Search
Close this search box.
รองศาสตราจารย์ ดร.ปรมินท์  จารุวร

รองศาสตราจารย์ ดร.ปรมินท์ จารุวร

ความเชี่ยวชาญ
  • คติชนวิทยา
  • วรรณคดีไทย
 
รายวิชาในความรับผิดชอบ 
  • 2201705  วิธีวิทยาการวิจัย
  • 2201394  คติชนวิทยา
  • 2201396  นิทานพื้นบ้าน
  • 2201680  ทฤษฎีคติชนวิทยา 
  • 2201683  การวิจัยภาคสนามทางคติชนวิทยา
  • 2201841  งานภาคสนามเพื่อการวิจัยทางคติชน
  • 2201788  คติชนกับวรรณคดีไทย
  • 2201845  สัมมนาทฤษฎีคติชนวิทยา
  • 2201857  สัมมนาตำนานกับพิธีกรรม
ข้อมูลติดต่อ

คุณวุฒิ
  • อ.ด. (ภาษาไทย) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, พ.ศ. 2548
  • อ.ม. (ภาษาไทย) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, พ.ศ. 2542
  • อ.บ. (ภาษาไทย) (เกียรตินิยม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, พ.ศ. 2540


ทุนการศึกษาและรางวัลที่ได้รับ
  • รางวัลสถาบันสุนทรภู่เพื่อเชิดชูเกียรติผู้ส่งเสริมร้อยกรองไทย ประเภทบุคคล ปี 2566
  • ได้รับทุนอุดหนุนการศึกษาเพื่อเฉลิมในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเจริญพระชนมายุครบ 72 พรรษา และทุนโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก รุ่นที่  4 ขณะศึกษาอยู่ระดับปริญญาเอก
  • รางวัลสภาวิจัยแห่งชาติ: รางวัลวิทยานิพนธ์ ประจำปี 2549 (สาขาสังคมวิทยา)
  • รางวัลการเสนอผลงานวิจัยดีเยี่ยมแบบบรรยาย ในการประชุมนักวิจัยรุ่นใหม่พบเมธีวิจัยอาวุโส สกว. ปี 2552
  • รางวัลยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นอาจารย์ด้านกิจการนิสิต ประเภททั่วไป ระดับดีมาก ประจำปี 2553 จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 2010 TRF-CHE-SCOPUS YOUNG RESEARCHER AWARD,  HUMANITIES & SOCIAL SCIENCES CATEGORY 
  • รางวัลดุษฎีบัณฑิตโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษกดีเด่น ประจำปี 2554 สาขามนุษยศาสตร์ จากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (2011 Outstanding Royal Golden Jubilee Alumni Awards)
  • รางวัลผลงานวิจัยดีเด่น กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช พ.ศ. 2558
  • รางวัลผู้ใช้ภาษาไทยดีเด่น เนื่องในวันภาษาไทยแห่งชาติ พุทธศักราช 2562 จัดโดยกระทรวงวัฒนธรรม 
  • รางวัลยกย่องเชิดชูเกียรติอาจารย์ด้านการเรียนการสอน ระดับดีเด่น กองทุนกาญจนาภิเษกเฉลิมพระเกียรติ ประจำปี 2559 
  • รางวัลเชิดชูเกียรติบุคลากรจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สาขาผู้สร้างชื่อเสียงระดับชาติและนานาชาติ ประจำปี 2562

ผลงานทางวิชาการ
งานวิจัย

ก. บทความวิจัยในวารสาร

ภาษาอังกฤษ

  • Bunwichai, Karakkada and Jaruworn, Poramin. (2022). The Invented Traditions of Phra Buddha Sihing – Phra Singh in Contemporary Thai Society. Journal of Liberal Arts, Prince of Songkla University, 14(1), 183-206. https://so03.tci-thaijo.org/index.php/journal-la/article/view/255169.
  • Worawong, Netnapa and Jaruworn, Poramin. (2022) Roles of the Calendrical Rite and Traditions of Mon’s Life at Wangka Village. Sangkhlaburi District, Kanchanaburi Province, Interdisciplinary Research Review. (Vol.17 No.2 March-April 2022): 37-42. https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/jtir/article/view/245725/167233. 
  • Wasriwiwat, Phollakrit and Jaruworn, Poramin. (2021). Myths of Phra Borommathat Chedi, Nakhon Si Thammarat Province: The Tale Types and Cultural Significance along the Thai Peninsula, RianThai Journal, 15(1).Article SSRN 4065185. https://papers.ssrn.com/sol3/papers.cfm?abstract_id=4065185
  • Jaruworn, Poramin. The Roles of the Buddha in Thai Myths: Reflections on the Attempt to Integrate Buddhism into Thai Local Beliefs. Manusya Special Issue 9, 2005: 15-26.
 

