หลักสูตรอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)
รายละเอียดหลักสูตรอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566)
1. โครงสร้างหลักสูตร
แผน ก แบบ ก1
จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร 36
จำนวนหน่วยกิตรายวิชาเรียน –
รายวิชาบังคับ –
รายวิชาเลือก –
จำนวนหน่วยกิตวิทยานิพนธ์ 36
แผน ก แบบ ก2
จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร 36
จำนวนหน่วยกิตรายวิชาเรียน 24
รายวิชาบังคับ 12
รายวิชาเลือก 12
จำนวนหน่วยกิตวิทยานิพนธ์ 12
แผน ก แบบ ก1
จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร 36
จำนวนหน่วยกิตรายวิชาเรียน –
รายวิชาบังคับ –
รายวิชาเลือก –
จำนวนหน่วยกิตวิทยานิพนธ์ 36
แผน ก แบบ ก2
จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร 36
จำนวนหน่วยกิตรายวิชาเรียน 24
รายวิชาบังคับ 12
รายวิชาเลือก 12
จำนวนหน่วยกิตวิทยานิพนธ์ 12
2. รายวิชา
2.1 แผน ก แบบ ก 1
วิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต
2201816 วิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต
Thesis
2.2 แผน ก แบบ ก 2
รายวิชาบังคับ 12 หน่วยกิต
2.1 แผน ก แบบ ก 1
วิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต
2201816 วิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต
Thesis
2.2 แผน ก แบบ ก 2
รายวิชาบังคับ 12 หน่วยกิต
Approaches to Research on Thai
2201620 โครงสร้างของประโยคในภาษาไทย 3 (3–0–9)
2201705 วิธีวิทยาการวิจัย 3 (3–0–9)
Research Methodology
2201731 สัมมนาภาษาไทยสมัยต่าง ๆ 3 (3–0–9)
Seminar in the Thai Language of Different Periods
2201655 ทฤษฎีวรรณคดีวิจารณ์ 3 (3–0–9)
Theories of Literary Criticism
2201705 วิธีวิทยาการวิจัย 3 (3–0–9)
Research Methodology
2201751 สัมมนาวรรณคดีไทยต่างสมัย 3 (3–0–9)
Seminar on Thai Literature of Different Periods
2201752 สัมมนาวรรณกรรมไทยปัจจุบัน 3 (3–0–9)
Seminar in Modern Thai Literatu
2201680 ทฤษฎีคติชนวิทยา 3 (3–0–9)
Folklore Theories
2201683 การวิจัยภาคสนามทางคติชนวิทยา 3 (3–0–9)
Folklore Field Research
2201705 วิธีวิทยาการวิจัย 3 (3–0–9)
Research Methodology
2201782 สัมมนาคติชนสมัยใหม่ 3 (3–0–9)
Seminar in Modern Folklore
3 (3–0–9)
Approaches to Research on Thai
2201620 โครงสร้างของประโยคในภาษาไทย
3 (3–0–9)
2201705 วิธีวิทยาการวิจัย
3 (3–0–9)
Research Methodology
2201731 สัมมนาภาษาไทยสมัยต่าง ๆ
3 (3–0–9)
Seminar in the Thai Language of Different Periods
2201655 ทฤษฎีวรรณคดีวิจารณ์
3 (3–0–9)
Theories of Literary Criticism
2201705 วิธีวิทยาการวิจัย
3 (3–0–9)
Research Methodology
2201751 สัมมนาวรรณคดีไทยต่างสมัย
3 (3–0–9)
Seminar on Thai Literature of Different Periods
2201752 สัมมนาวรรณกรรมไทยปัจจุบัน
3 (3–0–9)
Seminar in Modern Thai Literature
2201680 ทฤษฎีคติชนวิทยา
3 (3–0–9)
Folklore Theories
2201683 การวิจัยภาคสนามทางคติชนวิทยา
3 (3–0–9)
Folklore Field Research
2201705 วิธีวิทยาการวิจัย
3 (3–0–9)
Research Methodology
2201782 สัมมนาคติชนสมัยใหม่
3 (3–0–9)
Seminar in Modern Folklore
รายวิชาเลือก 12 หน่วยกิต
ให้นิสิตเลือกเรียนจากรายวิชาต่อไปนี้
รายวิชาเลือก 12 หน่วยกิต
ให้นิสิตเลือกเรียนจากรายวิชาต่อไปนี้
Thai Language and Literary Works
2201607 ภาษากับวัฒนธรรมไทย 3 (3–0–9)
Thai Language and Culture
2201609 อรรถวิเคราะห์ 3 (3–0–9)
Semantic Analysis
2201611 การศึกษาภาษาไทยถิ่น 3 (3–0–9)
Thai Dialectology
Comparative and Historical Tai
2201621* ศิลปะการสื่อสารภาษาไทยขั้นสูง 3 (3–0–9)
The Art of Advanced Thai Communication
2201626 สัทศาสตร์และสัทวิทยาภาษาไทย 3 (3–0–9)
Thai Phonetics and Phonology
2201630 ภาษาของประเทศใกล้เคียง 3 (3–0–9)
Languages of Neighbouring Countries
2201632 ปริจเฉทในภาษาไทย 3 (3–0–9)
