Search
Close this search box.
Picture of อาจารย์ ดร.ใกล้รุ่ง  อามระดิษ

อาจารย์ ดร.ใกล้รุ่ง อามระดิษ

ความเชี่ยวชาญ
  • ภาษาและวรรณคดีเขมร
  • พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

รายวิชาในความรับผิดชอบ 
  • 2201326   ภาษาเขมรที่สัมพันธ์กับภาษาไทย
  • 2201472   พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
  • 2201787   วรรณคดีของประเทศใกล้เคียง 
  • 2244101   ภาษาเขมร 1
  • 2244102   ภาษาเขมร 2  
  • 2244221   การอ่านภาษาเขมร
  • 2244341   การแปลเขมร-ไทย  
  • 2244361   ประวัติวรรณคดีเขมร  
  • 2244461   นวนิยายเขมรสมัยใหม่
ข้อมูลติดต่อ

คุณวุฒิ
  • Ph.D. (Cambodian Language and Literature) School of Oriental and African Studies, University of London, พ.ศ.2541
  • อ.ม. (ภาษาไทย) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, พ.ศ.2533
  • อ.บ. เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง (ภาษาไทย) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, พ.ศ.2528
ผลงานทางวิชาการ
งานวิจัย

ก. บทความวิจัยในวารสาร

ภาษาอังกฤษ

  • Amratisha Klairung, Poolrak Assanee and Phromsuthirak Maneepin. Pali Literary Texts as Alankāra Treatises for Thai Poets: A Case Study of the Vessantara Jātaka. Journal of the Faculty of Arts, Silpakorn University  42, 2 (July-December 2020): 220-252.
  • Amratisha, Klairung. Women, Sexuality and Politics in Modern Cambodian Literature: The Case of Soth Polin’s Short Story. Manusya: Journal of Humanities Special Issue 14 (2007): 76-91.
  • Amratisha, Klairung. No More Precious Wealth: Literature and Politics in Cambodia since the Khmer Rouge Era. Asian Review 14 (2001): 37-82.


ภาษาไทย

  • ใกล้รุ่ง อามระดิษ และธรรมจักร ฉิมพลีวัฒน์. ความรุนแรงและความตายในแฟนตาซีกับการขัดเกลาเยาวชน: กรณีศึกษานวนิยายเยาวชนชุด การิน ปริศนาคดีอาถรรพ์. มหาวิทยาลัยศิลปากร 41, 6 (พฤศจิกายน-ธันวาคม 2564): 66-79.
  • ใกล้รุ่ง อามระดิษ และกฤตกร สารกิจ. ความเทียบเท่าในการแปลคำว่า ទៅ /tɨv/ “ไปและ មក /mɔɔk/ มาในภาษาเขมรเป็นภาษาไทย. ภาษาและวรรณคดีไทย 38, 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2564): 151-198.
  • ใกล้รุ่ง อามระดิษ, ปาณิสรา เลาหล่าย และวิภาส โพธิแพทย์. คำลักษณนามบอกรูปทรงในภาษาเขมร. ภาษาและวรรณคดีไทย 38, 1 (มกราคม-มิถุนายน 2564): 162-207.
  • ใกล้รุ่ง อามระดิษ, กฤตกร สารกิจ และวิภาส โพธิแพทย์. รูปแบบทางวากยสัมพันธ์และความหมายของคำว่า ទៅ /tɨv/ ‘ไป’ และ មក /mɔɔk/ ‘มา’ ในภาษาเขมร. ภาษาและภาษาศาสตร์ 38, 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2563): 38-60.
  • ใกล้รุ่ง อามระดิษ. การรับรู้และความเข้าใจของกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของกัมพูชาที่มีต่อไทย: กรณีศึกษาข่าวเกี่ยวกับไทยในหนังสือพิมพ์กัมพูชา. เอเชียปริทัศน์ 33, 1 (มกราคม-มิถุนายน 2555): 131-166.
  • ใกล้รุ่ง อามระดิษ. ประจักษ์พยานนิยายจากทุ่งสังหารกัมพูชา: ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบและหน้าที่ของวรรณกรรม. อักษรศาสตร์ 35, 1 (มกราคม-มิถุนายน 2549): 1-24.
  • ใกล้รุ่ง อามระดิษ. น้ำทะเลสาบ: นวนิยายเขมรเล่มแรก?. ภาษาและวรรณคดีไทย 15, (ธันวาคม 2541): 128-137.