ภาษาไทย

  • กรกฎา บุญวิชัย และปรมินท์ จารุวร. การผลิตซ้ำตำนานเรื่องเล่าพระพุทธสิหิงค์-พระสิงค์ในบริบทสังคมไทยร่วมสมัย. วารสารไทยคดีศึกษา. ปีที่ 20 ฉบับที่ 2, (กรกฎาคม-ธันวาคม 2566): 30-72.
  • ชลธิชา นิสัยสัตย์ และปรมินท์ จารุวร. 2565. พลวัตและวิธีคิดในการประกอบสร้างเทศกาลสงกรานต์-วันไหลในภาคตะวันออกของไทย. วารสารไทยศึกษา. 18(1) มกราคม-มิถุนายน: 61-92.
  • พลกฤษณ์ วสีวิวัฒน์ และปรมินท์ จารุวร. พลวัตของคติชนเกี่ยวกับพระบรมธาตุเจดีย์ในบริบทการนำเสนอวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหารเพื่อขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก. ไทยศึกษา 16,1 (มกราคม-มิถุนายน 2563): 35-74.
  • เสาวภาคย์ ขันมั่น และปรมินท์ จารุวร. ท้าวหิรัญพนาสูร: บทบาทและความสัมพันธ์กับเรื่องเล่าเกี่ยวกับทุ่ง พญาไท. ภาษาและวรรณคดีไทย 36, 2 (ธันวาคม 2562): 164-198. 
  • ปรมินท์ จารุวร. อาหาร: มิติที่สัมพันธ์กับประเพณีสวดพระมาลัย. ภาษาและวรรณคดีไทย 26 (ธันวาคม 2552): 30-56. 
  • ปรมินท์ จารุวร. การใช้ภาษาไทยในการบันทึกตำนาน: บทพินิจจากการศึกษาตำนานในเชิงโครงสร้างนิยมและจากการวิจัยภาคสนาม. มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี 6, 1 (มกราคม-มิถุนายน 2557): 13-48.
  • ปรมินท์ จารุวร. ภาพลักษณ์ “หมู่บ้านวัฒนธรรมหนองขาว” จากวิธีคิดในการจัดกิจกรรมท่องเที่ยวในงานประเพณีเทศน์มหาชาติ. อักษรศาสตร์  42, 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2556): 133-168.
  • ปรมินท์ จารุวร. สวดพระมาลัยที่บ้านหนองขาว: คติชนภาคสนามว่าด้วยพลวัตของประเพณีพิธีกรรมในช่วงหนึ่งทศวรรษ. The Journal 6, 2 (2011).  
  • ปรมินท์ จารุวร. เมื่อไม่สวดพระมาลัยในงานศพ: ความเปลี่ยนแปลงของการสวดพระมาลัยในสังคมไทย. ภาษาและวรรณคดีไทย 24 (ธันวาคม 2550): 297-342.
  • ปรมินท์ จารุวร. นิทานของสุนทรภู่กับคีตกรรมหลังความตาย: การสร้างสรรค์ “บทสวดลำ” ในพื้นที่ของพิธีกรรม. The Journal 4, 2 (2008): 27-56.
  • ปรมินท์ จารุวร. การนับถือผีที่บ้านหนองขาว. ภาษาและวรรณคดีไทย 18 (ธันวาคม 2544): 78-99.
  • ปรมินท์ จารุวร. องค์ประกอบของนิทานซ้อนนิทานในนิทานเวตาล. ภาษาและวรรณคดีไทย 17 (ธันวาคม 2543): 38-62.


ข.  รายงานการวิจัยสมบูรณ์

  • ปรมินท์ จารุวร. “สรรนิทานพื้นบ้านสู่นวัตกรรมทางดนตรีและการแสดง: การศึกษาทางคติชนเพื่อสืบสร้างสายสัมพันธ์ไทย-คาสี.” ใน พรรัตน์ ดำรุง และคณะ. โครงการคติชน ดนตรี และการแสดง: สืบ สร้าง สายสัมพันธ์ไทย-คาสี. ในชุดโครงการวิจัย “ภาษา ศิลปะ วัฒนธรรม และสังคม เพื่อความสัมพันธ์ไทย-อินเดีย. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2564.
  • ปรมินท์ จารุวร. พลวัตของการเล่นสักวาในสังคมไทย. ฝ่ายวิจัย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2561.
  • ปรมินท์ จารุวร. คติชนกับการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมใน “หมู่บ้านวัฒนธรรมหนองขาว” จังหวัดกาญจนบุรี.               ทุนสนับสนุนจากโครงการเมธีวิจัยอาวุโส สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยเรื่อง “คติชนสร้างสรรค์”: พลวัตและการนำคติชนไปใช้ในสังคมไทยร่วมสมัย ของศาสตราจารย์ ดร.ศิราพร ณ ถลาง, 2557. (ต่อมา ตีพิมพ์เป็นหนังสือ คติชนกับการท่องเที่ยว: หมู่บ้านวัฒนธรรมหนองขาว จังหวัดกาญจนบุรี (2559))
  • ปรมินท์ จารุวร. พระบฏ: พลวัตของการใช้งานพุทธศิลป์เรื่องเวสสันดรในชุมชนหนองขาว จังหวัดกาญจนบุรี. กลุ่มวิจัยพุทธศาสนาในภาษาและวรรณกรรมโลก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555. (อ่านฟรี e-book)
  • ปรมินท์ จารุวร. พลวัตของการสวดอ่านวรรณกรรมเรื่องพระมาลัย: การศึกษาเปรียบเทียบการสวดพระมาลัยที่จังหวัดกาญจนบุรีและชลบุรี. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2553.
  • ปรมินท์ จารุวร. ทำนองสวดพระมาลัยของชาวหนองขาว อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี. สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ, 2541.


ค.  บทความวิจัยใน  Monograph, Book Series

  • ปรมินท์ จารุวร. การสร้างภาพลักษณ์ “หมู่บ้านวัฒนธรรม” จากคติชนบนเวทีการท่องเที่ยวที่บ้านหนองขาว. ใน         “ประเพณีสร้างสรรค์” ในสังคมไทยร่วมสมัย. ศิราพร  ณ ถลาง, บรรณาธิการ. หน้า 17-64. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน), 2558.
  • ปรมินท์ จารุวร. สวดพระมาลัย: บทบาทของคีตกรรมหลังความตายต่อวรรณกรรมและสังคม. ใน พิธีกรรม ตำนาน นิทาน เพลง: บทบาทของคติชนกับสังคมไทย. สุกัญญา สุจฉายา, บรรณาธิการ. หน้า 113-162. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548.
  • ปรมินท์ จารุวร. โครงสร้างชาดกพื้นบ้านของไทยเขิน. ใน ไวยากรณ์ของนิทาน การศึกษานิทานเชิงโครงสร้าง. ศิราพร ณ ถลาง, บรรณาธิการ. หน้า 81-150. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544.

