คณะอักษรศาสตร์ขอแสดงความยินดีแก่บุคลากรทุกท่าน ในโอกาสได้รับรางวัลคู่มือปฏิบัติงาน ประจำปี 2564

คณะอักษรศาสตร์ขอแสดงความยินดีแก่บุคลากรทุกท่าน ในโอกาสได้รับรางวัลคู่มือปฏิบัติงาน ประจำปี 2564 ประกอบด้วย ผลงาน 4 ประเภท ได้แก่
กระบวนการงานสัมฤทธิ์ กระบวนการงานรอบคอบ กระบวนการงานคล่องตัว กระบวนการงานกระจ่าง จำนวนทั้งหมด 14 ชิ้นงาน ดังนี้…

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กมล บุษบรรณ์ อาจารย์ประจำสาขาวิชาภาษาเกาหลี ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะอักษรศาสตร์ เป็นวิทยากรบรรยายพิเศษรายวิชา 208522 อิทธิพลของภาษาต่างประเทศที่มีต่อภาษาไทย ระดับปริญญาโท สาขาวิชาภาษาไทย

ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ เชิญผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กมล บุษบรรณ์ อาจารย์ประจำสาขาวิชาภาษาเกาหลี ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะอักษรศาสตร์ เป็นวิทยากรบรรยายพิเศษรายวิชา 208522 อิทธิพลของภาษาต่างประเทศที่มีต่อภาษาไทย ระดับปริญญาโท…

อาจารย์ ดร.วณิชชา กาญจโนภาศ อาจารย์ประจำสาขาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาควิชาภาษาตะวันตก คณะอักษรศาสตร์ เป็นอาจารย์พิเศษสอนรายวิชา 01374341 วรรณกรรมฝรั่งเศสคัดสรร I (Selected French Literary Works I)

ภาควิชาวรรณคดี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เชิญอาจารย์ ดร.วณิชชา กาญจโนภาศ อาจารย์ประจำสาขาวิชาภาษาฝรั่งเศส ภาควิชาภาษาตะวันตก คณะอักษรศาสตร์…

อาจารย์ ดร.พิมพ์พจน์ สีลาเขต อาจารย์ประจำภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ เป็นวิทยากรบรรยายในหัวข้อแนะแนวการศึกษาต่อระดับอุดมศึกษา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โรงเรียนสาธิตสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ เชิญอาจารย์ ดร.พิมพ์พจน์ สีลาเขต อาจารย์ประจำภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ เป็นวิทยากรบรรยายในหัวข้อแนะแนวการศึกษาต่อระดับอุดมศึกษา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย…

รองศาสตราจารย์ ดร.มนธิรา ราโท อาจารย์ประจำสาขาวิชาภาษาเวียดนาม ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะอักษรศาสตร์ เป็นวิทยากรบรรยายในหัวข้อ “ภาษา สังคม และวัฒนธรรมเวียดนามในมิติต่าง ๆ”

ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชิญรองศาสตราจารย์ ดร.มนธิรา ราโท อาจารย์ประจำสาขาวิชาภาษาเวียดนาม ภาควิชาภาษาตะวันออก…

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนกร แก้ววิภาส อาจารย์ประจำสาขาวิชาภาษาเยอรมัน ภาควิชาภาษาตะวันตก คณะอักษรศาสตร์ เป็นกรรมการตัดสินการประกวดและการแข่งขันทักษะภาษาเยอรมันเพื่อการสื่อสารระดับประเทศ ภายใต้หัวข้อ “Buntes Deutsch – เยอรมัน-หลากสี(สร้าง)สรร(ค์)”

สมาคมครูภาษาเยอรมันในประเทศไทยและสถาบันเกอเธ่ ประเทศไทย เชิญผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนกร แก้ววิภาส อาจารย์ประจำสาขาวิชาภาษาเยอรมัน ภาควิชาภาษาตะวันตก คณะอักษรศาสตร์ เป็นกรรมการตัดสินการประกวดและการแข่งขันทักษะภาษาเยอรมันเพื่อการสื่อสารระดับประเทศ…

โครงการสัมมนาทางวิชาการครั้งที่ 2 เรื่อง “พระมหาสมณานุสรณ์: 100 ปีแห่งการสิ้นพระชนม์สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรญาณวโรรส”