ข. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์

  • ใกล้รุ่ง อามระดิษ. รายงานวิจัยเรื่อง การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองกับการปรับเปลี่ยนทางวัฒนธรรมในสังคมกัมพูชา   ยุคปัจจุบัน. ใน สุเนตร ชุตินธรานนท์และคณะ โครงการวิจัยชุด การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองกับการปรับเปลี่ยนทางวัฒนธรรมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นทวีปหลังยุคสงครามเย็น. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2560.
  • ใกล้รุ่ง อามระดิษ และดิเรก หงษ์ทอง. รายงานการวิจัยเรื่อง อัตลักษณ์ของชาวเขมรถิ่นไทยในเพลงเกี่ยวกับประเพณีแซนโฎนตา. ใน ใกล้รุ่ง อามระดิษและคณะ โครงการวิจัยชุด อัตลักษณ์อาเซียนจากมุมมองทางวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: ฝ่ายวิจัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556.
  • ใกล้รุ่ง อามระดิษ. การรับรู้และความเข้าใจของกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของประเทศเพื่อนบ้านที่มีต่อไทย: กรณีศึกษาสื่อหนังสือพิมพ์ของกัมพูชา. ใน สุเนตร ชุตินธรานนท์และคณะ โครงการวิจัยชุด การรับรู้และความเข้าใจของกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) ของประเทศเพื่อนบ้านที่มีต่อไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2554.
  • ใกล้รุ่ง อามระดิษ. รายงานการวิจัยเรื่อง ภาพตัวแทนของคนไทยและเมืองไทยที่ปรากฏในวรรณกรรมเขมร. ใน สุเนตร ชุตินธรนนท์และคณะ โครงการวิจัยชุด ไทยในการรับรู้และความเข้าใจของประเทศเพื่อนบ้าน. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2552.
  • ใกล้รุ่ง อามระดิษ. รายงานการวิจัยเรื่อง เก็บใบลานที่ร่วงหล่น: การฟื้นฟูนวนิยายเขมรหลังสมัยเขมรแดง. กรุงเทพฯ: คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552.
 

ค. รายงานการประชุมฉบับสมบูรณ์

  • Amratisha, Klairung. 2000. “The First Cambodian Novel: A Reconsideration” in Proceeding of the 2nd International Conference on Khmer Studies. Neth Barom, Khus Chiev and Henri Locard, eds. Phnom Penh: Royal University of Phnom Penh.


ง. บทความวิจัยที่นำเสนอในเวทีการประชุมวิชาการ

  • Amratisha, Klairung. 2015. “Friend and Foe: Thailand and Cambodia as Represented in Modern Thai and Cambodian Literary and Media Discourse” Paper presented at the Southeast Asian Studies in Asia (SEASIA) 2015 Conference, Kyoto, 12-13 December 2015.
  • Amratisha, Klairung. 2013. “Queen Sisowath Kossamak and the Creation of Cambodian Cultural Identity” Paper presented at The 2013 Chulalongkorn Asian Heritage Forum: The Emergence and Heritage of Asian Women Intellectuals, Bangkok, 10-11 September 2013.


จ.  บทความวิจัยใน  Monograph, Book Series

  • Amratisha, Klairung. The (re-)emergence of Cambodian women writers at home and abroad. In Expressions of Cambodia: The politics of tradition, identity, and change. Leakthina Chau-Pich Ollier and Tim Winter, eds. London and New York: Routledge, 2006.
  • Amratisha, Klairung. Rebuilding the Empire: The French Image of Cambodia and the Emergence of Modern Khmer Novel. In Europe – Southeast Asia in the Contemporary World: Mutual Images and Reflections 1940s-1960s. Piyanart Bunnag, Franz Knipping and Sud Chonchirdsin, eds. Baden – Baden: Nomos Verlagsgesellschaft, 2000.
  • ใกล้รุ่ง อามระดิษ. “ภาพตัวแทนของไทยในวรรณกรรมกัมพูชาช่วงต้นสมัยอาณานิคม” ใน ไทยในสายตาเพื่อนบ้าน ฉบับปรับปรุง สุเนตร ชุตินธรานนท์, บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ สำนักพิมพ์มติชน, 2560.

หนังสือ

ภาษาเขมร

  • អម្រាកទីសា, ក្លៃរុង និង ទេព ទីណូ, អ្នកបកប្រែ. កម្ពុជា: ប្រវត្តិសាស្ត្រ, សង្គម, សេដ្ឋកិច្ច, សន្តិសុខ, នយោបាយ, កិច្ចការបរទេស. បាងកក: វិទ្យាស្ថានអាស៊ីសិក្សា សាកលវិទ្យាល័យជូឡាឡុងកន, 2000.
 

ภาษาอังกฤษ

  • Amratisha, Klairung. Studies on Thai literature in Western Languages: A Preliminary Bibliography. Bangkok: Department of Thai, Faculty of Arts, Chulalongkorn University, 2006.
 

ภาษาไทย

  • ใกล้รุ่ง อามระดิษ และคณะ. กวีวัจน์ทัศนา ฉบับราชบัณฑิตยสภา. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสภา, 2560.
  • ใกล้รุ่ง อามระดิษ และคณะ. กวีวัจน์วรรณนา: วรรคทองในวรรณคดีไทยพร้อมประวัติและคำอธิบาย. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, 2557.

บทความทางวิชาการ

ภาษาเขมร

  • អម្រាកទីសា, ក្លៃរុង. អ្នកនិពន្ធថៃដែលប្រជាជនស្គាល់ជាងគេ. សមូហកម្មអក្សរសិល្ប៍នូ ហាច លេខ៥  ភ្នំពេញ: សមាគមអក្សរសិល្ប៍នូ ហាច, 2008.
  • អម្រាកទីសា, ក្លៃរុង. អត្តសញ្ញាណកវីនិពន្ធ. សមូហកម្មអក្សរសិល្ប៍នូ ហាច លេខ៤.   ភ្នំពេញ: សមាគមអក្សរសិល្ប៍នូ ហាច,  2007.
  • អម្រាកទីសា, ក្លៃរុង. អត្តសញ្ញាណកវីនិពន្ធ. សមូហកម្មអក្សរសិល្ប៍នូ ហាច លេខ៤ភ្នំពេញ: សមាគមអក្សរសិល្ប៍នូ ហាច,  2007.


ภาษาอังกฤษ

  • Amratisha Klairung, Kong BounChhoeun, Nou Hach and Rim Kin. In Southeast Asian Writers: Dictionary of Literary Biography Volume 384. David Smyth, ed.  New York: Gale Cengage Learning, 2009.
  • Amratisha, Klairung and Pongpaiboon, Naowarat. The Most Famous Thai Writer. Nou Hach Literary Journal 2008Phnom Penh: Nou Hach Literary Association, 2008.
  • Amratisha, Klairung. The Writer’s Identity. Nou Hach Literary Journal Vol 4. Phnom Penh: Nou Hach Literary Association, 2007.
  • Amratisha, Klairung. Literature – Cambodia, Khmer. In Encyclopedia of Modern Asia, Volume 3.  David Levinson and Karen Christensen, eds. New York: Charles Scribner’s Sons, 2002.
  • Amratisha, Klairung. “Ecrivains et expressions littéraires du Cambodge au XXème siècle. By Khing Hoc Dy. Paris: Editions l’Harmattan, 1993. Pp.VI, 275. Bibliography. [In French].” Journal of Southeast Asian Studies, Volume 28 Issue 1, March 1997.


