Search
Close this search box.
Picture of รองศาสตราจารย์ ดร.ณัฐพร  พานโพธิ์ทอง

รองศาสตราจารย์ ดร.ณัฐพร พานโพธิ์ทอง

ความเชี่ยวชาญ
  • วัจนปฏิบัติศาสตร์
  • สนทนาวิเคราะห์
  • วาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์
  • ภาษาศาสตร์ภาษาไทย

รายวิชาในความรับผิดชอบ 
  • 2201620  โครงสร้างของประโยคในภาษาไทย
  • 2201720  สัมมนาภาษาไทยในฐานะภาษาที่สอง
  • 2201783  การวิเคราะห์ภาษาไทยตามแนววัจนปฏิบัติศาสตร์
  • 2201790  วัจนปฏิบัติศาสตร์ภาษาระหว่างกลางและวัจนปฏิบัติศาสตร์ระหว่างวัฒนธรรมกับการศึกษาภาษาไทย
  • 2201871  สัมมนาการปฏิสัมพันธ์ในภาษาไทย
ข้อมูลติดต่อ

คุณวุฒิ
  • Ph.D. (Linguistics) University of Hawai’i, พ.ศ. 2539

  • อ.บ. (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง) (ภาษาไทย) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, พ.ศ. 2528


รางวัลที่ได้รับ
  • รางวัลครูภาษาไทยดีเด่น คุรุสภา ประจําปี 2552
  • รางวัลอาจารย์ดีเด่น ด้านการเรียนการสอน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจําปีการศึกษา 2553
ผลงานทางวิชาการ
งานวิจัย

ก. บทความวิจัยในวารสาร

ภาษาอังกฤษ

  • Panpothong, N., & Phakdeephasook, S. (2023). Independence or Interdependence?: The Thai Self-Construal as Reflected by Linguistic Evidence. Manusya: Journal of Humanities, 26(1), 1-25.
  • Panpothong, Natthaporn. Thai Primary School History Textbooks: A Textually-oriented Critical Discourse Analysis. Journal of Language and Linguistics 34, 1 (2015): 66-93.
  • Panpothong, Natthaporn and Phakdeephasook, Siriporn. The wide use of mai-pen-rai ‘It’s not substantial’ in Thai interactions and its relationship to the Buddhist concept of Tri Laksana. Journal of Pragmatics 69 (2014): 99-107.
  • Panpothong, Nattthaporn. Discourse of Plastic Beauty: A Critical Linguistic Analysis of Cosmetic Surgery Ads in Thai. The Journal  6,2 (2011): 89-106.
  • Panpothong, Natthaporn. Thai ways of saying `no` to a request”. Manusya Vol.4 No.2 (2001): 63-76.
  • Panpothong, Natthaporn. Context-free ironies in Thai as conventionalized ironic implicature. Manusya Vol. 1 No. 1 (March 1998), 88-95.
  • Panpothong, Natthaporn. “Verbal irony in Thai.” University of Hawaii Working Papers in Linguistics 24 (1992): 120-36.