หนังสือ
  • ศิราพร ณ ถลาง และปรมินท์ จารุวร, บรรณาธิการ. อิงอดีต สนองปัจจุบัน คติชนสร้างสรรค์ สังคมร่วมสมัย. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560.
  • ปรมินท์ จารุวร. คติชนกับการท่องเที่ยว: หมู่บ้านวัฒนธรรมหนองขาว จังหวัดกาญจนบุรี. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559. 
  • ปรมินท์ จารุวร และคณะ. กวีวัจน์วรรณนา: วรรคทองในวรรณคดีไทยพร้อมประวัติและคำอธิบาย. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, 2557. 
  • ปรมินท์ จารุวร และคณะ. นิทานฝึกการออกเสียงภาษาไทย ชุด เณรน้อยเก่งภาษา. กรุงเทพฯ: สถาบันภาษาไทยสิรินธร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558.
  • ปรมินท์ จารุวร. มาลัยศรัทธา: พลวัตของการสวดพระมาลัยจากต่างสนามวิจัย. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556.
  • ปรมินท์ จารุวร. พระบฏ: พลวัตของการใช้งานพุทธศิลป์เรื่องเวสสันดรในชุมชนหนองขาว จังหวัดกาญจนบุรีกรุงเทพฯ: โครงการวิจัยและอนุรักษ์พระบฏเรื่องเวสสันดรในฐานะพุทธศิลป์พื้นบ้าน กลุ่มวิจัยพุทธศาสนาในภาษาและวรรณกรรมโลก, 2555. (อ่านฟรี e-book)
  • ปรมินท์ จารุวร. กาญจนนิมิต: คติชนเนื่องด้วยความเชื่อและประเพณีสวดพระมาลัยที่บ้านหนองขาว. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554.
  • ปรมินท์ จารุวร. เทศน์มหาชาติ-สวดพระมาลัย: คติชนจากผ้าพระบฏและประเพณีพิธีกรรมที่บ้านหนองขาว. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553.
  • ปรมินท์ จารุวร. ความขัดแย้งและการประนีประนอมในตำนานปรัมปราไทย. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549.

ตำรา
  • ปรมินท์ จารุวร. “การใช้ภาษาในชีวิตประจำวัน” ใน ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 3. นนทบุรีฯ: สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560.
  • ปรมินท์ จารุวร. “การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์” ใน หลักภาษาและการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551, หน้า 252-268. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, 2555.
  • ปรมินท์ จารุวร. “ความรู้พื้นฐานในการอ่านตีความ” ใน การใช้ภาษาไทย. หน้า 169-189. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552.
  • ปรมินท์ จารุวร. “การอ่านจับใจความ” ใน การใช้ภาษาไทย, หน้า 155-168. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552: 

บทความทางวิชาการ
  • ปรมินท์ จารุวร. “ประสบการณ์จากการใช้ทฤษฎี ‘คติชนสร้างสรรค์’ ในการเรียนการสอน” ใน ศิราพร ณ  ถลาง. “คติชนสร้างสรรค์”: บทสังเคราะห์และทฤษฎี. พิมพ์ครั้งที่ 2, หน้า 190-204. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน), 2562.
  • ปรมินท์ จารุวร. “เพลงพื้นบ้านที่เปลี่ยนไปในวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลง” ใน กำนลครูกำนัลคุณ รวมบทความคัดสรรด้านเพลงพื้นบ้านเพื่อแสดงมุทิตาจิตแด่ปูชนียาจารย์ด้านเพลงพื้นบ้านศึกษาของไทยในโอกาสได้รับยกย่องเชิดชูเกียรติ ศาสตราจารย์สุกัญญา สุจฉายา อาจารย์เอนก นาวิกมูล, หน้า 163-184.  ศูนย์สยามทรรศน์ศึกษา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กองส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยหอการค้าไทยและชมรมรักษ์เพลงพื้นบ้าน, 2558.
  • ปรมินท์ จารุวร. “สนทนาภาษาหนังสือ” วารสารอักษรศาสตร์ 32, 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2549): 310-320.
  • ข้อความรู้ต่าง ๆ ใน สารานุกรมวัฒนธรรมไทยภาคกลาง (15 เล่ม). ของมูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์ อาทิ

    • แก้วกิริยา, นาง. สารานุกรมวัฒนธรรมไทยภาคกลาง. เล่ม 1.
    • นางสิบสอง : นิทาน. สารานุกรมวัฒนธรรมไทยภาคกลาง. เล่ม 6.
    • พระนล. สารานุกรมวัฒนธรรมไทยภาคกลาง. เล่ม 9. 
    • พระบาท, นิราศ. สารานุกรมวัฒนธรรมไทยภาคกลาง. เล่ม 9. 
    • พระประธม, นิราศ. สารานุกรมวัฒนธรรมไทยภาคกลาง. เล่ม 9. 
    • พระมาลัย. สารานุกรมวัฒนธรรมไทยภาคกลาง. เล่ม 9.
    • พิกุลทอง : นิทาน. สารานุกรมวัฒนธรรมไทยภาคกลาง. เล่ม 9.
    • พิเภก. สารานุกรมวัฒนธรรมไทยภาคกลาง. เล่ม 10.
 
