เอกสารบรรณารักษศาสตร์ เป็นเอกสารที่จัดทำโดยคณาจารย์ของภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ หากท่านใดสนใจกรุณาติดต่อภาควิชาเพื่อเข้าถึงต้นฉบับ

เล่มที่ 1

Dr. Frances Lander Spain : Founder of Modern Library Service in Thailand. By Suthilak Ambhanwong. August 1965.
(Reprint included in PAPER No. 5)

เล่มที่ 2
Some Notes on Library Development in Thailand, 1951 – 1965. By Frances Lander Spain. October 1965.

เล่มที่ 3
วัดพระเชตุพนฯ ห้องสมุดประชาชนแห่งแรกในประเทศไทย.
โดย รำภี กุลสมบูรณ์. ธันวาคม 2508.

เล่มที่ 4
วิวัฒนาการห้องสมุดและบรรณารักษศาสตร์ในประเทศไทย.
โดย สุทธิลักษณ์ อำพันวงศ์. มีนาคม 2510.

เล่มที่ 5
Libraries and Librarianship in Thailand.
By Suthilak Ambhanwong. June 1967.

เล่มที่ 6
บรรณานุกรมสิ่งพิมพ์ของสภาวิจัยแห่งชาติ
โดย นงลักษณ์ ไม่หน่ายกิจ. ตุลาคม 2510.

เล่มที่ 7
An Annotated Bibliography on Librarianship in Thailand.
By Nonglak Minaikit. July 1968.

เล่มที่ 8
มาตรฐานของห้องสมุดในประเทศไทย.
โดย สุทธิลักษณ์ อำพันวงศ์. สิงหาคม 2511.

เล่มที่ 9
รายชื่อและสาระสังเขปวิทยานิพนธ์ของคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2487-2506.
โดย นาตอนงค์ พันธุบรรยงค์. เมษายน 2512.

เล่มที่ 10
บรรณานุกรมผลงานวิจัยทางบรรณารักษศาสตร์ในประเทศไทย.
โดย จุฑารัตน์ วาศวิท. กรกฎาคม 2512.

เล่มที่ 11
บทคัดย่อวิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิตทางบรรณารักษศาสตร์ พ.ศ. 2509 – 2512.
พฤษภาคม 2513.

เล่มที่ 12
กองจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร.
โดย ทรงสรรค์ นิลกำแหง. พฤศจิกายน 2514.

เล่มที่ 13
การสำรวจฐานะการทำงานห้องสมุดของนิสิตเก่า แผนกวิชาบรรณารักษศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2498 – 2513.
โดย ประภาวดี พจนา, ทรงสรรค์ นิลกำแหง และมาลินี ศุขปรีดี.
มกราคม 2515.

เล่มที่ 14
ห้องสมุดมหาวิทยาลัย.
กุมภาพันธ์ 2515.

เล่มที่ 15
คอมพิวเตอร์และการเขียนโปรแกรมสำหรับงานห้องสมุด.
โดย ครรชิต มาลัยวงศ์. พฤษภาคม 2517.

เล่มที่ 16
ห้องสมุดที่น่าสนใจ.
โดย สุนทรี หังสสูต, อัมพร ทีขะระ, กล่อมจิตต์ พลายเวช
และขนิษฐ ตัณฑวิรัตน์. สิงหาคม 2518.

เล่มที่ 17
บรรณานุกรมวิทยานิพนธ์ทางบรรณารักษศาสตร์และบทคัดย่อ.
รวบรวมโดย ประภาวดี สืบสนธิ์. กันยายน 2518.

เล่มที่ 18
ห้องสมุดประชาชนในประเทศไทย.
ตุลาคม 2520.

เล่มที่ 19
ประวัติการทำบัตรรายการและการจัดหมู่หนังสือ.
พฤศจิกายน 2520.

เล่มที่ 20
รวมบทความบรรณารักษศาสตร์.
โดย สุทธิลักษณ์ อำพันวงศ์. ธันวาคม 2520.

เล่มที่ 21
ห้องสมุดเฉพาะและศูนย์เอกสาร.
มกราคม 2521.

เล่มที่ 22
An Annotated Bibliography on Librarianship in Thailand. 2nd ed.
By Nonglak Minaikit. July 1978.

เล่มที่ 23
บรรณานุกรมวิทยานิพนธ์ทางบรรณารักษศาสตร์และบทคัดย่อ.
รวบรวมโดย วลัยพร เหมะรัชตะ. พฤษภาคม 2523.

เล่มที่ 24
โสตทัศนวัสดุและอุปกรณ์ในห้องสมุด.
โดย พรรณพิมล กุลบุญ. 2523.

เล่มที่ 25
รวมบทความสำหรับผู้รักเด็ก ครู และบรรณารักษ์ผู้ให้บริการแก่เด็ก.
โดย ม.ล. จ้อย นันทิวัชรินทร์. พฤศจิกายน 2523.

เล่มที่ 26
Thai Reference Books and Their History.
By Chaveelak Boonyakanchana. June 1981.

เล่มที่ 27
บรรณานุกรมวิทยานิพนธ์ทางบรรณารักษศาสตร์และบทคัดย่อ ปีการศึกษา 2522 – 2524.
รวบรวมโดย วลัยพร เหมะรัชตะ. ตุลาคม 2526.

เล่มที่ 28
ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา สังกัดทบวงมหาวิทยาลัย.
โดย ประภาวดี สืบสนธิ์. มกราคม 2527.

เล่มที่ 29
ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ.
โดย นงลักษณ์ ไม่หน่ายกิจ. กุมภาพันธ์ 2527.

เล่มที่ 30
การใช้เทคโนโลยีของห้องสมุดมหาวิทยาลัยในประเทศไทย.
โดย จันทนา ชินะชัชวารัตน์, สุมนา วัสสระ, สุวิมล ลักขณานุวัฒน์ และอัชนา แสงกระจ่าง. พฤษภาคม 2533.

เล่มที่ 31
การค้นคืนสารนิเทศออนไลน์.
ตุลาคม 2535.

เล่มที่ 32
หัวเรื่องที่ใช้ในงานสารนิเทศ.
กุมภาพันธ์ 2537.

เล่มที่ 33
สารนิเทศสาร.
โดย นงลักษณ์ ไม่หน่ายกิจ. สิงหาคม 2543.

เล่มที่ 34
ภาษาดรรชนี.
โดย อัมพร ทีขะระ. มิถุนายน 2546.

ฉบับพิเศษ
เรียงร้อยพิมพ์ใจ พิมพ์รำไพ ๖๐ ปี
โดย คณาจารย์และศิษย์เก่าภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ 2559.

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *

This site uses Akismet to reduce spam. Learn how your comment data is processed.