ภาษาไทย

  • ดีอานา คาซา และณัฐพร พานโพธิ์ทอง. สิทธิทางสังคม หรือ หน้า?: ข้อคำนึงที่เป็นเหตุจูงใจในการปฏิสัมพันธ์ของชาวอินโดนีเซียที่ใช้ภาษาไทยเป็นภาษาที่สองกับชาวไทย. ภาษาและภาษาศาสตร์. (กำลังตีพิมพ์)
  • นริศรา หาสนาม และณัฐพร พานโพธิ์ทอง. ถ้อยคำแสดงการเป็นผู้ฟังในภาษาไทยกับปัจจัยสถานภาพ: กรณีศึกษาการสนทนาระหว่างครูกับนักเรียนจากฐานข้อมูล Mister O Corpus. มนุษยศาสตร์วิชาการ 29, 1 (มกราคม-มิถุนายน 2565) : 1-29. 
  • วีณา วุฒิจำนงค์ และณัฐพร พานโพธิ์ทอง. หน้าที่ของอารมณ์ขันในปริจเฉทเรื่องเล่าความทรงจำเหตุการณ์ธรณีพิบัติภัยสึนามิในประเทศไทย. อักษรศาสตร์และไทยศึกษา 44, 1 (มกราคม-เมษายน 2565): 96-109.
  • รดารัตน์ ศรีพันธ์วรสกุล และณัฐพร พานโพธิ์ทอง. การศึกษาวัจนกรรมการแสดงความเห็นแย้งของผู้เรียนภาษาไทยชาวจีนตามแนววัจนปฏิบัติศาสตร์อันตรภาษา: กรณีศึกษานักศึกษาชาวจีนจากมณฑลยูนนานและกวางสี. วจนะ 8, 1 (มกราคม-มิถุนายน 2563): 1-26.
  • พรหมมินทร์ ประไพพงษ์ และณัฐพร พานโพธิ์ทอง. กลวิธีทางภาษาในการแสดงวัจนกรรมการขู่ของผู้พูดภาษาไทย: กรณีศึกษาคู่สนทนาที่มีสถานภาพเท่ากัน. วรรณวิทัศน์ 20, 1 (มกราคม-มิถุนายน 2563): 87-113.
  • ธีระ บุษบกแก้ว และณัฐพร พานโพธิ์ทอง. ภาพตัวแทนผู้สูงอายุไทยที่สื่อผ่านกลวิธีทางภาษาในหนังสือพิมพ์รายวันไทย. อักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 42, 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 63): 88-114.
  • ธีระยุทธ สุริยะ และณัฐพร พานโพธิ์ทอง. ภาพตัวแทนของชาวโรฮิงญาในสื่อออนไลน์ภาษาไทย. ภาษาและวรรณคดีไทย 36, 1 (2562): 169-219.
  • ณัฐพร พานโพธิ์ทอง และศิริพร ภักดีผาสุข. การสนทนาแบบเน้นภารกิจในภาษาไทยกับปัจจัยทางสังคมวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้อง: กรณีศึกษาข้อมูลชุด Mister O ภาษาไทย. ภาษาและภาษาศาสตร์ 36, พิเศษ (กรกฎาคม-ธันวาคม 2561): 1-30.  
  • ทัดดาว รักมาก และณัฐพร พานโพธิ์ทอง. กลวิธีการตอบการแสดงความไม่พอใจของผู้โดยสาร: กรณีศึกษาพนักงานบริการผู้โดยสารภาคพื้นสายการบินไทย. ภาษาและวรรณคดีไทย 34, 2 (2560): 41-81.
  • ณัฐพร พานโพธิ์ทอง และศิริพร ภักดีผาสุข. 2560. การพูดเล่นและการหยอกล้อคู่สนทนา: ลักษณะเด่นของการสนทนาแบบเน้นภารกิจในภาษาไทย. ภาษาและวรรณคดีไทย 34, 2 (2560) : 1-40. 
  • ณัฐพร พานโพธิ์ทอง. จาก “เจ้าพ่ออ่างทองคำ” สู่ “คนชนชั้นธรรมดาที่กล้าแฉ”: กลวิธีทางภาษากับการนำเสนออัตลักษณ์ของชูวิทย์ กมลวิศิษฏ์ ในวาทกรรมการหาเสียงเลือกตั้ง. ภาษาและวรรณคดีไทย 24 (2550): 271-296.
  • รัชนีย์ญา กลิ่นน้ำหอม และณัฐพร พานโพธิ์ทอง. การเมืองคือการรักษาโรค: มโนอุปลักษณ์ที่สะท้อนจากถ้อยคำอุปลักษณ์ของนักการเมืองไทย. ภาษาและวรรณคดีไทย 25 (2551): 132-157.
  • ณัฐพร พานโพธิ์ทอง. หน้าที่อุปลักษณ์จากมุมมองของผู้พูดภาษาไทย. ภาษาและวรรณคดีไทย 16 (ธันวาคม 2542): 259-268.
  • ณัฐพร พานโพธิ์ทอง. กริยา ดูเหมือน ใช่ Raising verb หรือไม่. ภาษาและภาษาศาสตร์ 17, 2 (2542): 1-9.
  • ณัฐพร พานโพธิ์ทอง. การตีความอุปลักษณ์ในภาษาไทย. ภาษาและวรรณคดีไทย 15 (ธันวาคม 2541): 138-154.
  • ณัฐพร พานโพธิ์ทอง. การวิเคราะห์ประโยคคำถามประเภทให้ตอบเนื้อความในภาษาไทยตามแนวทฤษฎี Government & Binding. ภาษาและวรรณคดีไทย 13 (ธันวาคม 2539): 95-100.
  •  