Thai Discourse
2201637 ระบบคำภาษาไทย 3 (3–0–9)
Thai Morphology
2201719 ภาษาไทยในฐานะภาษาที่สอง 3 (3–0–9)
Thai as a Second Language
2201720 สัมมนาภาษาไทยในฐานะภาษาที่สอง 3 (3–0–9)
Seminar in Thai as a Second Language
2201721 สัมมนาภาษาไทยปัจจุบัน 3 (3–0–9)
Seminar in Modern Thai
2201725 สัมมนาภาษาต่างประเทศที่สัมพันธ์กับภาษาไทย 3 (3–0–9)
Seminar in Foreign Languages in Relation to Thai
2201783 การวิเคราะห์ภาษาไทยตามแนววัจนปฏิบัติศาสตร์ 3 (3–0–9)
Pragmatic Analysis of Thai
2201784 สัมมนาภาษาสื่อสารมวลชน 3 (3–0–9)
Seminar on Mass Media Language
2201786* ภาษาไทยในฐานะภาษากลางในการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม 3 (3–0–9)
Thai as a Lingua Franca in Intercultural Communication
2201790 วัจนปฏิบัติศาสตร์ภาษาระหว่างกลางและวัจนปฏิบัติศาสตร์ระหว่างวัฒนธรรมกับการศึกษาภาษาไทย 3 (3–0–9)
Interlanguage Pragmatics and Intercultural Pragmatics and the Study of Thai
Epigraphy and the Thai Alphabet
2201862 สัมมนาภาษาไทยปัจจุบัน 3 (3–0–9)
Seminar in Modern Thai
2201863 สัมมนาภาษาไทยสมัยเก่า 3 (3–0–9)
Seminar in Old Thai
2201865 ภาษาไทยวิเคราะห์ 3 (3–0–9)
Analysis of Thai
2201866 วิวัฒนาการของภาษาไทย 3 (3–0–9)
The Development of the Thai Language
2201867 ภาษาไทยกับสังคมไทย 3 (3–0–9)
Thai Language andThai Society
2201868 พจนานุกรม 3 (3–0–9)
Lexicography
2201869 สัมมนาภาษาตระกูลไท 3 (3–0–9)
Seminar in Tai Dialects
2201871 สัมมนาการปฏิสัมพันธ์ในภาษาไทย 3 (3–0–9)
Seminar in Thai Interaction
2201872* สัมมนาภาษาไทยกับสังคมไทย 3 (3–0–9)
Seminar in Thai Language and Thai Society
2201873 การศึกษาพิเศษทางภาษาศาสตร์ภาษาไทย 3 (3–0–9)
Special Studies in Thai Linguistics
2201885 การศึกษาพิเศษทางภาษาไทย 3 (3–0–9)
Special Studies in Thai Language
* รายวิชาเปิดใหม่
Thai Language and Literary Works
2201607 ภาษากับวัฒนธรรมไทย 3 (3–0–9)
Thai Language and Culture
Tai Literature
2201661 วรรณคดีพุทธศาสนาพากย์ไทย 3 (3–0–9)
Thai Version of Buddhist Literature
2201663 ฉันทลักษณ์ไทย 3 (3–0–9)
Thai Prosody
2201664 วรรณคดีไทยเฉพาะสมัย 3 (3–0–9)
Thai Literature of a Specific Period
2201665 วรรณคดีไทยเฉพาะประเภท 3 (3–0–9)
Thai Literature of a Specific Genre
2201666 วรรณคดีเอกของไทย 3 (3–0–9)
Masterpieces of Thai Literature
2201668 วรรณคดีไทยสัมพันธ์ 3 (3–0–9)
Thai Literary Relation
2201669 ทฤษฎีสื่อกับการศึกษาวรรณกรรมไทย 3 (3–0–9)
Media Theory and Thai Literary Study
2201671 การศึกษาวรรณกรรมไทยเชิงสังคมและวัฒนธรรม 3 (3–0–9)
Socio–Cultural Study of Thai Literature
2201681 วรรณคดีท้องถิ่นเปรียบเทียบ 3 (3–0–9)
Comparative Local Literature
2201753 สัมมนาวรรณคดีไทยที่มาจากวรรณคดีต่างประเทศ 3 (3–0–9)
Seminar in Thai Literature of Foreign Origin
2201755* วรรณคดีไทยที่แปลจากวรรณคดีต่างประเทศ 3 (3–0–9)
Thai Literature Translated from Foreign Literature
2201772 สัมมนานวนิยายและเรื่องสั้น 3 (3–0–9)
Seminar in Thai Novels and Short Stories
2201785 วรรณคดีไทยกับทฤษฎีวรรณคดีตะวันตกร่วมสมัย 3 (3–0–9)
Thai Literature and Contemporary Western Literary Theories
2201787 วรรณคดีของประเทศใกล้เคียง 3 (3–0–9)
Literature of Neighbouring Countries
2201788 คติชนกับวรรณคดีไทย 3 (3–0–9)
Folklore and Thai Literature
Seminar in Literature of Specific Genres
2201837 สัมมนาวรรณคดีพุทธศาสนา 3 (3–0–9)
Seminar in Buddhist Literature
2201838 สัมมนาวรรณกรรมพื้นบ้านไทย 3 (3–0–9)
Seminar in Thai Folktales
2201840 สัมมนาทฤษฎีวรรณคดีวิจารณ์ 3 (3–0–9)
Seminar in the Theories of Literary Criticism
2201842 วรรณคดีกับสังคมไทย 3 (3–0–9)
Thai Literature and Thai Society
