Search
Close this search box.
รองศาสตราจารย์ ดร.ศิริพร  ภักดีผาสุข

รองศาสตราจารย์ ดร.ศิริพร ภักดีผาสุข

ความเชี่ยวชาญ
  • คติชนวิทยา
  • ภาษากับวัฒนธรรมไทย
  • วาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์

รายวิชาในความรับผิดชอบ 
  • 2201215  การเล่นทางภาษาในภาษาไทย
  • 2201337  ภาษาในบริบทสังคมวัฒนธรรมไทย  
  • 2201607  ภาษากับวัฒนธรรมไทย  
  • 2201782  สัมมนาคติชนสมัยใหม่
  • 2201848  สัมมนาภาษากับคติชน
  • 2201851  สัมมนาคติชนสมัยใหม่และวัฒนธรรมประชานิยม 
  • 2201867  ภาษาไทยกับสังคมไทย 
ข้อมูลติดต่อ

คุณวุฒิ
  • Ph.D. (Folklore) University of Pennsylvania, พ.ศ. 2546
  • M.A. (Folklore) University of Pennsylvania, พ.ศ. 2542
  • อ.บ. (ภาษาไทย) (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, พ.ศ. 2538


รางวัลที่ได้รับ
  • รางวัลอาจารย์ดีเด่น ประเภทอาจารย์อาวุโสดีเด่น สาขามนุษยศาสตร์ ประจำปี 2560 จากสมาคมสถาบันการศึกษาขั้นอุดมศึกษาแห่งภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ประจำประเทศไทย (สออ.)
  • รางวัลยกย่องเชิดชูเกียรติอาจารย์ด้านการเรียนการสอนระดับดีเด่น กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำปี 2558
  • รางวัลนักวิจัยดาวคู่ฟ้า จากคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี 2558
  • รางวัลการเสนอผลงานวิจัยดีเยี่ยมแบบโปสเตอร์ ในการประชุมนักวิจัยรุ่นใหม่พบเมธีวิจัยอาวุโส สกว. จัดโดย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) และ สำนักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย (สกว.) ปี 2553
  • Penfield Fellowship for dissertation fieldwork (2001-2002) จาก University of Pennsylvania
  • ได้รับพระราชทานทุนมูลนิธิอานันทมหิดล แผนกอักษรศาสตร์ ประจำปี พ.ศ. 2539 เพื่อไปศึกษาต่อระดับปริญญาโทและปริญญาเอก สาขาคติชนวิทยา ณ University of Pennsylvania ประเทศสหรัฐอเมริกา (2540-2546)

ผลงานทางวิชาการ
งานวิจัย

ก. บทความวิจัยในวารสาร

ภาษาอังกฤษ

  • Panpothong, N., & Phakdeephasook, S. (2023). Independence or Interdependence?: The Thai Self-Construal as Reflected by Linguistic Evidence. Manusya: Journal of Humanities, 26(1), 1-25. 
  • Jantarachotigul, Primrata and Phakdeephasook, Siriporn. (To appear). A Study of the Underlying Concepts and Functions of the Traditions and Rites of Passage of the Royal Thai Air Force Personnel. Rian Thai: International Journal of Thai Studies 12, 2 (2019).
  • Na Nongkhai, Krittaya and Phakdeephasook, Siriporn. 2017. Hybrid Heroes: Cultural Hybridization in Thai Action Adventure Films from 1997 to 2010. Kasetsart Journal of Social Science Vol. 38., No. 3 (Sep-Dec, 2017): 187-195. 
  • Phakdeephasook, Siriporn. Do you know how to live a desirable life?: A critical discourse analysis of the “guidance for life” self-help books in Thai. Journal of Language and Linguistics 34, 2 (2016): 63-94.
  • Panpothong, Natthaporn and Phakdeephasook, Siriporn. The wide use of mai-pen-rai ‘It’s not substantial’ in Thai interactions and its relationship to the Buddhist concept of Tri Laksana. Journal of Pragmatics 69 (2014): 99-107.
  • Phakdeephasook, Siriporn. How to Become Desirable Women: Discourse of Femininity in How-to Articles in Thai Health and Beauty Magazines. The Journal 6,1 (2010): 80-103.
  • Phakdeephasook, Siriporn. Discourse of femininity in the advertisements in Thai health and beauty magazines. Manusya: The Journal of Humanities 12, 2 (2009): 63-89.
  • Phakdeephasook, Siriporn. Cultural Hybridity and Dynamics in Hanuman Chansamon. MANUSYA: Journal of Humanities Special Issue No. 9 (2005): 40-61.