ข.รายงานการประชุมฉบับสมบูรณ์

  • Klinnamhom, Ratchaneeya and Panpothong, Natthaporn. 2008. ‘Politics is Thai Boxing’: Concepts of Politics as Reflected in Metaphorical Expressions Used by Thai Politicians. In Proceedings of the International Conference on Language. pp. 295-312. Literature and Culture in ASEAN: Unity in Diversity, Bangkok, Thailand. 4-5 August 2008.


ค. บทความวิจัยที่นำเสนอในการประชุมทางวิชาการ

  • Panpothong, Natthaporn and Phakdeephasook, Siriporn. 2010. “MaipConflict talk as a detrimental situation in Thai culture and mai-pen-rai ‘not matter’ as a strategy to terminate verbal conflict.” Paper presented at the 12th International Pragmatics Conference. July 3-8, 2010. University of Manchester, Manchester, United Kingdom.
  • Panpothong, Natthaporn and Phakdeephasook, Siriporn. 2009. “Maipenrai as a Reflection of Buddhist Ideology in Thai ways of Interaction.” Paper presented at the 11th International Pragmatics Conference. July 12-17, 2009. University of Melbourne, Melbourne, Australia. 
  • Panpothong, Natthaporn and Phakdeephasook, Siriporn. 2008. “The Concept of ‘Bunkhun’ as an Account for the Act of Responding to Thank in Thai Culture.” Paper presented at the Sociolinguistics Symposium 17: Macro and Micro Connections. April 3-5, 2008. Amsterdam, the Netherlands. 
  • Panpothong, Natthaporn. 2007. “Being unattractive is like having a disease: on the advertising discourse of cosmetic surgery in Thai.” Paper presented at the International Symposium on Discourse, Communication, and Modernity. September 7, 2007. Bangkok, Thailand.
  • Panpothong, Natthaporn and Phakdeephasook, Siriporn. 2006. Humor in Anti-Thaksin Political Chinese Opera. A paper presented at the International Conference on Thai Language and Literature: Wisdom and Dynamism in the Global Context. November 10-12, 2006. Bangkok, Thailand.
  • Panpothong, Natthaporn and Phakdeephasook, Siriporn. 2005. “The verbal and non-verbal devices adopted by the Thai Sex King, Chuwit Kamolwisit, in reinventing his self-images in the past Bangkok gubernatorial election.” Paper presented in the International Conference on “Language and Communication and Culture: Dialogs and Contexts in Focus” at The National Institute of Development Administration (NIDA), Bangkok, Thailand. on October 19-21, 2005.
  • Panpothong, Natthaporn. 2004. “Self-complementing in censure debates in he Thai House of Representtatives: How can the speaker appear relevant while saying something irrelevant.” Paper presented at the 14th Annual South-East Asian Linguistics Society Conference. May 19-21, 2004, Bangkok, Thailand.
  • Panpothong, Natthaporn. 2001. Thai ways of responding to an expression of gratitude. The 2001 SEALS Conference Proceedings. Program for Southeast Asian Studies , Arizona State University. (Under Press)
  • Panpothong, Natthaporn. 1999.“Thai ways of saying `no` to a request”. Paper presented at the International Symposium on Linguistic Politeness, Chulalongkorn University, December 7-9, 1999. 


ง. บทความวิจัยใน Monograph, Book Series

ภาษาอังกฤษ

  • Panpothong, N, and Phakdeephasook, S. 2022. “I Am Well-Loved by the Voters”: Self-Praise in Thai Political Discourse and Two Emic Concepts of Thai (Im)politeness. Self-Praise across Culture and Contexts. Advances in (Im)politeness Studies. Xie, Chaoqun, Tong, Ying (Eds.). pp. 351-378. Springer Nature. 10.1007/978-3-030-99217-0_15.
  • Panpothong, Natthaporn. Is there Wh-movement in Thai?. In M.R. Kalaya Tingsabadh, and A. S. Abramson (eds.), Essays in Tai Linguistics. Bangkok: Chulalongkorn University Press, 2001.
 