2201843 สัมมนาวรรณคดีชาดก 3 (3–0–9)
Seminar in the Jataka Literature
2201846 การศึกษาวรรณคดีไทยในเชิงมานุษยวิทยา 3 (3–0–9)
An Anthropological Approach to Thai Literature
2201849 เทวปกรณ์อินเดียที่สัมพันธ์กับวรรณคดีไทย 3 (3–0–9)
Indian Mythology Relating to Thai Literature
2201853 สัมมนาวรรณคดีสุโขทัย 3 (3–0–9)
Seminar in Literature of the Sukhothai Period
2201854 สัมมนาบทประพันธ์ของบุคคลสำคัญ 3 (3–0–9)
Seminar in the Writings of Prominent Figures
2201855 สัมมนาวรรณคดีรัตนโกสินทร์ 3 (3–0–9)
Seminar in Literature of the Ratanakosin Period
2201856 สัมมนาวรรณคดีอยุธยา 3 (3–0–9)
Seminar in Literature of the Ayudhaya Period
2201884 สัมมนาวรรณกรรมไทยปัจจุบัน 3 (3–0–9)
Seminar in Modern Thai Literary Works
2201886 การศึกษาพิเศษทางวรรณคดีไทย 1 3 (3–0–9)
Special Studies in Thai Literature I
Special Studies in Thai Literature II
* รายวิชาเปิดใหม่
Applied Folklore
2201660 วรรณกรรมชนชาติไท 3 (3–0–9)
Tai Literature
2201681 วรรณคดีท้องถิ่นเปรียบเทียบ 3 (3–0–9)
Comparative Local Literature
2201788 คติชนกับวรรณคดีไทย 3 (3–0–9)
Folklore and Thai Literature
2201835 สัมมนาคติชนกับวรรณกรรมท้องถิ่น 3 (3–0–9)
Seminar in Folklore and Local Literature
2201838 สัมมนาวรรณกรรมพื้นบ้านไทย 3 (3–0–9)
2201839 สัมมนางานวิจัยคติชนไทย 3 (3–0–9)
Seminar in Thai Folklore Research
2201841 งานภาคสนามเพื่อการวิจัยทางคติชนวิทยา 3 (3–0–9)
Fieldwork for Folklore Research
2201843 สัมมนาวรรณคดีชาดก 3 (3–0–9)
Seminar in the Jataka Literature
2201844 ประเด็นศึกษาพิเศษทางคติชนวิทยา 3 (3–0–9)
Special Issues in Folklore Studies
2201845 สัมมนาทฤษฎีคติชนวิทยา 3 (3–0–9)
Seminar in the Theories of Folklore
2201847 สัมมนาคติชนเปรียบเทียบ 3 (3–0–9)
Seminar in Comparative Folklore
2201848 สัมมนาภาษากับคติชน 3 (3–0–9)
Seminar in Language and Folklore
2201851 สัมมนาคติชนสมัยใหม่และวัฒนธรรมประชานิยม 3 (3–0–9)
Seminar in Modern Folklore and Popular Culture
Seminar in Specific Folklore Genres
2201857 สัมมนาตำนานกับพิธีกรรม 3 (3–0–9)
Seminar in Myth and Ritual
2201858 มานุษยวิทยาศาสนา 3 (3–0–9)
Anthropology of Religion
2201859 สัมมนาคติชนและวรรณกรรมชนชาติไท 3 (3–0–9)
Seminar in Tai Folklore and Literature
2201879 การศึกษาพิเศษทางคติชนวิทยา 1 3 (3–0–9)
Special Studies in Folklore I
2201880 การศึกษาพิเศษทางคติชนวิทยา 2 3 (3–0–9)
Special Studies in Folklore II
3 (3–0–9)
Thai Language and Literary Works
2201607 ภาษากับวัฒนธรรมไทย
3 (3–0–9)
Thai Language and Culture
2201609 อรรถวิเคราะห์
3 (3–0–9)
Semantic Analysis
2201611 การศึกษาภาษาไทยถิ่น
3 (3–0–9)
Thai Dialectology
3 (3–0–9)
Comparative and Historical Tai
2201621* ศิลปะการสื่อสารภาษาไทยขั้นสูง
3 (3–0–9)
The Art of Advanced Thai Communication
2201626 สัทศาสตร์และสัทวิทยาภาษาไทย
3 (3–0–9)
Thai Phonetics and Phonology
2201630 ภาษาของประเทศใกล้เคียง
3 (3–0–9)
Languages of Neighbouring Countries
2201632 ปริจเฉทในภาษาไทย
3 (3–0–9)
Thai Discourse
2201637 ระบบคำภาษาไทย
3 (3–0–9)
Thai Morphology
2201719 ภาษาไทยในฐานะภาษาที่สอง
3 (3–0–9)
Thai as a Second Language
2201720 สัมมนาภาษาไทยในฐานะภาษาที่สอง
3 (3–0–9)
Seminar in Thai as a Second Language
2201721 สัมมนาภาษาไทยปัจจุบัน
3 (3–0–9)
Seminar in Modern Thai
2201725 สัมมนาภาษาต่างประเทศที่สัมพันธ์กับภาษาไทย
3 (3–0–9)
Seminar in Foreign Languages in Relation to Thai
2201783 การวิเคราะห์ภาษาไทยตามแนววัจนปฏิบัติศาสตร์
3 (3–0–9)
Pragmatic Analysis of Thai
2201784 สัมมนาภาษาสื่อสารมวลชน
3 (3–0–9)
Seminar on Mass Media Language
2201786* ภาษาไทยในฐานะภาษากลางในการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม
3 (3–0–9)
Thai as a Lingua Franca in Intercultural Communication
2201790 วัจนปฏิบัติศาสตร์ภาษาระหว่างกลางและวัจนปฏิบัติศาสตร์ระหว่างวัฒนธรรมกับการศึกษาภาษาไทย
3 (3–0–9)
Interlanguage Pragmatics and Intercultural Pragmatics and the Study of Thai
3 (3–0–9)
Epigraphy and the Thai Alphabet
2201862 สัมมนาภาษาไทยปัจจุบัน
3 (3–0–9)
Seminar in Modern Thai
2201863 สัมมนาภาษาไทยสมัยเก่า
3 (3–0–9)
Seminar in Old Thai
2201865 ภาษาไทยวิเคราะห์
3 (3–0–9)
Analysis of Thai
2201866 วิวัฒนาการของภาษาไทย
3 (3–0–9)
The Development of the Thai Language
2201867 ภาษาไทยกับสังคมไทย
3 (3–0–9)
Thai Language andThai Society
2201868 พจนานุกรม
3 (3–0–9)
Lexicography
2201869 สัมมนาภาษาตระกูลไท
3 (3–0–9)
Seminar in Tai Dialects
2201871 สัมมนาการปฏิสัมพันธ์ในภาษาไทย
3 (3–0–9)
Seminar in Thai Interaction
2201872* สัมมนาภาษาไทยกับสังคมไทย
3 (3–0–9)
Seminar in Thai Language and Thai Society
2201873 การศึกษาพิเศษทางภาษาศาสตร์ภาษาไทย
3 (3–0–9)
Special Studies in Thai Linguistics
2201885 การศึกษาพิเศษทางภาษาไทย
3 (3–0–9)
Special Studies in Thai Language
* รายวิชาเปิดใหม่
3 (3–0–9)
Thai Language and Literary Works
2201607 ภาษากับวัฒนธรรมไทย
3 (3–0–9)
Thai Language and Culture
Tai Literature
2201661 วรรณคดีพุทธศาสนาพากย์ไทย
3 (3–0–9)
Thai Version of Buddhist Literature
2201663 ฉันทลักษณ์ไทย
3 (3–0–9)
Thai Prosody
2201664 วรรณคดีไทยเฉพาะสมัย
3 (3–0–9)
Thai Literature of a Specific Period
2201665 วรรณคดีไทยเฉพาะประเภท
3 (3–0–9)
Thai Literature of a Specific Genre
2201666 วรรณคดีเอกของไทย
3 (3–0–9)
Masterpieces of Thai Literature
2201668 วรรณคดีไทยสัมพันธ์
3 (3–0–9)
Thai Literary Relation
2201669 ทฤษฎีสื่อกับการศึกษาวรรณกรรมไทย
3 (3–0–9)
Media Theory and Thai Literary Study
2201671 การศึกษาวรรณกรรมไทยเชิงสังคมและวัฒนธรรม
3 (3–0–9)
Socio–Cultural Study of Thai Literature
2201681 วรรณคดีท้องถิ่นเปรียบเทียบ
3 (3–0–9)
Comparative Local Literature
2201753 สัมมนาวรรณคดีไทยที่มาจากวรรณคดีต่างประเทศ
3 (3–0–9)
Seminar in Thai Literature of Foreign Origin
2201755* วรรณคดีไทยที่แปลจากวรรณคดีต่างประเทศ
3 (3–0–9)
Thai Literature Translated from Foreign Literature
2201772 สัมมนานวนิยายและเรื่องสั้น
3 (3–0–9)
Seminar in Thai Novels and Short Stories
2201785 วรรณคดีไทยกับทฤษฎีวรรณคดีตะวันตกร่วมสมัย
3 (3–0–9)
Thai Literature and Contemporary Western Literary Theories
2201787 วรรณคดีของประเทศใกล้เคียง
3 (3–0–9)
Literature of Neighbouring Countries
2201788 คติชนกับวรรณคดีไทย
3 (3–0–9)
Folklore and Thai Literature
3 (3–0–9)
Seminar in Literature of Specific Genres
2201837 สัมมนาวรรณคดีพุทธศาสนา
3 (3–0–9)
Seminar in Buddhist Literature
2201838 สัมมนาวรรณกรรมพื้นบ้านไทย
3 (3–0–9)
Seminar in Thai Folktales
2201840 สัมมนาทฤษฎีวรรณคดีวิจารณ์
3 (3–0–9)
Seminar in the Theories of Literary Criticism
2201842 วรรณคดีกับสังคมไทย
3 (3–0–9)
Thai Literature and Thai Society
2201843 สัมมนาวรรณคดีชาดก
3 (3–0–9)
Seminar in the Jataka Literature
2201846 การศึกษาวรรณคดีไทยในเชิงมานุษยวิทยา
3 (3–0–9)
An Anthropological Approach to Thai Literature
2201849 เทวปกรณ์อินเดียที่สัมพันธ์กับวรรณคดีไทย
3 (3–0–9)
Indian Mythology Relating to Thai Literature
2201853 สัมมนาวรรณคดีสุโขทัย
3 (3–0–9)
Seminar in Literature of the Sukhothai Period
2201854 สัมมนาบทประพันธ์ของบุคคลสำคัญ
3 (3–0–9)
Seminar in the Writings of Prominent Figures
2201855 สัมมนาวรรณคดีรัตนโกสินทร์
3 (3–0–9)
Seminar in Literature of the Ratanakosin Period
2201856 สัมมนาวรรณคดีอยุธยา
3 (3–0–9)
Seminar in Literature of the Ayudhaya Period
2201884 สัมมนาวรรณกรรมไทยปัจจุบัน
3 (3–0–9)
Seminar in Modern Thai Literary Works
2201886 การศึกษาพิเศษทางวรรณคดีไทย 1
3 (3–0–9)
Special Studies in Thai Literature I
3 (3–0–9)
Special Studies in Thai Literature II
* รายวิชาเปิดใหม่
3 (3–0–9)
Applied Folklore
2201660 วรรณกรรมชนชาติไท
3 (3–0–9)
Tai Literature
2201681 วรรณคดีท้องถิ่นเปรียบเทียบ
3 (3–0–9)
Comparative Local Literature
2201788 คติชนกับวรรณคดีไทย
3 (3–0–9)
Folklore and Thai Literature
2201835 สัมมนาคติชนกับวรรณกรรมท้องถิ่น
3 (3–0–9)
Seminar in Folklore and Local Literature
2201838 สัมมนาวรรณกรรมพื้นบ้านไทย
3 (3–0–9)
2201839 สัมมนางานวิจัยคติชนไทย
3 (3–0–9)
Seminar in Thai Folklore Research
2201841 งานภาคสนามเพื่อการวิจัยทางคติชนวิทยา
3 (3–0–9)
Fieldwork for Folklore Research
2201843 สัมมนาวรรณคดีชาดก
3 (3–0–9)
Seminar in the Jataka Literature
2201844 ประเด็นศึกษาพิเศษทางคติชนวิทยา
3 (3–0–9)
Special Issues in Folklore Studies
2201845 สัมมนาทฤษฎีคติชนวิทยา
3 (3–0–9)
Seminar in the Theories of Folklore
2201847 สัมมนาคติชนเปรียบเทียบ
3 (3–0–9)
Seminar in Comparative Folklore
2201848 สัมมนาภาษากับคติชน
3 (3–0–9)
Seminar in Language and Folklore
2201851 สัมมนาคติชนสมัยใหม่และวัฒนธรรมประชานิยม
3 (3–0–9)
Seminar in Modern Folklore and Popular Culture
3 (3–0–9)
Seminar in Specific Folklore Genres
2201857 สัมมนาตำนานกับพิธีกรรม
3 (3–0–9)
Seminar in Myth and Ritual
2201858 มานุษยวิทยาศาสนา
3 (3–0–9)
Anthropology of Religion
2201859 สัมมนาคติชนและวรรณกรรมชนชาติไท
3 (3–0–9)
Seminar in Tai Folklore and Literature
2201879 การศึกษาพิเศษทางคติชนวิทยา 1
3 (3–0–9)
Special Studies in Folklore I
2201880 การศึกษาพิเศษทางคติชนวิทยา 2
3 (3–0–9)
Special Studies in Folklore II
3. รายวิชาวิทยานิพนธ์
2201811 วิทยานิพนธ์ (แผน ก แบบ ก2) 12 (0–48–0)
Thesis
2201816 วิทยานิพนธ์ (แผน ก แบบ ก1) 36 (0–144–0)
Thesis
2201811 วิทยานิพนธ์ (แผน ก แบบ ก2)
12 (0–48–0)
Thesis
2201816 วิทยานิพนธ์ (แผน ก แบบ ก1)
36 (0–144–0)
Thesis
หมายเหตุ
นิสิตสามารถเลือกเรียนรายวิชาบังคับหรือรายวิชาเลือกของสายภาษา วรรณคดี และคติชนวิทยา เป็นวิชาเลือกได้ หรือสามารถเลือกรายวิชาของภาควิชาภาษาศาสตร์ ภาควิชาวรรณคดีเปรียบเทียบ และภาควิชาภาษาตะวันออก คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นวิชาเลือกได้ ไม่เกิน 6 หน่วยกิต โดยผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตรอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย
4. แผนการศึกษา
2201816 วิทยานิพนธ์ 9 หน่วยกิต
รวม 9 หน่วยกิต
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาปลาย
รวม 9 หน่วยกิต
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาต้น
2201816 วิทยานิพนธ์ 9 หน่วยกิต
รวม 9 หน่วยกิต
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาปลาย
2201816 วิทยานิพนธ์ 9 หน่วยกิต
รวม 9 หน่วยกิต
รวมตลอดหลักสูตร 36 หน่วยกิต
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาต้น
2201610 วิวิธวิธีวิจัยภาษาไทย 3 หน่วยกิต
2201620 โครงสร้างของประโยคในภาษาไทย 3 หน่วยกิต
2201705 วิธีวิทยาการวิจัย 3 หน่วยกิต
2201731 สัมมนาภาษาไทยสมัยต่าง ๆ 3 หน่วยกิต
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาปลาย
XXXXXXX รายวิชาเลือก 12 หน่วยกิต
รวม 12 หน่วยกิต
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาต้น
2201811 วิทยานิพนธ์ 6 หน่วยกิต
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาปลาย
2201811 วิทยานิพนธ์ 6 หน่วยกิต
รวมตลอดหลักสูตร 36 หน่วยกิต
สายวรรณคดี
2201705 วิธีวิทยาการวิจัย 3 หน่วยกิต
2201751 สัมมนาวรรณคดีไทยต่างสมัย 3 หน่วยกิต
2201752 สัมมนาวรรณกรรมไทยปัจจุบัน 3 หน่วยกิต
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาปลาย
XXXXXXX รายวิชาเลือก 12 หน่วยกิต
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาต้น
2201811 วิทยานิพนธ์ 6 หน่วยกิต
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาปลาย
2201811 วิทยานิพนธ์ 6 หน่วยกิต
รวมตลอดหลักสูตร 36 หน่วยกิต
สายคติชนวิทยา
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาต้น
2201680 ทฤษฎีคติชนวิทยา 3 หน่วยกิต
2201683 การวิจัยภาคสนามทางคติชนวิทยา 3 หน่วยกิต
2201705 วิธีวิทยาการวิจัย 3 หน่วยกิต
2201782 สัมมนาคติชนสมัยใหม่ 3 หน่วยกิต
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาปลาย
XXXXXXX รายวิชาเลือก 12 หน่วยกิต
รวม 12 หน่วยกิต
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาต้น
2201811 วิทยานิพนธ์ 6 หน่วยกิต
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาปลาย
รวมตลอดหลักสูตร 36 หน่วยกิต
5. คำอธิบายรายวิชา
- ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาไทยกับวรรณกรรมไทย การใช้วัจนลีลาศาสตร์เชิงวรรณศิลป์วิเคราะห์ วรรณกรรมไทย
- ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาไทยกับวัฒนธรรมไทยในมิติต่าง ๆ
- การวิเคราะห์ความหมายของคำและประโยคในภาษาไทยตามแนวทฤษฎีทางความหมาย
- ทฤษฎีภาษาศาสตร์ นิรุกติศาสตร์ การสื่อสาร และคติชนวิทยาที่ใช้วิจัยภาษาไทย
- ความเหมือนและความต่างระหว่างภาษาไทยถิ่นต่าง ๆ การเขียนแผนที่ภาษาถิ่น
- ภาษาไทเชิงประวัติ การสืบสร้างภาษาไทดั้งเดิมและการเปรียบเทียบภาษาตระกูลไท
- ความหมายและความเป็นมาของคติชนประยุกต์ ประเด็นทางสังคมและวัฒนธรรมจากมุมมองเชิงทฤษฎีและวิธีวิทยาทางคติชนวิทยา การประยุกต์ใช้ทฤษฎีและวิธีวิทยาทางคติชนวิทยาเพื่อแก้ไขปัญหาทางสังคมและวัฒนธรรม
- การวิเคราะห์หมวดคำชนิดต่าง ๆ ส่วนประกอบและโครงสร้างของวลีและประโยคชนิดต่าง ๆ
- หลักและวิธีการอ่านตีความ การวิเคราะห์ และการเขียนงานเขียนประเภทต่าง ๆ ทักษะการพูดในที่ชุมนุมชน การเตรียมและการกล่าวคำกล่าวแบบต่าง ๆ
- การวิเคราะห์ระบบเสียงภาษาไทยโดยใช้ทฤษฎีสัทวิทยาสำนักต่าง ๆ
- ระบบไวยากรณ์และระบบการเขียนของภาษาใดภาษาหนึ่งต่อไปนี้ : ภาษาบาลี สันสกฤต เขมร มอญ มลายู พม่า จีนกลาง เวียดนาม ความสัมพันธ์ของภาษาดังกล่าวกับภาษาไทย
- การวิเคราะห์ปริจเฉทแบบต่าง ๆ ในภาษาไทยตามแนวทฤษฎีปริจเฉทวิเคราะห์
การวิเคราะห์ระบบคำภาษาไทยโดยใช้ทฤษฎีโครงสร้างแนวต่าง ๆ
- ทฤษฎีการวิจารณ์วรรณคดีตะวันออกและตะวันตกเพื่อศึกษาการวิจารณ์วรรณคดีไทย
- พื้นฐานสังคมวัฒนธรรมของคนไท องค์ความรู้และลักษณะของคติชนและวรรณกรรมของชนชาติไท
- บทบาท หน้าที่ และการถ่ายทอดคติชนและวรรณกรรมในสังคมวัฒนธรรมของชนชาติไท
- วรรณคดีพุทธศาสนาที่แปลมาจากภาษาบาลี สันสกฤต และที่แต่งขึ้นในประเทศไทย
- รูปแบบและวิวัฒนาการของบทเพลงพื้นบ้านและวรรณคดีไทย และความสัมพันธ์ของคำประพันธ์กับเนื้อหา
- วรรณคดีไทยสมัยใดสมัยหนึ่ง ลักษณะร่วมทางจารีตวรรณคดีของสมัยดังกล่าว ทั้งในด้านรูปแบบเนื้อหา การใช้ภาษา รวมทั้งกลวิธีการแต่ง
- วรรณคดีไทยประเภทใดประเภทหนึ่ง ความสัมพันธ์และพัฒนาการภายในกลุ่ม ความหลากหลายทั้งในด้านรูปแบบ เนื้อหา แนวคิด และการแสดงออก
- การวิเคราะห์วรรณคดีไทยที่ได้รับยกย่องว่าเป็นเลิศจากวงการวรรณคดี
- ประเด็นที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างวรรณคดีไทยกับวรรณคดีชาติอื่น หรือความสัมพันธ์ระหว่างวรรณคดีไทยกับศาสตร์สาขาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
- กรอบแนวคิดต่างๆ ของทฤษฎีสื่อ ได้แก่ การศึกษาภาพถ่าย ภาพยนตร์ และสื่อดิจิทัลอื่น ๆ
- การประยุกต์ใช้กรอบแนวคิดของทฤษฎีสื่อในการวิเคราะห์วรรณกรรมไทย
- การวิเคราะห์วรรณกรรมไทยในแง่สังคมและวัฒนธรรมในบริบททางสังคมและวัฒนธรรมของผู้แต่งและผู้อ่าน
- ประวัติความเป็นมาของการศึกษาคติชนวิทยา ทฤษฎีต่างๆ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคติชน บทบาทและหน้าที่ของคติชนในปริบททางสังคมและวัฒนธรรม
- การเปรียบเทียบวรรณคดีท้องถิ่นต่าง ๆ ในด้านที่มา เนื้อหา รูปแบบ ความคิดเห็น และการแสดงออกทางวัฒนธรรม
- วิธีวิทยาการวิจัย และการปฏิบัติการภาคสนามทางคติชนวิทยา
- วิธีวิทยาการวิจัยเพื่อศึกษาภาษาไทย วรรณคดีไทย และคติชนวิทยา การวิเคราะห์และอภิปรายตัวอย่างงานวิจัยที่ดีเพื่อประยุกต์ใช้ในการออกแบบงานวิจัยของนิสิต
- แนวทางที่เกี่ยวข้องกับภาษาไทยในฐานะภาษาที่สอง ได้แก่ การรับภาษาที่สอง การถ่ายโอนทางภาษา การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม ประเด็นทางภาษาและวรรณกรรมไทยที่เป็นประโยชน์ต่อการเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาที่สอง
- ประเด็นที่น่าสนใจเกี่ยวกับภาษาไทยในฐานะภาษาที่สอง
- การวิเคราะห์และอภิปรายปัญหาต่างๆ เกี่ยวกับการใช้ภาษาไทยในปัจจุบัน และการเสนอแนวทางแก้ไขปัญหา
- การวิเคราะห์และอภิปรายเกี่ยวกับศัพท์และถ้อยคำสำนวนภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
- การเปลี่ยนแปลงของภาษาไทยที่เกิดจากอิทธิพลของภาษาต่างประเทศ
- การวิเคราะห์และอภิปรายเกี่ยวกับภาษาไทยสมัยต่าง ๆ ตั้งแต่สมัยสุโขทัยถึงรัตนโกสินทร์ เน้นสมัยใดสมัยหนึ่งเป็นพิเศษ
- การวิเคราะห์และอภิปรายวรรณคดีไทยประเภทเดียวกัน หรือเรื่องเดียวกันที่แต่งต่างสมัย
- การวิเคราะห์และอภิปรายมิติต่าง ๆ ของวรรณกรรมไทยปัจจุบัน ทั้งกวีนิพนธ์ นวนิยาย เรื่องสั้นสารคดีและรูปแบบงานวรรณศิลป์ร่วมสมัยอื่น ๆ
- การวิเคราะห์และอภิปรายเกี่ยวกับที่มา รูปแบบ เนื้อหา แนวคิด และคุณค่าเชิงวรรณศิลป์ของวรรณคดีไทยที่แปลหรือนำเค้าเรื่องมาจากวรรณคดีต่างประเทศ
- การวิเคราะห์วรรณคดีไทยที่แปลมาจากวรรณคดีต่างประเทศในด้านที่มา รูปแบบ เนื้อหา และแก่นเรื่อง การประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฎีการแปลเพื่อศึกษาวรรณคดีไทยที่แปลจากวรรณคดีต่างประเทศ
- การวิเคราะห์และอภิปรายมิติต่าง ๆ ของการสร้างงาน การเสพงาน และการประเมินค่าของนวนิยายและเรื่องสั้นไทยร่วมสมัย
การวิเคราะห์และอภิปรายข้อมูลคติชนสมัยใหม่ที่ปรากฏในสื่อประเภทต่าง ๆ
- การวิเคราะห์ถ้อยคำและการปฏิสัมพันธ์แบบต่าง ๆในภาษาไทยตามแนววัจนปฏิบัติศาสตร์
- การวิเคราะห์และอภิปรายเกี่ยวกับภาษาไทยที่ปรากฏในสื่อประเภทต่าง ๆ
- ทฤษฎีวรรณคดีตะวันตกร่วมสมัย การประยุกต์ใช้ทฤษฎีวรรณคดีตะวันตกร่วมสมัยในการวิเคราะห์ตัวบทวรรณคดีไทยคัดสรร, ประเด็นและปัญหาในการประยุกต์ใช้ทฤษฎีวรรณคดีตะวันตกร่วมสมัยในการวิเคราะห์ตัวบทวรรณคดีไทย
- แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม บทบาทของภาษาไทยในฐานะภาษากลางในการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในการปฏิสัมพันธ์ที่ใช้ภาษาไทยเป็นภาษากลาง
- ประวัติและพัฒนาการวรรณคดีของประเทศใดประเทศหนึ่งต่อไปนี้ ลาว เขมร พม่า มาเลเซีย อินโดนีเซีย เวียดนาม จีน อินเดีย ความสัมพันธ์ระหว่างวรรณคดีของประเทศดังกล่าวกับวรรณคดีไทย
- ความสัมพันธ์ระหว่างคติชนกับวรรณคดีไทย ได้แก่ วรรณคดีราชสำนัก วรรณคดีท้องถิ่น และวรรณกรรมปัจจุบัน
- แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับวัจนปฏิบัติศาสตร์ภาษาระหว่างกลางและวัจนปฏิบัติศาสตร์ระหว่างวัฒนธรรม วิธีการเก็บข้อมูล หัวข้อวิจัย การประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์ภาษาไทยContent
- ความสัมพันธ์ระหว่างคติชนประเภทต่างๆ กับวรรณกรรมท้องถิ่นภาคต่าง ๆ ของไทย
- ลักษณะของวรรณคดีเฉพาะแบบใดแบบหนึ่ง ประวัติและวิวัฒนาการของวรรณคดีแบบนั้นๆ
- แนวความคิดของกวี แบบแผนของคำประพันธ์ที่ใช้ อิทธิพลของวรรณคดีเฉพาะแบบ
- วรรณคดีสำคัญทางพุทธศาสนา ตั้งแต่สมัยเริ่มแรกจนถึงปัจจุบัน ทั้งฉบับภาษาสันสกฤต บาลี ไทย และฉบับแปลเป็นภาษาอังกฤษ ทั้งนิกายมหายานและหินยาน
- ลักษณะทั่วไปและลักษณะเฉพาะของวรรณกรรมพื้นบ้าน ความสัมพันธ์ระหว่างวรรณกรรมพื้นบ้านกับวรรณคดีไทยและสังคมไทย
- สถานภาพและทิศทางของงานวิจัยคติชนประเภทต่าง ๆ ของไทยทั้งในรูปของบทความวิจัยและงานวิจัยวิทยานิพนธ์