ภาษาไทย

  • ใกล้รุ่ง อามระดิษ. คชศัพท์ในภาษาไทยที่มาจากภาษาเขมร. ใน 80 ทัศ พลตรี หม่อมราชวงศ์ศุภวัฒย์ เกษมศรี. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เดือนตุลา, 2555.
  • ใกล้รุ่ง อามระดิษ. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว. ใน นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ, 2554.
  • ใกล้รุ่ง อามระดิษ. สำนวนไทย-สำนวนเขมร. ภาษาและวรรณคดีไทย ปีที่ 26 (ธันวาคม 2553).
  • ใกล้รุ่ง อามระดิษ. วณิพกพิการ ขอทานข้ามแดน: เสียงสะท้อนจากนักประพันธ์กัมพูชา. กรุงเทพธุรกิจ. 26 มีนาคม 2552.
  • ใกล้รุ่ง อามระดิษ. พระโคพระแก้ว:ตำนานและความทรงจำเกี่ยวกับชาวไทยของชาวกัมพูชา. กรุงเทพธุรกิจ. 12 กุมภาพันธ์ 2552.
  • ใกล้รุ่ง อามระดิษ. คำไทย-คำเขมร. ภาษาและวรรณคดีไทย 26 (ธันวาคม 2552).
  • ใกล้รุ่ง อามระดิษ. FUNCINPEC: พรรคฟุนซินเปค. ใน สารานุกรมประวัติศาสตร์สากลสมัยใหม่: เอเชียเล่ม 3 อักษร E-G  กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, 2551.
  • ใกล้รุ่ง อามระดิษ. วงศ์เทวราช. ใน นามานุกรมวรรณคดีไทย ชุดที่ 1: ชื่อวรรณคดี. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา, 2550.
  • ใกล้รุ่ง อามระดิษ, ผู้แปล. เรื่องลแบงและปัญญาสชาดก-ชาดกนอกนิบาต โดย ฆีง หก ฑี. สังคมลุ่มน้ำโขง 1, 1 (มกราคม-เมษายน 2548).
  • ใกล้รุ่ง อามระดิษ. อารมณ์ขันในพระราชนิพนธ์ประเภทล้อเลียน. ใน ปิยราชกวินทร์. กรุงเทพฯ: ศูนย์วิจัยภาษาและวรรณคดีไทย และภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546.

งานบรรณาธิการ
  • ใกล้รุ่ง อามระดิษ, บรรณาธิการ. วิชญมาลา: รวมบทความภาษาและวรรณคดีไทย. กรุงเทพฯ: ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557.

งานบริการวิชาการ / ผลงานรับใช้สังคม
  • ผู้ทรงคุณวุฒิประจำภาษาเขมร โครงการแปลหนังสือวรรณคดีและวรรณกรรมแห่งชาติอาเซียน กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม พ.ศ. 2563-ปัจจุบัน
  • หัวหน้าโครงการ อาศรมวิจัยมนุษยศาสตร์ครั้งที่ 2-6 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (สกสว.) พ.ศ. 2559-2563
  • กรรมการการแข่งขันการเรียนรู้พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว จัดโดยโรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย พ.ศ. 2555-2562
  • กรรมการศึกษาประวัติและที่มาของคำ สำนักศิลปกรรม ราชบัณฑิตยสภา พ.ศ. 2562-ปัจจุบัน
  • กรรมการจัดทำพจนานุกรมเขมร-ไทย สำนักศิลปกรรม ราชบัณฑิตยสภา พ.ศ. 2562-ปัจจุบัน
  • กรรมการจัดทำพจนานุกรมโบราณศัพท์ สำนักศิลปกรรม ราชบัณฑิตยสภา พ.ศ. 2551-ปัจจุบัน
  • กรรมการชำระกฎหมายไทยโบราณ สำนักธรรมศาสตร์ ราชบัณฑิตยสภา      พ.ศ. 2547-ปัจจุบัน