ผลงานอื่น ๆ
  • แผ่นบันทึกเสียงการอ่านทำนองเสนาะ ปรมานุชิตพิสิฐวรรณ: เสนาะเสียงพระนิพนธ์กฤษณาสอนน้องคำฉันท์ สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยร่วมกับวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม และสถานีจราจรเพื่อสังคม FM 99.5 MHz
  • แผ่นบันทึกภาพประกอบการอ่านโคลงภาพคนต่างภาษาและโคลงภาพฤๅษีดัดตน โพธิรัตนากร. ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยร่วมกับวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ราชวรมหาวิหาร เนื่องในโอกาสที่จารึกวัดโพธิ์ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกความทรงจำแห่งโลก พุทธศักราช 2554.
  • แรกผลิ: รวมบทกวีจากต้นกล้าในป่าใหญ่. ชมรมภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554.
  • เดือนดลกรรดึกหล้า: รวมความเรียงและบทกวีว่าด้วยตัวเรา โลกหล้า ฟ้า และน้ำ. ชมรมภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: บริษัท สแควร์ ปริ๊นซ์’ 93 จำกัด, 2553.

งานบริการวิชาการ / ผลงานรับใช้สังคม

ก. กรรมการหน่วยงานภายนอก

  • กรรมการชำระพจนานุกรม ราชบัณฑิตยสภา (2564-ปัจจุบัน)
  • คณะบรรณาธิการจัดทำสารานุกรมวรรณคดีไทย ราชบัณฑิตยสภา (2564-ปัจจุบัน)
  • กรรมการตัดสินการแข่งขันกลอนสดระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย อักษราวิชาการ “5 ทศวรรษอักษรศาสตร์” จัดโดย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (2561)
  • กรรมการกองทุนอนุสรณ์สุนทรภู่ (2562-ปัจจุบัน)
  • กรรมการวันพ่อแห่งชาติ ของสมาคมผู้อาสาสมัคร ช่วยการศึกษา และคัดเลือกพ่อตัวอย่างแห่งชาติ (พ.ศ. 2559-ปัจจุบัน)
  • กรรมการปรับปรุงเอกสารการสอนชุดวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสารมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
  • กรรมการจัดทำหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานภาษาไทย หลักภาษาและการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • กรรมการโครงการจัดทำเนื้อหารายการ คนเก่งภาษาไทย ของราชบัณฑิตยสถาน
  • กรรมการคัดเลือกรางวัลซีไรต์ (กวีนิพนธ์ ประจำปี 2553)


ข. วิทยากรการบรรยาย

  • วิทยากรบรรยายหัวข้อ “ทฤษฎีคติชนสร้างสรรค์กับการวิจัยภาคสนาม” ในการประชุมวิชาการเพื่อนำเสนอผลงานวิจัย “วิวิธวิจัยไทยวิทรรศน์” จัดโดย หน่วยปฏิบัติการวิจัย “ไทยวิทรรศน์” เพื่อการศึกษาภาษา วรรณคดี และคติชนไทย (2563)
  • วิทยากรโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การเขียนบันทึก จดหมายติดต่องาน และการเขียนรายงานการประชุม”     จัดโดย สถาบันภาษาไทยสิรินธร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2562)
  • วิทยากรบรรยายทางวิชาการเรื่อง “จาก “ดอกไม้ใกล้หมอน” ถึง “ร่ายฟ้าแรฝัน”: ผู้หญิง กวีนิพนธ์ คติชน วรรณคดี     จัดโดย สถาบันสุนทรภู่ (2561)
  • วิทยากรบรรยายในหัวข้อเรื่อง “คติชนวิทยากับภาษาศาสตร์ภาคสนาม” รายวิชา 2209377 ภาษาศาสตร์ภาคสนาม ให้แก่นิสิตระดับปริญญาบัณฑิต ภาควิชาภาษาศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2561)
  • อาจารย์พิเศษสอนวิชา 411 742 สัมมนาวิทยานิพนธ์ ให้แก่นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (2561)