ศูนย์พุทธศาสน์ศึกษา ร่วมกับคณะอักษรศาสตร์ จัดโครงการสัมมนาทางวิชาการครั้งที่ 2 เรื่อง “พระมหาสมณานุสรณ์: 100 ปีแห่งการสิ้นพระชนม์สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรญาณวโรรส” ในวันที่ 6 สิงหาคม 2564 และเชิญคณาจารย์ประจำคณะอักษรศาสตร์เป็นวิทยากร ผู้ดำเนินรายการสัมมนา ผู้ดำเนินรายการและดูแลการประชุมออนไลน์ และผู้ดูแลเฟซบุ๊กของคณะอักษรศาสตร์ ดังนี้…

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุภาพร บุญรุ่ง อาจารย์ประจำสาขาวิชาภาษาเกาหลี ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะอักษรศาสตร์ เป็นผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาผลงานวิจัย เรื่อง “การศึกษาแนวทางบริหารในรัชสมัยพระเจ้าแทโจ (918 -943) ผ่านเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ในบันทึกโครยอซาจ๊อลโยฉบับแปลเกาหลี”

คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เชิญผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุภาพร บุญรุ่ง อาจารย์ประจำสาขาวิชาภาษาเกาหลี ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะอักษรศาสตร์ เป็นผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาผลงานวิจัย…

โครงการการบรรยายออนไลน์ชุด “สิงสาราสัตว์ในประวัติศาสตร์การทูตโลก” วันจันทร์ที่ 30 สิงหาคม 2564

ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ขอนำเสนอโครงการการบรรยายออนไลน์ชุด “สิงสาราสัตว์ในประวัติศาสตร์การทูตโลก” วันจันทร์ที่ 30 สิงหาคม 2564 “คช(สัญ)ลักษณ์ (The emblematic elephant): ช้าง, บริษัทดัตช์อินเดียตะวันออก และการทูตยุโรป-เอเชียในคริสต์ศตวรรษที่ 17” พิชยะพัฒน์ นัยสุภาพ (นักศึกษาปริญญาเอก Department of History, Leiden University) รับชมวิดิโอได้ ที่นี่

โครงการยุทธศาสตร์พัฒนาศักยภาพนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยสู่ความเป็นเลิศด้านศิลปะ ขอเชิญชม “รูปรอยของถ้อยคำ: คลังข้อมูลและนิทรรศการออนไลน์ว่าด้วยความใกล้ชิดระหว่างกวีนิพนธ์กับทัศนศิลป์”

ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โครงการยุทธศาสตร์พัฒนาศักยภาพนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยสู่ความเป็นเลิศด้านศิลปะ ขอเชิญชม “รูปรอยของถ้อยคำ: คลังข้อมูลและนิทรรศการออนไลน์ว่าด้วยความใกล้ชิดระหว่างกวีนิพนธ์กับทัศนศิลป์” ผลงานของนิสิตวิชาวิวัฒนาการร้อยกรอง คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภาคปลาย ปีการศึกษา 2563 (ผู้สอน อาจารย์ ดร.ชัยรัตน์ พลมุข) ได้ทางเว็บไซต์ https://www.tracesofwords.com พร้อมติดตามกิจกรรมเสวนาตลอดเดือนกันยายน วันที่ 3 กันยายน 2564 เวลา 13.00 – 14.30 น. หัวข้อ “Worldly Words: Contemporaneity at the Intersection of the Visual and the Literary” วิทยากร David Teh, curator and Associate Professor, National University of Singapo วันที่ 11 […]

แนะนำหนังสือ “ชาตินิยมในลาตินอเมริกา: กระแสลมแห่งความซับซ้อน” (สำนักพิมพ์ Illuminations) ผลงานวิชาการใหม่ล่าสุดของคุณตรีเทพ ศรีสง่า ศิษย์เก่าสาขาวิชาภาษาสเปน

สาขาวิชาภาษาสเปน ภาควิชาภาษาตะวันตก คณะอักษรศาสตร์ จุฬาฯ ขอแนะนำหนังสือ “ชาตินิยมในลาตินอเมริกา: กระแสลมแห่งความซับซ้อน” (สำนักพิมพ์ Illuminations) ผลงานวิชาการใหม่ล่าสุดของคุณตรีเทพ ศรีสง่า ศิษย์เก่าสาขาวิชาฯ คุณตรีเทพเป็นนิสิตรับตรง (วิธีพิเศษ) รุ่นแรกของสาขาวิชาฯ ปัจจุบันได้รับทุนศึกษาต่อระดับปริญญาเอก สาขาการเมืองเปรียบเทียบ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟลอริดา สหรัฐอเมริกา และเป็นผู้เขียนหนังสือ “Global Populisms” ร่วมกับ Carlos de la Torre (สำนักพิมพ์ Routledge) ซึ่งเพิ่งวางแผงที่สหรัฐอเมริกาเมื่อไม่นานมานี้ “ชาตินิยมในลาตินอเมริกา: กระแสลมแห่งความซับซ้อน” รวบรวมบทความแปลจำนวน 4 บทความ ซึ่งคุณตรีเทพเป็นบรรณาธิการและผู้แปลบทความ “ประวัติศาสตร์นิพนธ์อุดมการณ์ชาตินิยม และอัตลักษณ์ประจำชาติในลาตินอเมริกา” ของนิโคลา มิลเลอร์ (Nicola Miller) โดยในวันอาทิตย์ที่ 5 กันยายน 2564 เวลา 11.00-12.00 น. จะมี live เสวนาเปิดตัวหนังสือที่คุณตรีเทพจะร่วมพูดคุยกับอ. เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ […]

ขอเชิญชวนทุกท่านรับชมบันทึกวิดิโอสนทนา โรงเล่า Ep.11 ในหัวข้อ “ไตรเทวี vs Tridivas”

สาขาวิชาภาษาเอเชียใต้ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาฯ ขอเชิญชวนทุกท่านรับชมบันทึกวิดิโอสนทนา โรงเล่า Ep.11 ในหัวข้อ “ไตรเทวี vs Tridivas” เมื่อวันอาทิตย์ที่ 29 สิงหาคม 2564 เวลา 19.00 น. ที่ผ่านมา ร่วมวงเล่าโดย อ.อธิพงษ์ อมรวงศ์ปีติ พร้อมขาประจำโรงเล่าเจ้าเก่า ผศ. ดร.ชานป์วิชช์ ทัดแก้ว อ. ดร.บุณฑริกา บุญโญ รับชมวิดิโอย้อนหลัง ที่นี่

ขอเชิญชวนทุกท่านรับชมบันทึกวิดิโอการเสวนาย้อนหลัง “การมองโลกในแง่ดี” ในบริบทสังคมร่วมสมัย ในหัวข้อ “เมื่อไฟลามทุ่ง ลาเวนเดอร์: แนวคิดการมองโลกในแง่ “ดีดี๊ดี” ที่ “ร้ายเหลือทน” ของ Lauren Berlant

ภาควิชาวรรณคดีเปรียบเทียบ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาฯ ร่วมกับเพจ REVIEW เวิ่น ขอเชิญชวนทุกท่านรับชมบันทึกวิดิโอการเสวนาย้อนหลัง “การมองโลกในแง่ดี” ในบริบทสังคมร่วมสมัย ในหัวข้อ “เมื่อไฟลามทุ่ง ลาเวนเดอร์: แนวคิดการมองโลกในแง่ “ดีดี๊ดี” ที่ “ร้ายเหลือทน” ของ Lauren Berlant เมื่อเวลา 20.00 น. ในวันเสาร์ที่ 28 สิงหาคมที่ผ่านมานี้ โดยแขกรับเชิญในครั้งนี้ ได้แก่ อ. ดร.ชัยรัตน์ พลมุข อาจารย์ประจำภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จะมาชวนลองตั้งคำถามกันว่า ในด้านหนึ่ง แม้ว่าการใช้ชีวิตตั้งเป้าหมายที่จะไปให้ถึง แนวคิด “ชีวิตที่ดี” รวมถึงตั้งรับประสบการณ์ต่าง ๆ ที่เข้ามาในแง่ดี ดูเป็นหนทางที่จะทำให้ชีวิต “สงบสุข” และนำไปสู่ “ชีวิตดี ๆ ” แต่ในอีกด้านหนึ่งสำหรับนักวิชาการในทางมนุษยศาสตร์ และมานุษยวิทยามองว่า การมองโลกในแง่ดี และการกระเสือกกระสนหาชีวิตที่ดีตามที่สังคมนิยาม ดูจะเป็นเหมือนการศิโรราบและติดกับดักของสังคม โดยที่เราไม่เคยตั้งคำถามใด ๆ ไปโดยปริยาย […]

ขอแสดงความยินดีแก่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุภาพร บุญรุ่ง จากสาขาวิชาภาษาเกาหลี ภาควิชาภาษาตะวันออก เนื่องในโอกาสที่ได้รับรางวัลยกย่องเชิดชูเกียรติอาจารย์ด้านการเรียนการสอน กองทุนกาญจนาภิเษกเฉลิมพระเกียรติ ประจำปี 2563

คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ขอแสดงความยินดีแก่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุภาพร บุญรุ่ง จากสาขาวิชาภาษาเกาหลี ภาควิชาภาษาตะวันออก…