รายการวิทยุ “อักษรพาที” ประจำเดือนมกราคม 2564

รายการวิทยุ “อักษรพาที” ประจำเดือนมกราคม 2564ออกอากาศที่สถานีวิทยุ FM 101.5 ทุกวันเสาร์ เวลา 08.05 – 08.30 น. 2 มกราคม 2564 เรื่อง “เทศกาลขึ้นปีใหม่ของญี่ปุ่น” โดย ผศ.ดร.อัษฎายุทธ ชูศรี 9 มกราคม 2564 เรื่อง “การวิเคราะห์ข้อมูลภาพ (Infographics): กรณีศึกษาข้อมูลภาพจากสำนักงานสถิติแห่งชาติ” โดย อ.ดร.สรคม ดิสสะมาน 16 มกราคม 2564 เรื่อง “นักท่องเที่ยวหญิงในเรื่องเล่าการเดินทางไทย” โดย ผศ.ดร.เพิ่มทิพย์ บัวเพ็ชร์ 23 มกราคม 2564 เรื่อง “การนำเสนอภาพของตนเองของมุสลิมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ผ่านสื่อสังคมออนไลน์” โดย อ.ดร.ตรีพล เกิดนาค 30 มกราคม 2564 รีรันของวันที่ 5 กันยายน 2563 เรื่อง “แนะนำหนังสือลักษณะภาษาไทยของศาสตราจารย์ […]

ขอแสดงความยินดีแก่คุณชนิดา กมลนาวิน (อ.บ. 48) ที่ได้ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูต

คณะอักษรศาสตร์ขอแสดงความยินดีแก่คุณชนิดา กมลนาวิน ศิษย์เก่าคณะอักษรศาสตร์ อ.บ. 48 (ภาษาอังกฤษ) ในโอกาสที่ได้ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูต สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงซันติอาโก สาธารณรัฐชิลี

ขอเชิญผู้สนใจเข้าร่วมเสวนา “ถกเรื่องดังใน Netflix Critics มนุษยศาสตร์” ครั้งที่ 6

ขอเชิญผู้สนใจเข้าร่วมเสวนา “ถกเรื่องดังใน Netflix Critics ในุษยศาสตร์” ครั้งที่ 6 จะเป็น double feature นะคะ ในวันพฤหัสที่ 4 ก.พ. เวลา 19:00-20:00 น. ผศ.ดร.ประจักษ์ ก้องกีรติ รองคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ ผศ.ดร.ทอแสง เชาว์ชุติ หัวหน้าภาควิชาวรรณคดีเปรียบเทียบ …

ขอเชิญส่งงานแปลเข้าประกวดเพื่อรับรางวัลจาก “เงินทุนวรรณกรรมอำพรรณ โอตระกูล ซาลส์” ประจำปี 2564

คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ขอเชิญชวนนักเรียน นิสิตนักศึกษาไม่เกินระดับปริญญาตรีและประชาชนทั่วไป ส่งงานแปลเข้าประกวดเพื่อรับรางวัลจาก “เงินทุนวรรณกรรมอำพรรณ โอตระกูล ซาลส์” ประจำปี 2564 …

เชิญรับชมวิดีโอ “Q&A ตอบคำถามคาใจ หลักสูตรป.โท-ป.เอก ภาษาบาลี-สันสกฤตและพุทธศาสน์ศึกษา”

เชิญรับชมวิดีโอ “Q&A ตอบคำถามคาใจ หลักสูตรป.โท-ป.เอก ภาษาบาลี-สันสกฤตและพุทธศาสน์ศึกษา” คลิกเพื่อรับชมวิดีโอ

วิดีโองานเสวนา TranslaTalk ครั้งที่ 4 หัวข้อ “จะต้องมีอีกกี่เวอร์ชัน : ชวนคุยเรื่องการแปล Animal Farm (ซึ่งถี่พอ ๆ กับรัฐประหารไทย)”

เชิญรับชมวิดีโองานเสวนา TranslaTalk ครั้งที่ 4 หัวข้อ “จะต้องมีอีกกี่เวอร์ชั่น : ชวนคุยเรื่องการแปล Animal Farm (ซึ่งถี่พอ ๆ กับรัฐประหารไทย)” โดย ผศ.ดร.กฤติยา รัตนกานตะดิลก จากคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ …

G-Dorm Program 2021

Monday, January 25, 2021 marks the conclusion of Niigata University’s G-Dorm (Global Dormitory) Program 2021. The G-Dorm Program is an exchange program hosted by Niigata University, Japan, whose purpose is to internationalize their students …

The history of Champasak by Dr. Ian Baird

Asia-Africa Institute, University of Hamburg invites you to join a Zoom talk on the history of Champasak by Dr. Ian Baird on February 1, 2021. Please copy the link below to join.
https://uni-hamburg.zoom.us/j/99234618746

โครงการอักษรศาสตร์สู่สังคม ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564 “การสร้างความเป็นอื่น (ส่วนหนึ่งหรือส่วนเกิน?): กรณีแรงงานจากเมียนมาในสมุทรสาคร”

ขอเชิญชวนเข้าร่วมฟังการบรรยายทางออนไลน์โครงการอักษรศาสตร์สู่สังคม ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564 หัวข้อ “การสร้างความเป็นอื่น (ส่วนหนึ่งหรือส่วนเกิน?): กรณีแรงงานจากเมียนมาในสมุทรสาคร” โดย อ.ดร.พุทธพร อารีประชากุล จากภาควิชาภูมิศาสตร์ วันจันทร์ที่ 22 กุมภาพันธ์ 2564 …

เชิญรับชมวิดีโอโครงการบรรยายพิเศษ อักษรศาสตร์สู่สังคม เรื่อง “มิติทางจริยธรรม สังคม และศาสนาของปัญญาประดิษฐ์”

โครงการบรรยายพิเศษอักษรศาสตร์สู่สังคม เรื่อง “มิติทางจริยธรรม สังคม และศาสนาของปัญญาประดิษฐ์” โดย ศ.ดร.โสรัจจ์ หงศ์ลดารมภ์ อาจารย์ประจำภาควิชาปรัชญา …

โครงการอักษรศาสตร์สู่สังคม เดือนมกราคม เรื่อง “มิติทางจริยธรรม สังคม และศาสนาของปัญญาประดิษฐ์”

วันที่ 21 มกราคม 2564 เวลา 14.00-15.30 น. คณะอักษรศาสตร์ได้จัดโครงการบรรยายพิเศษ อักษรศาสตร์สู่สังคม ผ่านโปรแกรมซูม (Zoom) ในหัวข้อเรื่อง “มิติทางจริยธรรม สังคม และศาสนาของปัญญาประดิษฐ์” โดย ศ.ดร.โสรัจจ์ หงศ์ลดารมภ์ อาจารย์ประจำภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นวิทยากร และ ผศ.ดร.หนึ่งหทัย แรงผลสัมฤทธิ์ รองคณบดีฝ่ายวิจัย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นผู้ดำเนินรายการ อาจารย์โสรัจจ์กล่าวเริ่มการบรรยายโดยพูดถึงคำจำกัดความของคำว่า “ปัญญาประดิษฐ์” หรือ Artificial Intelligence (AI) ที่ถูกพูดถึงอย่างแพร่หลายมากขึ้นในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา เดิมทีแนวคิดเรื่องปัญญาประดิษฐ์เริ่มมีมาตั้งแต่ช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 หรือราว 70 ปีก่อน โดยแนวคิดของกลุ่มนักวิทยาศาสตร์ที่พัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ แม้ว่าปัจจุบัน คำว่าปัญญาประดิษฐ์จะมีการให้คำนิยามที่แตกต่างกันออกไป แต่จะมีแนวคิดและความเข้าใจที่มีจุดร่วมกัน คือ เป็นสิ่งที่ประดิษฐ์ขึ้นมา (Artificial) และมีปัญญา (Intelligent) ต่อมาอาจารย์ได้อธิบายถึงประเภทของปัญญาประดิษฐ์ว่าสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ […]