Skip to content
ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์

ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์

คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Menu

  • หน้าหลัก
  • เกี่ยวกับภาควิชา
    • ประวัติความเป็นมา
    • เงินทุนของภาควิชา
    • เกียรติประวัติ/รางวัล
  • หลักสูตร
    • M.A./Ph.D. (Information Studies)
    • อ.ม. การดูแลรักษาข้อมูลและสารสนเทศ (พ.ศ. 2564)
    • อ.บ. สารสนเทศศึกษา พ.ศ. 2566
    • อ.บ. สารสนเทศศึกษา พ.ศ. 2561
    • อ.บ. สารนิเทศศึกษา พ.ศ. 2557
    • อ.บ. เทคโนโลยีภาษาและสารสนเทศ
    • วิชาโท สารสนเทศศึกษา
    • วิชาโท บรรณาธิการศึกษา
    • วิชาโท มนุษยศาสตร์ดิจิทัล
  • วิจัย
    • หน่วยปฏิบัติการวิจัยภูมิทัศน์สารสนเทศ (Information Landscape)
    • หน่วยปฏิบัติการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์และสนเทศศาสตร์ทางสังคม
    • หน่วยปฏิบัติการวิจัย The Arc of Memory
    • วิทยานิพนธ์ อ.ม. บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ (2509 – 2560)
    • วิทยานิพนธ์ อ.ม. บรรณารักษศาสตร์ (2512-2539)
    • วารสารบรรณารักษศาสตร์
    • เอกสารบรรณารักษศาสตร์
  • บุคลากร
  • สนับสนุน
  • ติดต่อเรา
  • English

digital preservation

เมทาดาทาสำหรับการจัดการมรดกทางวัฒนธรรมในสังคมที่ไม่มีตัวอักษรเขียน

เมทาดาทาสำหรับการจัดการมรดกทางวัฒนธรรมในสังคมที่ไม่มีตัวอักษรเขียน

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทรงพันธ์ เจิมประยงค์ นำเสนอผลงานหัวข้อ Describing Oral Tradition of Sea Gypsies in Thailand: From metadata modeling of digital archives to tribal language preservation and revitalization ในกิจกรรมการอภิปรายโดยกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ (panel presentation) หัวข้อ Cultural Metadata – For What Entities Are We Creating Metadata? ในการประชุมนานาชาติ Dublin Core Metadata Initiative (DCMI) Virtual 2021 ในวันพุธที่ 6 ตุลาคม 2564 เวลา 14.00 -16.00 น. ตามเวลาประเทศไทย

การนำเสนอในครั้งนี้เป็นการนำเสนอประสบการณ์และสะท้อนมุมมองที่ได้จากการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อนำมาพัฒนาพจนานุกรมมอแกลน-ไทย-อังกฤษกับทีมนักวิจัยและนิสิตภาควิชาภาษาศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยชี้ให้เห็นว่าการพัฒนาแบบจำลองข้อมูลสำหรับการจัดการมรดกทางวัฒนธรรมในบริบทสังคมที่ไม่มีตัวเขียนมีความท้าทายอย่างมาก การอธิบายมรดกทางวัฒนธรรมเหล่านี้โดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่อการสงวนรักษาและการฟื้นฟู อาจจำเป็นจะต้องอาศัยอธิบายกลไกทางภาษาศาสตร์ไว้ในข้อมูลเหล่านั้นด้วย เช่น รูปแบบตัวอักษรเขียน วิธีการถอดเสียง วิธีการแปลหรือถอดความ เป็นต้น ซึ่งเป็นกลไกสำคัญประการหนึ่งที่ลดอคติของข้อมูลเหล่านี้ด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในบริบทที่การจัดการทางวัฒนธรรมต้องอาศัยคนจากภายนอกชุมชนเข้ามามีบทบาทในการสงวนรักษาและฟื้นฟู

Webmaster 2 ตุลาคม 202125 กุมภาพันธ์ 2022 การเป็นแหล่งอ้างอิงในสาขา, ข่าว, คณาจารย์, วิจัย Read more
การอ้างอิง การเขียนรายการบรรณานกรม การเขียนรายการอ้างอิง การอ้างถึงใน การอ้างอิงตอนท้าย เอกสารกำหนดรูปแบบการอ้างอิง ครอบคลุมทั้งการอ้างอิงในเนื้อหา การอ้างอิงตอนท้าย ประกอบไปด้วยคำอธิบาย หลักเกณฑ์ และตัวอย่างประกอบ
/iz/: information is all around พอดคาสต์ตามติดประเด็นปัจจุบันที่เกี่ยวข้องกับข้อมูล สารสนเทศ ความรู้ การอ่าน วรรณกรรม ร่วมกับผู้เชี่ยวชาญหลากหลายสาขาวิชา

ติดต่อเรา

ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์
คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชั้น 8 อาคารบรมราชกุมารี
ถนนพญาไท ปทุมวัน
กรุงเทพฯ 10330
โทรศัพท์: 02-218-4817, 096-202-3310
โทรสาร: 02-218-4818
อีเมล์: libsci@chula.ac.th

ข่าวย้อนหลัง

Facebook: @libsciCU

RSS ข่าวสารภาควิชา

LIS Journal Club

Copyright © 2025 ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์. All rights reserved. Theme Spacious by ThemeGrill. Powered by: WordPress.
  • หน้าหลัก
  • เกี่ยวกับภาควิชา
  • กิจกรรม
  • หลักสูตร
  • วิจัย
  • บุคลากร
  • ติดต่อเรา