทียบคติชนประเภทต่าง ๆ หรือคติชนในวัฒนธรรมต่างๆ ความสัมพันธ์ระหว่างคติชนกับศิลปะประเภทอื่น ๆ
- ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับคติชนในลักษณะต่าง ๆ
- เทวปกรณ์อินเดียที่มีความสัมพันธ์กับวรรณคดีไทยและวัฒนธรรมไทย
- ลักษณะและบทบาทหน้าที่ของคติชนสมัยใหม่และวัฒนธรรมประชานิยม
- รูปแบบ เนื้อหา และบทบาทหน้าที่ในสังคมของคติชนประเภทใดประเภทหนึ่งหรือหลายประเภท
- ลักษณะและคุณค่าของวรรณคดีไทยที่แต่งในสมัยสุโขทัย ตลอดจนความสัมพันธ์กับสังคม
- ผลงานทางด้านการประพันธ์ของบุคคลสำคัญของไทย ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 6 จนถึงปัจจุบัน
- ลักษณะและคุณค่าของวรรณคดีที่แต่งในสมัยรัตนโกสินทร์ ตลอดจนความสัมพันธ์กับสังคม
- ลักษณะและคุณค่าของวรรณคดีไทยที่แต่งในสมัยอยุธยา ตลอดจนความสัมพันธ์กับสังคม
- แนวคิดและทฤษฎีทางคติชนวิทยาและมานุษยวิทยาเกี่ยวกับตำนานและพิธีกรรม งานวิจัยทั้งของต่างประเทศและของไทยที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างตำนานกับพิธีกรรม
- แนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยาเกี่ยวกับกำเนิด พัฒนาการ และบทบาทหน้าที่ของระบบความเชื่อและศาสนาในสังคม
- รูปแบบ เนื้อหา และบทบาทหน้าที่ของคติชนและวรรณกรรมท้องถิ่นในวัฒนธรรมของชนชาติไทกลุ่มต่าง ๆ
- ลักษณะและประวัติอักษร มอญ พม่า ลาว สิงหล และไทยโบราณ และอักขรวิธีแบบต่าง ๆ ตั้งแต่สมัยสุโขทัยจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์
- ปัญหาต่าง ๆ เกี่ยวกับลักษณะภาษาไทยและการใช้ภาษาไทยในปัจจุบัน
- ปัญหาภาษาที่ปรากฏในจารึก และเอกสารที่แต่งในสมัยสุโขทัย อยุธยาและรัตนโกสินทร์
- การวิเคราะห์ภาษาไทยและอภิปรายปัญหาต่าง ๆ เกี่ยวกับการวิเคราะห์ภาษาไทย
- การเปลี่ยนแปลงของภาษาไทยในด้านต่าง ๆ ตั้งแต่สมัยสุโขทัยมาจนปัจจุบัน
- ความสัมพันธ์ของภาษาไทยกับสังคมไทยและการแปรของภาษาตามปัจจัยทางสังคม
- เปรียบเทียบหลักการทางพจนานุกรมแบบต่าง ๆ เปรียบเทียบพจนานุกรมภาษาไทยกับพจนานุกรมภาษาต่างประเทศ
- ลักษณะภาษาไทถิ่นต่าง ๆ ทั้งในและนอกประเทศ
- ลักษณะการปฏิสัมพันธ์ในภาษาไทย แนวคิดและทฤษฎีที่ใช้วิเคราะห์การปฏิสัมพันธ์ ปัจจัยสังคม วัฒนธรรมที่เกี่ยวข้อง
- ประเด็นที่น่าสนใจเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างภาษาไทยกับสังคมไทย
- ประเด็นศึกษาเกี่ยวกับการวิเคราะห์ภาษาไทยด้วยทฤษฎีภาษาศาสตร์
- หัวข้อคัดสรรเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือหลายเรื่องเกี่ยวกับคติชนวิทยา
- หัวข้อคัดสรรเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือหลายเรื่องเกี่ยวกับคติชนวิทยา
- รูปแบบของวรรณกรรมไทยปัจจุบัน การจำแนกประเภทตามลักษณะเนื้อหาและความคิด
- การวิเคราะห์ลักษณะเฉพาะ แนวโน้ม และอิทธิพลต่างประเทศที่มีต่อวรรณกรรมไทยปัจจุบัน
- ความสัมพันธ์ระหว่างสังคมกับวรรณกรรมไทยปัจจุบัน การประเมินคุณค่า และปัญหาการส่งเสริมการแต่งวรรณกรรม
- การศึกษาค้นคว้าอย่างละเอียดในหัวข้อเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือหลายเรื่องเกี่ยวกับภาษาไทย
- การศึกษาค้นคว้าอย่างละเอียดในหัวข้อเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือหลายเรื่องเกี่ยวกับวรรณคดีไทย
- การศึกษาค้นคว้าอย่างละเอียดในหัวข้อเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือหลายเรื่องเกี่ยวกับวรรณคดีไทยที่จะเป็นประโยชน์ต่องานวิจัยวิทยานิพนธ์