ภาษาไทย

  • นิภาดา โพธิ์เรือง และ ศิริพร ภักดีผาสุข. 2566. นักการเมืองพาเราเดินทางอย่างไร? : การศึกษามโนอุปลักษณ์ [การเมืองคือการเดินทาง] ในวาทกรรมการหาเสียงเลือกตั้งทั่วไป พ.ศ. 2562 จากมุมมองฉากทัศน์อุปลักษณ์และอุปลักษณ์วิเคราะห์เชิงวิพากษ์. ภาษาและภาษาศาสตร์, 41,2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2566), 31-57.
  • ดนัย พลอยพลาย และศิริพร ภักดีผาสุข. 2566. การประกอบสร้างความหมายของการท่องเที่ยวในงานเขียนของบล็อกเกอร์ท่องเที่ยวชาวไทย: การศึกษาตามแนววาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์. ไทยศึกษา, 19,2 (ธันวาคม 2566), 1-49.
  • ศศิพิมพ์ ภู่ระหง ษ์ และ ศิริพร ภักดีผาสุข. ความสัมพันธ์ ระหว่างกลวิธีทางภาษากับภาพตัวแทนผู้ที่มี ความหลากหลายทางเพศในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานสุขศึกษา ชั้นมัธยมศึกษา: การ ศึกษาตามแนววาท กรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์. วรรณวิทัศน์, 23, 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2566), 83-125.
  • ยุทธการ ปัทมโรจน์ และศิริพร ภักดีผาสุข. ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับภาพตัวแทนพระสงฆ์ผู้กระทำผิดในวาทกรรมข่าวออนไลน์: การศึกษาตามแนววาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์. วรรณวิทัศน์, 22, 2 (ก.ค. – ธ.ค. 2565)
  • นิธิชญา ใจเย็น และศิริพร ภักดีผาสุข. ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับอุดมการณ์ในวาทกรรมแนะนำวิธีการเลี้ยงลูกโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง: การศึกษาแนววาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์. อักษรศาสตร์และไทยศึกษา. 44, 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2565): 1-20.
  • พจมาน มูลทรัพย์ และศิริพร ภักดีผาสุข. พญานาคบูชา: การสร้างสรรค์ประเพณีและพิธีกรรมเกี่ยวกับพญานาคในบริบทสังคมอีสานร่วมสมัย. อักษรศาสตร์และไทยศึกษา 441 (มกราคม-เมษายน 2565): 1-19. 
  • สิริภัทร เชื้อกุล และศิริพร ภักดีผาสุข. ภาพตัวแทนของผู้เรียนอาชีวศึกษาในวาทกรรมข่าวและบทความการศึกษาในหนังสือพิมพ์รายวันภาษาไทย. วจนะ 8, 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2563): 91-125.
  • สิริภัทร เชื้อกุล และศิริพร ภักดีผาสุข. ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับภาพตัวแทนผู้เรียนอาชีวศึกษาในหนังสือพิมพ์รายวันภาษาไทย. มจร มนุษยศาสตร์ปริทรรศน์ 6, 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2563): 1-17.
  • นครินทร์ สำเภาพล และศิริพร ภักดีผาสุข. ความสัมพันธ์ระหว่างกลวิธีทางภาษากับภาพตัวแทนบุคคลพ้นโทษในวาทกรรมสนับสนุนบุคคลพ้นโทษในหนังสือพิมพ์รายวันภาษาไทย. วรรณวิทัศน์ 20, 1 (มกราคม–มิถุนายน 2563): 37-86.
  • อารยา ตั้งพิทักษ์มงคล และศิริพร ภักดีผาสุข. คำคมร่วมสมัยในสื่อสังคมออนไลน์: การศึกษาแนวคิดและกลวิธีทางภาษา. ภาษาและวรรณคดีไทย 36, 2 (ธันวาคม 2562). 
  • สุจิตรา แซ่ลิ่ม และศิริพร ภักดีผาสุข. ภาพตัวแทนของผู้ชุมนุมทางการเมืองในเหตุการณ์ชุมนุมทางการเมืองช่วงปี พ.ศ. 2556-2557 ในพาดหัวข่าวในหนังสือพิมพ์ภาษาไทย: การศึกษาตามแนววาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์. ภาษาและวรรณคดีไทย 36, 1 (มิถุนายน 2562): 104-168. 
  • อัญมาศ ภู่เพชร และศิริพร ภักดีผาสุข.. พลวัตในนิทานเรื่องศรีธนญชัยในสื่อสิ่งพิมพ์ไทยร่วมสมัย. ภาษาและวรรณคดีไทย 35, 1 (2561): 150-208. 
  • ณัฐพร พานโพธิ์ทอง และศิริพร ภักดีผาสุข. การสนทนาแบบเน้นภารกิจในภาษาไทยกับปัจจัยทางสังคมวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้อง: กรณีศึกษาข้อมูลชุด Mister O ภาษาไทย. ภาษาและภาษาศาสตร์ 36, พิเศษ (กรกฎาคม-ธันวาคม 2561): 1-30.  
  • ดนัย พลอยพลาย และศิริพร ภักดีผาสุข. พระนามเจ้าฟ้าสมัยรัตนโกสินทร์: การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมไทย. อักษรศาสตร์  60, 1 (มกราคม-มิถุนายน 2560): 59-97. 
  • ณัฐพร พานโพธิ์ทอง และศิริพร ภักดีผาสุข.การพูดเล่นและการหยอกล้อคู่สนทนา: ลักษณะเด่นของการสนทนาแบบเน้นภารกิจในภาษาไทย. ภาษาและวรรณคดีไทย 34, 2 (2560): 1-40.
  • ศิริพร ภักดีผาสุข. นิทานในหนังสือนิทานแนว edutainment ภาษาไทย: การศึกษาพลวัตของนิทานในปริบทสังคมไทยร่วสมัย. อักษรศาสตร์ 42, 2 (2556): 259-303. 
  • ศิริพร ภักดีผาสุข. อารมณ์ขันในการ์ตูนการเมืองไทย. ภาษาและวรรณคดีไทย 23 (2549): 86-143.


ข.  รายงานการวิจัยสมบูรณ์

  • ศิริพร ภักดีผาสุข. รายงานวิจัยเรื่อง “วาทกรรม ‘ความเป็นผู้หญิง’ ในนิตยสารสุขภาพและความงามภาษาไทย”  ได้รับทุนนักวิจัยรุ่นใหม่จากสำนักงานกองทุนวิจัยแห่งชาติ (สกว.) และสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาระดับอุดมศึกษา (สกอ.), 2553.
  • Phakdeephasook, Siriporn. A Smart Person Knows How to Consume Healthily:  A Study of Advertising Discourse of Health-Claimed Products and Services in Thai. Research report. Research Division, Faculty of Arts, Chulalongkorn University, 2008.


ค. บทความวิจัยที่นำเสนอในการประชุมทางวิชาการ

  • Phakdeephasook, Siriporn. 2009. “Discourse of Femininity in the Advertisements of Health-claimed Products and Services for Women in Thai Health and Beauty Magazines.” Paper presented at the International Conference of Asian Folklore. July 2-3, 2009. Bangkok, Thailand.
  • Panpothong, Natthaporn and Phakdeephasook, Siriporn. 2009. “Maipenrai as a Reflection of Buddhist Ideology in Thai ways of Interaction.” Paper presented at the 11th International Pragmatics Conference. July 12-17, 2009. University of Melbourne, Melbourne, Australia. 
  • Phakdeephasook, Siriporn. 2009. “Health-claimed Food and the Myth of Smart Consumers in Thai Society.” Paper presented at the International Conference on Thai Food Heritage: From Local to Global. August 5-6, 2009. Tawanna Ramada Hotel, Bangkok, Thailand.
  • Panpothong, Natthaporn and Phakdeephasook, Siriporn.  2008. “The Concept of ‘Bunkhun’ as an Account for the Act of Responding to Thank in Thai Culture.” Paper presented at the Sociolinguistics Symposium 17: Macro and Micro Connections. April 3-5, 2008. Amsterdam, the Netherlands. 
  • Phakdeephasook, Siriporn. 2007. “A Smart Person Knows How to Consume Healthily: A Study of Advertising Discourse on Health Products and Services.” A paper presented at the International Symposium on Discourse, Communication, and Modernity. September 7, 2007. Bangkok, Thailand. 
  • Panpothong, Natthaporn and Phakdeephasook, Siriporn. 2006. Humor in Anti-Thaksin Political Chinese Opera. A paper presented at the International Conference on Thai Language and Literature: Wisdom and Dynamism in the Global Context. November 10-12, 2006. Bangkok, Thailand.
  • Panpothong, Natthaporn and Phakdeephasook, Siriporn. 2005. “The verbal and non-verbal devices adopted by the Thai Sex King, Chuwit Kamolwisit, in reinventing his self-images in the past Bangkok gubernatorial election.” Paper presented in the International Conference on “Language and Communication and Culture: Dialogs and Contexts in Focus” at The National Institute of Development Administration (NIDA), Bangkok, Thailand. on October 19-21, 2005.


ง. บทความวิจัยใน Monograph, Book Series

  • Phakdeephasook, S. and Panpothong, N. 2022. “I Am Well-Loved by the Voters”: Self-Praise in Thai Political Discourse and Two Emic Concepts of Thai (Im)politeness. Self-Praise across Culture and Contexts. Advances in (Im)politeness Studies. Xie, Chaoqun, Tong, Ying (Eds.). pp. 351-378. Springer Nature. 10.1007/978-3-030-99217-0_15.
  • ศิริพร ภักดีผาสุข. การผสมผสานวัฒนธรรมในหนังสือนิทานแนว edutainment (สาระบันเทิง) ภาษาไทย. ใน เรื่องเล่าพื้นบ้านไทยในโลกที่เปลี่ยนแปลง. ศิราพร ณ ถลาง, บรรณาธิการ. หน้า 157-215. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, 2558.
  • ณัฐพร พานโพธิ์ทอง, ดารินทร์ ประดิษฐทัศนีย์, ศิริพร ภักดีผาสุข, สุภัควดี อมาตยกุล และสุรเดช โชติอุดมพันธุ์. พระราชดำรัสเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา: การศึกษาเนื้อหาและกลวิธีทางภาษา. ใน ใต้ร่มพระบารมีพระบรมธรรมิกราชา พระบรมธรรมิกราชกับอักษรศาสตร์, หน้า 151-207. กรุงเทพฯ: คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549.
  • ศิริพร ภักดีผาสุข. ปริศนาคำทาย: ภูมิปัญญาทางภาษาและการผสมผสานทางวัฒนธรรมในยุคโลกาภิวัตน์. ใน เพลง ดนตรี ปริศนา ผ้าทอ: ภูมิปัญญาทางด้านการละเล่นและการช่าง. ศิราพร ณ ถลาง, บรรณาธิการ. หน้า 13-50. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, 2548.
  • ศิริพร ภักดีผาสุข. สมญานามนักการเมือง: การละเล่นทางภาษาเพื่อวิจารณ์การเมืองไทยของสื่อมวลชน. ใน รู้ทันภาษา รู้ทันการเมือง. เจิมศักด์ ปิ่นทอง และ อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์, บรรณาธิการ. หน้า 73-107. กรุงเทพฯ: ฃอคิดด้วยฅน, 2547.

หนังสือ
  • ศิริพร ภักดีผาสุข. ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับอัตลักษณ์และแนวทางการนำมาศึกษาภาษาไทย. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์, 2561.

บทความทางวิชาการ
  • ศิริพร ภักดีผาสุข. ปริศนาคำทายของไทย. ใน สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนโดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. เล่มที่ 34. หน้า 81-111, 2552. (ฐานข้อมูล: บทความในสารานุกรม)

  • ศิริพร ภักดีผาสุข. ความแหวกแนวและอารมณ์ขันของสมญานามนักการเมืองไทย. ใน มองสังคมผ่านวาทกรรมกฤษดาวรรณ หงศ์ลดารมภ์ และ จันทิมา เอียมานนท์, บรรณาธิการ. หน้า 241-268. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549.

  • ศิริพร ภักดีผาสุข. ปริศนาร้อยกรอง: ผะหมี  โคลงทาย และโจ๊ก. ใน นานาสาระสำหรับประชาชน. หน้า 227-233 กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งกรุ๊ป, 2546.

งานบริการวิชาการ / ผลงานรับใช้สังคม
  • วิทยากรบรรยายหัวข้อ “ภาพตัวแทน: การศึกษาภาษากับอัตลักษณ์จากมุมมองเชิงวิพากษ์” ในการประชุมวิชาการเพื่อนำเสนอผลงานวิจัย “วิวิธวิจัยไทยวิทรรศน์” จัดโดย หน่วยปฏิบัติการวิจัย “ไทยวิทรรศน์” เพื่อการศึกษาภาษา วรรณคดี และคติชนไทย (2563)
  • วิทยากรบรรยายหัวข้อ “พันธกิจและบทบาทของภาษาไทยในวิกฤติโควิด-19” ในงานเสวนาทางวิชาการเนื่องใน         วันภาษาไทยแห่งชาติ 2563 จัดโดย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2563) 
  • อาจารย์พิเศษ วิชา ท. 691 ระเบียบวิธีวิจัย ให้แก่นักศึกษาปริญญาโท คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (2562)
  • วิทยากรบรรยายทางวิชาการ หัวข้อ “วาทกรรมกับอัตลักษณ์: การนำมาวิจัยภาษา วรรณกรรม และคติชนไทย” จัดโดยภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (2562)
  • อาจารย์พิเศษสอนนิสิตระดับบัณฑิตศึกษาวิชา 411 742 สัมมนาวิทยานิพนธ์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (2561)