Undergraduate Minor in Digital Humanities

ปรับปรุงเมื่อ พ.ศ. 2561

โครงสร้างหลักสูตร

คณะอักษรศาสตร์เปิดสอนวิชาโท สำหรับนิสิตอักษรศาสตร์ที่ไม่ได้เรียนวิชาเอกสาขาสารสนเทศศึกษา และสาขาเทคโนโลยีภาษาและสารสนเทศ  และนิสิตนอกคณะที่เลือกเรียนเป็นวิชาโท ดังนี้

โปรแกรมปกติ

  • จำนวนหน่วยกิตรวมวิชาโท 18 หน่วยกิต
  • วิชาบังคับ 9   หน่วยกิต
  • วิชาเลือก  9   หน่วยกิต

รายวิชา

รายวิชาบังคับ 9 หน่วยกิต
  • 2200290     พื้นฐานมนุษยศาสตร์ดิจิทัล
    Introduction to Digital Humanities
    3 (3-0-6)
  • 2206442      เครื่องมือสำหรับมนุษยศาสตร์ดิจิทัล
    Tools for Digital Humanities
    3 (3-0-6)
  • 2200490      สัมมนามนุษยศาสตร์ดิจิทัล
    Seminar in Digital Humanities
    3 (0-6-3)
รายวิชาเลือก 9 หน่วยกิต

ให้เลือกจากรายวิชาต่อไปนี้

  • 2206285*      การแปลงทรัพยากรสารสนเทศให้อยู่ในรูปดิจิทัล
    Digitization of Information Resources
    3 (3-0-6)
  • 2206323*      ระบบสารสนเทศสำหรับมนุษยศาสตร์
    Information System for the Humanities
    3 (3-0-6)
  • 2206366*      สถิติเพื่อการวิจัยด้านมนุษยศาสตร์
    Statistics for Humanities Research
    3 (3-0-6)
  • 2206385      การจัดการฐานข้อมูลสำหรับมนุษยศาสตร์
    Database Management for the Humanities
    3 (3-0-6)
  • 2205216        ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ 1
    Geograhpic Information System 1
    3 (2-2-5)
  • 2205317       การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับนักภูมิศาสตร์1
    Computer Programming for Geographers I
    3 (2-2-5)
  • 2205352        หลักการทำแผนที่
    Principles of Cartography
    3 (3-0-6)
  • 2205476        ฐานข้อมูลเชิงพื้นที่สำหรับนักภูมิศาสตร์
    Spatial Database for Geographers
    3 (2-2-5)
  • 2209261     การเขียนโปรแกรมพื้นฐานเพื่อการประมวลผลภาษาธรรมชาติ
    Basic Programming for Natural Language Processing
    3 (3-0-6)
  • 2209368      การวิเคราะห์ภาษาไทยตามแนวภาษาศาสตร์
    Linguistic Analysis of Thai
    3 (3-0-6)
  • 2209372     ภาษาศาสตร์คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
    Introduction to Computational Linguistics
    3 (3-0-6)
  • 2209381      เทคโนโลยีวัจนะ
    Speech Technology
    3 (3-0-6)
  • 2209383      การเรียนรู้ของคอมพิวเตอร์เพื่อการประมวลผลภาษาธรรมชาติ
    Machine Learning for Natural Language Processing
    3 (3-0-6)
  • 2209384      การเข้าใจภาษาธรรมชาติ
    Natural Language Understanding
    3 (3-0-6)

นอกจากนี้นิสิตสามารถเลือกจากรายวิชาระดับปริญญาบัณฑิตหรือบัณฑิตศึกษาของภาควิชาภาษาศาสตร์ ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์  ภาควิชาภูมิศาสตร์ หรือภาควิชาอื่นๆ ในคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตร