Search
Close this search box.
Picture of ผู้ช่วยศาสตราจารย์หัตถกาญจน์ อารีศิลป

ผู้ช่วยศาสตราจารย์หัตถกาญจน์ อารีศิลป

ความเชี่ยวชาญ
  • วรรณกรรมไทยปัจจุบัน 
  • วรรณกรรมวิจารณ์
  • การเขียนเชิงสร้างสรรค์
  • การสร้างสรรค์เนื้อหาภาษาและวรรณคดีไทยในสื่อร่วมสมัย

รายวิชาในความรับผิดชอบ 
  • 2201252   วิวัฒนาการวรรณกรรมไทย
  • 2201253  วรรณคดีไทยกับสื่อร่วมสมัย
  • 2201353  วรรณกรรมวิจารณ์
  • 2201432  ศิลปะการเขียนร้อยแก้ว
  • 2201433  ศิลปะการเล่าเรื่อง
  • 2201482  นวนิยายและเรื่องสั้น
ข้อมูลติดต่อ

คุณวุฒิ
  • อ.ม. (สาขาวรรณคดีไทย) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, พ.ศ. 2556 
  • อ.บ. เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง (ภาษาไทย) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, พ.ศ. 2552 

รางวัลที่ได้รับ
  • รางวัลบทวิจารณ์วรรณกรรมดีเด่น กองทุนหม่อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุวรรณ ประจำปีพุทธศักราช 2566 จากบทวิจารณ์เรื่อง “The Mood Elevator: ส่องสำรวจ ‘ลิฟท์…ที่ระลึก’ ในวรรณกรรมไทยร่วมสมัย”
  • รางวัลรองชนะเลิศ บทวิจารณ์วรรณกรรมเรื่อง “ความร้าวรานของ “สิงโตนอกคอก”” จากการประกวดบทวิจารณ์วรรณกรรมซีไรต์ จัดโดย สมาคมภาษาและหนังสือแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ (2562)
ผลงานทางวิชาการ
งานวิจัย

ก. บทความวิจัยในวารสาร

  • Areesilp, Hattakarn. Life during wartime and memories of World War II in the Thai  novel, Chungking Sexpress. Asian Review Vol.29, No.1 (2016, December): pp.29-54.


ข. 
บทความวิจัยใน  Monograph, Book Series

  • หัตถกาญจน์ อารีศิลป. “เกียวโตซ่อนกลิ่น”: มิติของน้ำท่ามกลางความ (ไม่) หลากหลายทางวัฒนธรรม. ใน ถกเถียงเรื่องคุณค่า 2 ว่าด้วยความหลากหลายทางวัฒนธรรม โดยได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), หน้า 357-413. กรุงเทพฯ: วิภาษา, 2561.

หนังสือ
  • หัตถกาญจน์ อารีศิลป, ดิเรก หงษ์ทอง, สุรชัย บุญญสิริ และนลิน สินธุประมา. 2565. ณ ขณะอ่าน: บทเรียนฝึกทักษะ การอ่านสำหรับนักเรียน นิสิต นักศึกษา. กรุงเทพฯ:  สถาบันภาษาไทยสิรินธร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (อ่านฟรี e-book)
  • หัตถกาญจน์ อารีศิลป และคณะ. 2557. กวีวัจน์วรรณนา: วรรคทองในวรรณคดีไทยพร้อมประวัติและคำอธิบาย.  กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.

ตำรา
  • หัตถกาญจน์ อารีศิลป และคณะ. 2562. ตำราเรียนรายวิชา 0123104 การอ่านภาษาไทยระดับอุดมศึกษา. สถาบันภาษาไทยสิรินธร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (อัดสำเนา)

ผลงานวิชาการในลักษณะอื่น
  • หัตถกาญจน์ อารีศิลป และกิตติชัย เกษมศานติ์. 2566. ร้อยแก้วเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา พร้อมภาพประกอบ. กรุงเทพฯ: สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ. (อ่านฟรี e-book ทางแอปพลิเคชัน Meb) (อ่านฟรี e-book โดยดาวน์โหลดไฟล์หนังสือ)
  • หัตถกาญจน์ อารีศิลป. บทวิจารณ์ “เด็กชายสามตา สีดา และนางกวัก: นัยแห่งความมหัศจรรย์อันศักดิ์สิทธิ์ในเรื่องสั้นของมหรรณพ โฉมเฉลา.” ดวงใจวิจารณ์ (2565). สืบค้นจาก https://www.ดวงใจวิจารณ์.com/17335287/หัตถกาญจน์-อารีศิลป?fbclid=IwAR0NRTkBW1n_UzthEAcwquerUctFtfm-BQKPA1rzwPjld-IK4tg_iJ6fmtk.
  • หัตถกาญจน์ อารีศิลป. บทวิจารณ์ “ความร้าวรานของสิงโตนอกคอก.” ภาษาและหนังสือ 61 (2563): 61-84.
  • หัตถกาญจน์ อารีศิลป. “ลมหายใจใหม่ของบทกวีจ่าง แซ่ตั้ง จากบทกวีชุดคำซ้ำสู่เรื่องสั้นและความเรียงร่วมสมัย…เรื่องเล่าจากห้องเรียนศิลปะการเขียนร้อยแก้ว”. ใน จ่างศึกษา ภาควรรณกรรม, หน้า  279-312. นครปฐม: ลูก-หลานจ่าง แซ่ตั้ง, 2563.
  • หัตถกาญจน์ อารีศิลป. บทความปริทัศน์หนังสือ “อ่าน-คิด-เขียน”. สารอาศรมวัฒนธรรมวลัยลักษณ์ 20, 1 (มกราคม-มิถุนายน 2563): 104 – 110.
 
งานบรรณาธิการ
  • หัตถกาญจน์ อารีศิลป, บรรณาธิการ. รวมเรื่องสั้นชุด ขอให้ได้พบเจอสถานที่ที่เรียกว่า “บ้าน”. กรุงเทพฯ: จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์, 2567.
  • หัตถกาญจน์ อารีศิลป, บรรณาธิการ. วิกลวิกาล รวมเรื่องสั้นที่กลั่นจากความกลัวของคนร่วมสมัย. กรุงเทพฯ: ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2566. (อ่านฟรี e-book)
  • หัตถกาญจน์ อารีศิลป, บรรณาธิการ. เมื่อฉันร้อยเศษทรายให้กลายเป็นแก้ว : รวมข้อเขียนบันทึกนานาสภาวะ ณ ขณะเขียน ของนักเรียนเขียนเรื่องจากรายวิชา “ศิลปะการเขียนร้อยแก้ว. กรุงเทพฯ: ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2566. (อ่านฟรี e-book) 
  • หัตถกาญจน์ อารีศิลป, บรรณาธิการ.  ในวันที่ 17 ของทุกเดือน ไม่ปรากฏปี. กรุงเทพฯ: จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์, 2565. (อ่านฟรี e-book) (อ่านบทวิจารณ์หนังสือได้ที่นี่)
  • หัตถกาญจน์ อารีศิลป, บรรณาธิการ. ณ ขณะอ่าน: บทเรียนฝึกทักษะ การอ่านสำหรับนักเรียน นิสิต นักศึกษา. กรุงเทพฯ: สถาบันภาษาไทยสิรินธร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2565. (อ่านฟรี e-book)
  • หัตถกาญจน์ อารีศิลป, บรรณาธิการ. รวมเรื่องสั้นชุด เรื่องเล่าจากฟากหนึ่งของแรงดึงดูด. กรุงเทพฯ: จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์, 2564. (อ่านฟรี e-book)
  • หัตถกาญจน์ อารีศิลป, บรรณาธิการ. รวมเรื่องสั้นชุด หากเรายังรอรถไฟขบวนถัดไป. กรุงเทพฯ: จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์, 2563. (อ่านฟรี e-book)
  • หัตถกาญจน์ อารีศิลป, บรรณาธิการ. เขียนเล่นเป็นเรื่อง: รวมผลงานสร้างสรรค์ของนิสิตภาควิชาภาษาไทย. กรุงเทพฯ: ภาควิชาภาษาไทย อักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563. (อ่านฟรี e-book)
  • หัตถกาญจน์ อารีศิลป, บรรณาธิการ. อ่าน-คิด-เขียน: รวมบทวิจารณ์วรรณกรรมของนักเรียนวรรณกรรม เล่ม 3 ฉบับ “ความตายของสันติสุข.” กรุงเทพฯ: จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์, 2562.
  • หัตถกาญจน์ อารีศิลป, บรรณาธิการ. อ่าน-คิด-เขียน: รวมบทวิจารณ์วรรณกรรมของนักเรียนวรรณกรรม เล่ม 2 ฉบับ “สมบูรณ์ในความบกพร่อง”. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560. 
  • หัตถกาญจน์ อารีศิลป, บรรณาธิการ. อ่าน-คิด-เขียน: รวมบทวิจารณ์วรรณกรรมของนักเรียนวรรณกรรม เล่ม 1 ฉบับ “ยา(พิษ)สามัญประจำบ้าน”. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560. (พิมพ์ครั้งแรกเมื่อปี 2559)

งานบริการวิชาการ / ผลงานรับใช้สังคม

ก. กรรมการพิจารณาผลงานวรรณกรรม

  • กรรมการคัดสรรผลงานในโครงการ อักษรสื่อชีวิต ซึ่งสนับสนุนให้คนพิการทางการมองเห็นสร้างสรรค์งานเขียนเพื่อสื่อสารแนวคิดและแบ่งปันประสบการณ์ชีวิต จัดโดย สมาคมนิสิตเก่าอักษรศาสตร์ จุฬาฯฯ  ร่วมกับคณะอักษรศาสตร์ จุฬาฯ และสำนักพิมพ์ผีเสื้อปีกบาง (2566)
  • กรรมการตัดสินรางวัลเกียรตินิยมวรรณศิลป์ จัดโดย ชมรมวรรณศิลป์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2560-2565)
  • กรรมการคัดสรรบทวิจารณ์วรรณกรรมดีเด่นในโครงการ “ดวงใจวิจารณ์” จัดโดย สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย (สศร.) กระทรวงวัฒนธรรม (2563)
  • กรรมการตัดสินเรียงความวรรณกรรมสด กูรมะโรหิต จัดโดย มูลนิธิสด-เนียน กูรมะโรหิต (2558-2563)
  • กรรมการตัดสินการประกวดงานเขียนเชิงสร้างสรรค์ภาษาไทย ชิงรางวัล Bohemian Crystal จากสาธารณรัฐเช็ก จัดโดย ศูนย์ยุโรปศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2558)


ข. งานด้านการอบรมเพื่อพัฒนานักวิจัยสายมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปกรรมศาสตร์

  • ผู้พัฒนาหลักสูตรการอบรมและผู้ประสานงาน “โครงการอาศรมวิจัยมนุษยศาสตร์ครั้งที่ 2-6” สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (สกสว.) (2559-2563)
 

ค. วิทยากรการอบรมด้านวรรณกรรมศึกษา ด้านการเขียนและผลิตสื่อเชิงสร้างสรรค์ (creative content) และด้านการสื่อสารองค์กร

  • วิทยากรการอบรมเชิงปฏิบัติการในหัวข้อ “อ่านทุกอย่างที่ขวางหน้า” เพื่อเสริมทักษะ “การอ่าน” ผ่านการทำกิจกรรม ให้แก่นักเรียนระดับประถมศึกษาตอนปลาย วชิราวุธวิทยาลัย เมื่อเดือนตุลาคมถึงพฤศจิกายน 2566
  • วิทยากรการอบรมเชิงปฏิบัติการในหัวข้อ ลองเล่นเป็นบรรณาธิการ: สํารวจการใช้ภาษาไทยในสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อออนไลน์” ในโครงการ “การสร้างสรรค์ดิจิทัลคอนเทนต์: สารคดี/บทความ” จัดโดย สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย (สศร.) เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2566
  • วิทยากรบรรยายในหัวข้อ สัจนิยมมหัศจรรย์ในวรรณกรรมไทย: การอ่านและการเขียนเชิงสร้างสรรค์” ในรายวิชา “วรรณกรรมไทยกับสังคม” หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (2565-2566)
  • วิทยากรบรรยายในหัวข้อ สรร(ค์)สร้าง: สำรวจวิธีคิดเชิงสร้างสรรค์ในความเรียงและคอนเทนต์ร่วมสมัย” ในรายวิชา “การเขียนร้อยแก้ว” หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ เมื่อวันที่ 9 กันยายน 2564
  • วิทยากรการอบรมเชิงปฏิบัติการ “โครงการพัฒนาทักษะการเขียนเล่าเรื่อง (Storytelling)
    สำหรับนิสิตหลักสูตรศิลปกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต” จัดโดย คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทุกวันเสาร์ของเดือนมิถุนายน 2564
  • วิทยากรการอบรมปฏิบัติการเรื่อง “การผลิตสื่อเพื่อสื่อสารองค์ความรู้” จัดโดย สถาบันราชานุกูล กรมสุขภาพจิต ระยะที่ 1 ระหว่างวันที่ 2-4 ธันวาคม 2563 และระยะที่ 2 วันที่ 14 ธันวาคม 2563 เวลา 9.00-16.00 น. ณ ห้องประชุมอาคารพลานามัย สถาบันราชานุกูล
  • วิทยากรการอบรมหัวข้อ “เรื่องเล่า/เล่าเรื่อง: แนวทางการศึกษาวรรณกรรมไทย” ในโครงการเพื่อพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 จัดโดย สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ในวันที่ 18 พฤศจิกายน 2563 ณ โรงละครศรีสุริยวงศ์ อาคาร 150 ปี มหาบุรุษรัตโนดม (ช่วงบุนนาค) มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
  • วิทยากรการอบรมเชิงปฏิบัติการในหัวข้อ “สื่อสารงานวิจัยอย่างไรให้ touch ใจคนออนไลน์” ในโครงการพัฒนาทักษะการสื่อสารผ่านสื่อใหม่เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพงานด้านประชาสัมพันธ์ จัดโดยส่วนประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย ระหว่างวันที่ 25-26 มิถุนายน 2562 ณ ห้องประชุมออนไลน์ผ่านระบบ Zoom Meeting
  • วิทยากรการอบรมหัวข้อ “Creative Writing and Online Content Workshop: การพัฒนาทักษะการสื่อสารผ่านสื่อใหม่เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพงานด้านประชาสัมพันธ์” ระหว่างวันที่ 25-26 กรกฎาคม 2562 ณ ห้อง 323 อาคาร E-PARK มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย
  • วิทยากรการอบรมเชิงปฏิบัติการโครงการ “ขมวดคิด-ขบถความ: การอบรมเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงวิพากษ์”  จัดโดย ภาควิชาภาษาอังกฤษและภาษาศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2562
  • วิทยากรการอบรมและผู้ริเริ่มจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนเชิงสร้างสรรค์ในโครงการ “Creative Writing and Online Content Workshop” จัดโดย สถาบันภาษาไทยสิรินธร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2561-2562)
  • กรรมการโครงการการพัฒนาสมรรถภาพการใช้ภาษาไทยในระดับต้นโดยใช้การเรียนรู้และการทดสอบในรูปแบบดิจิทัล (Digital Learning & Digital Testing) ผู้รับผิดชอบโครงการ สถาบันภาษาไทยสิรินธร จัดทำให้คณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา (กอปศ.) (2561)
  • วิทยากรอบรมครูภาษาไทยระดับมัธยมศึกษาในโครงการเฉลิมพระชนมายุ 60 พรรษา สมเด็จเจ้าฟ้าในดวงใจ: ภาษาไทย ภาษาชาติ ครั้งที่ 5 หัวข้อ “เทคนิคการสอนอ่านวรรณกรรม” จัดโดย สำนักงานโครงการการศึกษาทางไกลอินเทอร์เน็ต มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ร่วมกับคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2558) (DLF eSchool Channel เข้าถึงได้จาก https://www.youtube.com/watch?v=a0xWQclKmfE)