- ทฤษฎีวรรณคดีวิจารณ์และการใช้ทฤษฎีต่าง ๆ ในการวิจารณ์วรรณคดีไทย
- การออกแบบและพัฒนาโครงการวิจัยคติชน วิธีวิทยาการวิจัยภาคสนาม การเขียนรายงานวิจัยทางคติชนวิทยา
- ลักษณะและคุณค่าของวรรณคดีไทยและความเกี่ยวข้องกับสังคมไทย
- วรรณคดีนิบาตชาดกและประเภทอื่น ในด้านเนื้อหา รูปแบบ คุณค่า และอิทธิพลที่มีต่อวรรณคดีไทย
- ประเด็นศึกษาพิเศษ หรือแนวโน้มทางคติชนวิทยา ความสำคัญและพลวัตของข้อมูลทางคติชน หรือคติชนวิทยา
- ทฤษฎีคติชนวิทยา และการนำมาปรับใช้กับการศึกษาคติชนในสังคมไทย
- วรรณคดีไทยในมิติต่าง ๆ โดยใช้แนวคิดทางมานุษยวิทยา
- การเปรียบเทียบคติชนประเภทต่าง ๆ หรือคติชนในวัฒนธรรมต่างๆ ความสัมพันธ์ระหว่างคติชนกับศิลปะประเภทอื่น ๆ
- ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับคติชนในลักษณะต่าง ๆ
- เทวปกรณ์อินเดียที่มีความสัมพันธ์กับวรรณคดีไทยและวัฒนธรรมไทย
- ลักษณะและบทบาทหน้าที่ของคติชนสมัยใหม่และวัฒนธรรมประชานิยม
- รูปแบบ เนื้อหา และบทบาทหน้าที่ในสังคมของคติชนประเภทใดประเภทหนึ่งหรือหลายประเภท
- ลักษณะและคุณค่าของวรรณคดีไทยที่แต่งในสมัยสุโขทัย ตลอดจนความสัมพันธ์กับสังคม
- ผลงานทางด้านการประพันธ์ของบุคคลสำคัญของไทย ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 6 จนถึงปัจจุบัน
- ลักษณะและคุณค่าของวรรณคดีที่แต่งในสมัยรัตนโกสินทร์ ตลอดจนความสัมพันธ์กับสังคม
- ลักษณะและคุณค่าของวรรณคดีไทยที่แต่งในสมัยอยุธยา ตลอดจนความสัมพันธ์กับสังคม
- แนวคิดและทฤษฎีทางคติชนวิทยาและมานุษยวิทยาเกี่ยวกับตำนานและพิธีกรรม งานวิจัยทั้งของต่างประเทศและของไทยที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างตำนานกับพิธีกรรม
- แนวคิดและทฤษฎีทางมานุษยวิทยาเกี่ยวกับกำเนิด พัฒนาการ และบทบาทหน้าที่ของระบบความเชื่อและศาสนาในสังคม
- รูปแบบ เนื้อหา และบทบาทหน้าที่ของคติชนและวรรณกรรมท้องถิ่นในวัฒนธรรมของชนชาติไทกลุ่มต่าง ๆ
- ลักษณะและประวัติอักษร มอญ พม่า ลาว สิงหล และไทยโบราณ และอักขรวิธีแบบต่าง ๆ ตั้งแต่สมัยสุโขทัยจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์
- ปัญหาต่าง ๆ เกี่ยวกับลักษณะภาษาไทยและการใช้ภาษาไทยในปัจจุบัน
- ปัญหาภาษาที่ปรากฏในจารึก และเอกสารที่แต่งในสมัยสุโขทัย อยุธยาและรัตนโกสินทร์
- การวิเคราะห์ภาษาไทยและอภิปรายปัญหาต่าง ๆ เกี่ยวกับการวิเคราะห์ภาษาไทย
- การเปลี่ยนแปลงของภาษาไทยในด้านต่าง ๆ ตั้งแต่สมัยสุโขทัยมาจนปัจจุบัน
- ความสัมพันธ์ของภาษาไทยกับสังคมไทยและการแปรของภาษาตามปัจจัยทางสังคม
- เปรียบเทียบหลักการทางพจนานุกรมแบบต่าง ๆ เปรียบเทียบพจนานุกรมภาษาไทยกับพจนานุกรมภาษาต่างประเทศ
- ลักษณะภาษาไทถิ่นต่าง ๆ ทั้งในและนอกประเทศ
- ลักษณะการปฏิสัมพันธ์ในภาษาไทย แนวคิดและทฤษฎีที่ใช้วิเคราะห์การปฏิสัมพันธ์ ปัจจัยสังคม วัฒนธรรมที่เกี่ยวข้อง
- ประเด็นที่น่าสนใจเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างภาษาไทยกับสังคมไทย
- ประเด็นศึกษาเกี่ยวกับการวิเคราะห์ภาษาไทยด้วยทฤษฎีภาษาศาสตร์
- หัวข้อคัดสรรเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือหลายเรื่องเกี่ยวกับคติชนวิทยา
- หัวข้อคัดสรรเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือหลายเรื่องเกี่ยวกับคติชนวิทยา
- รูปแบบของวรรณกรรมไทยปัจจุบัน การจำแนกประเภทตามลักษณะเนื้อหาและความคิด
- การวิเคราะห์ลักษณะเฉพาะ แนวโน้ม และอิทธิพลต่างประเทศที่มีต่อวรรณกรรมไทยปัจจุบัน
- ความสัมพันธ์ระหว่างสังคมกับวรรณกรรมไทยปัจจุบัน การประเมินคุณค่า และปัญหาการส่งเสริมการแต่งวรรณกรรม
- การศึกษาค้นคว้าอย่างละเอียดในหัวข้อเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือหลายเรื่องเกี่ยวกับภาษาไทย
- การศึกษาค้นคว้าอย่างละเอียดในหัวข้อเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือหลายเรื่องเกี่ยวกับวรรณคดีไทย
- การศึกษาค้นคว้าอย่างละเอียดในหัวข้อเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือหลายเรื่องเกี่ยวกับวรรณคดีไทยที่จะเป็นประโยชน์ต่องานวิจัยวิทยานิพนธ์