ภาษาไทย

  • ณัฐพร พานโพธิ์ทอง. โฆษณาตัวเองอย่างไรให้น่าเชื่อถือ?: กลวิธีทางภาษาในการโฆษณาตัวเองของนักการเมืองไทยจากมุมมองวัจนปฏิบัติศาสตร์. ใน มองสังคมผ่านวาทกรรม. กฤษดาวรรณ หงศ์ลดารมภ์ และ จันทิมา เอียมานนท์, บรรณาธิการ. หน้า 269-291. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549.
  • ณัฐพร พานโพธิ์ทอง, ดารินทร์ ประดิษฐทัศนีย์, ศิริพร ภักดีผาสุข, สุภัควดี อมาตยกุล และสุรเดช โชติอุดมพันธุ์. พระราชดำรัสเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา: การศึกษาเนื้อหาและกลวิธีทางภาษา. ใน ใต้ร่มพระบารมีพระบรมธรรมิกราชา พระบรมธรรมิกราชกับอักษรศาสตร์, หน้า 151-207. กรุงเทพฯ: คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549.
  • ณัฐพร พานโพธิ์ทอง. อภิปรายไม่ไว้วางใจ: กลไกเพื่อตรวจสอบรัฐบาลหรือเพื่อการโฆษณาตนเอง. ใน รู้ทันภาษา รู้ทันการเมือง. อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์ และ เจิมศักดิ์ ปิ่นทอง, บรรณาธิการ. หน้า 267-294. กรุงเทพฯ: ฃอคิดด้วยฅน, 2547.
 
หนังสือ
  • ณัฐพร พานโพธิ์ทอง. วาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ตามแนวภาษาศาสตร์: แนวคิดและการนำมาศึกษาวาทกรรมในภาษาไทย. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556.
  • ณัฐพร พานโพธิ์ทอง. มองคัทลียาจ๊ะจ๋าจากมุมมองนักภาษา: เนื้อหาและกลวิธี.  กรุงเทพฯ.โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549.  
  • ธเนศ เวศร์ภาดา, เทพี จรัสจรุงเกียรติ, ณัฐพร พานโพธิ์ทอง และณัฐฐา จุลพรหม.หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน ภาษาไทย: วรรณสารภาษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช, 2546.  
  • ณัฐพร พานโพธิ์ทอง. บทเรียนโปรแกรม Intensive Thai ระดับ Basic I,II และIII. คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540. (อัดสำเนา)

ตำรา
  • ณัฐพร พานโพธิ์ทอง. “การใช้คำ-การใช้ประโยค และระดับภาษา.” ใน การใช้ภาษาไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552.

บทความทางวิชาการ
  • ณัฐพร พานโพธิ์ทอง. 2556. วัจนปฏิบัติศาสตร์แนวปลดปล่อย. ภาษาและวรรณคดีไทย 30 (ธันวาคม 2556): 95-106.
  • ณัฐพร พานโพธิ์ทอง. “การแนะความ 3 แบบตามทฤษฎีภาษาศาสตร์.” ภาษาและวรรณคดีไทย. 14 (ธันวาคม 2540): 171-177.
  • ณัฐพร พานโพธิ์ทอง. อรรถลักษณ์ของกริยาหรือบริบทที่กำหนดการใช้คำ “ถูก” ในประโยคกรรม.” ภาษาและวรรณคดีไทย 14 (ธันวาคม 2540): 165-170.

งานบริการวิชาการ / ผลงานรับใช้สังคม
  • วิทยากรบรรยายหัวข้อ “ภาพตัวแทน: การศึกษาภาษากับอัตลักษณ์จากมุมมองเชิงวิพากษ์” ในการประชุมวิชาการเพื่อนำเสนอผลงานวิจัย “วิวิธวิจัยไทยวิทรรศน์” จัดโดย หน่วยปฏิบัติการวิจัย “ไทยวิทรรศน์” เพื่อการศึกษาภาษา วรรณคดี และคติชนไทย (2563)
  • อาจารย์พิเศษสอนนิสิตระดับบัณฑิตศึกษาวิชา 411 709 สัมมนาสัมพันธสารและวัจนปฏิบัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (2561)

แชร์หน้านี้: